การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยรับยาต้านไวรัสเอดส์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
Advertisements

2 ตาม พ. ร. บ. ระเบียบข้าราชการ พลเรือน พ. ศ ******************* กำหนดให้ อ. ก. พ. กระทรวง เป็นผู้พิจารณากำหนดตำแหน่ง ตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไข ที่
การแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ด้านเฝ้าระวัง การ ป้องกัน ควบคุมโรคและภัย สุขภาพ ระหว่างจังหวัดและ สคร.8 วันที่ 1 ธันวาคม 2552 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครสวรรค์
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
เครื่องมือเพื่อการคัดกรองโรคซึมเศร้า
1. การให้การดูแลผู้ป่วยแบบ ปฐมภูมิ 2. การประเมินผู้ป่วยตามความ รุนแรง 3. การดูแลผู้ป่วยที่อาจมีอาการ เปลี่ยนแปลง 4. การป้องกันและการเฝ้าระวัง การติดเชื้อในชุมชน.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ผลการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคเอดส์
แผนการควบคุมวัณโรค จังหวัดนราธิวาส
ให้ความรู้ผู้ป่วยโรคไซนัสอักเสบ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการ กรม สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สระบุรี ( กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการ จัดการสหกรณ์ ) ข้อมูล ณ วันที่ 25 ธันวาคม โครงการตามนโยบายรัฐบาล.
การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยวัณโรค โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์
บทที่ 4 ลงมือพัฒนา โครงงานคอมพิวเตอร์
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ป่วยเป็นวัณโรค
ชื่อโรงพยาบาล ขนาด... เตียง จังหวัด ชื่อผู้ติดต่อ กลุ่มงาน โทรศัพท์ อีเมล์
ทีมคลินิกเบาหวาน/ความดัน
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
รพ.พุทธมณฑล.
บัญชี อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต นายยงยุทธ พันตารักษ์ พัฒนาการอำเภอเมือง พิจิตร จังหวัดพิจิตร.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
ผลงาน : เพิ่มประสิทธิภาพในการ รักษา ด้วย... การเสริมพลังอำนาจในกลุ่มผู้ ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ โรงพยาบาลอากาศอำนวย อำเภออากาศอำนวย จังหวัด สกลนคร.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนงานยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุขด้านพัฒนาสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ กระทรวงสาธารณสุข สถานการณ์ปัญหา : ด้าน โครงสร้างประชากร ปัจจุบันประเทศไทย : ( ข้อมูล ณ.
เป้าหมายงานวัณโรค ปี 2559 ระดับความสำเร็จของการควบคุมวัณโรค 1. การค้นหาและรายงานผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เพิ่มขึ้น 10% ( ของปี 56) 2. รพ. ผ่านมาตรฐานรพ. คุณภาพการดูแลรักษาวัณ.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2558 ตุลาคม 2557 – กันยายน 2558
โครงการพัฒนารูปแบบ การคัดกรองวัณโรคและการรักษาวัณโรค
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2559 ตุลาคม 2558 – กันยายน 2559
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
การประชุม เรื่อง การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี (พ. ศ
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
คลินิกบริการดูแลผู้ติดเชื้อHIV/AIDS โรงพยาบาลเขาสมิง จังหวัดตราด
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน เด็กอายุ 1 ปี (เกิดตั้งแต่ 1 ม.ค. 57)
สรุปผลการดำเนินงานวิจัย สวส. ปี 2559
“ อสม. 4.0 ”.
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
ความสำเร็จของโครงการจัดการเชิงรุกรายบุคคลเพื่อเริ่มยาต้านไวรัส
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดเชียงใหม่
การติดตาม (Monitoring)
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ
การลงข้อมูล LTC ปี ลงข้อมูลผ่านเวปไซด์ : bit.ly\cmpho_ltc/2560
สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ ข้อมูล ณ วันที่ 18 ตุลาคม 2559
การพัฒนาคุณภาพการดูแลโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เป็นวัณโรคแบบบูรณาการ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
อำเภอวังทอง อ.วัดโบสถ์ อ.นครไทย อ.เมือง อ.เนินมะปราง อ.เมืองพิจิตร
จุดเน้นในการพัฒนา/แผนพัฒนา ความเสี่ยง/ความท้าทาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยรับยาต้านไวรัสเอดส์ โรงพยาบาลเชียงคาน จ.เลย

สมาชิกทีม

เป้าหมาย เพื่อให้สามารถติดตามผลการรักษา และเฝ้าระวังอาการข้างเคียงจากการใช้ยาต้านไวรัสเอดส์ให้ครบถ้วนตามมาตรฐาน เพื่อเพิ่ม Adherence ในการกินยาต้านไวรัส เพิ่มความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเองได้มากขึ้น

ปัญหาและสาเหตุ สูตรยาต้านไวรัสมีหลายสูตร จำนวนผู้ป่วยที่รับยาต้านไวรัสมีจำนวนเพิ่มขึ้น การเริ่มยาในผู้ป่วยรายใหม่ ผู้ป่วยบางรายไม่สามารถระบุสูตรยา CD4 และ Viral load ได้

กิจกรรมการพัฒนา พัฒนาระบบการตรวจรักษา และเฝ้าระวัง โดยใช้ใบบันทึกการตรวจโรคเรื้อรัง ซึ่งช่วยให้สามารถเฝ้าระวังและติดตามอาการข้างเคียงได้ถูกต้องครบถ้วนมากขึ้น

กิจกรรมการพัฒนา (ต่อ) พัฒนาระบบการจ่ายยาในผู้ป่วยรายใหม่ที่เริ่มยาต้านไวรัส จากซองยาแยกชนิด เป็นการจัดยาแบบ Unit dose เพื่อให้ง่ายในการกินยา

กิจกรรมการพัฒนา (ต่อ) จัดทำสมุดคู่มือที่บันทึกข้อมูลสำคัญของผู้ป่วย เช่น วันนัดตรวจและผลตรวจ CD4, Viral load สูตรยาที่ผู้ป่วยกิน รวมทั้งข้อมูลสำคัญในการดูแลสุขภาพ ซึ่งข้อมูลบางส่วนจะให้ผู้ป่วยบันทึกเอง เพื่อให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในดูแลตนเองเพิ่มขึ้น

การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง สามารถดูแลผู้ป่วยได้ครบถ้วนตามมาตรฐานมากขึ้น

การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง (ต่อ) ผู้ป่วยรายใหม่สามารถกินยาได้อย่างถูกต้อง 100% ผู้ป่วยรายเดิมมี Adherence ดีขึ้น

ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน การประเมินความร่วมมือในการกินยาใช้วิธีนับเม็ดยาที่เหลือ(Pill Count) และถามเวลาการกินยาของผู้ป่วย ซึ่งอาจได้ข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง หรือบางกรณีที่ผู้ป่วยไม่นำยาเดิมมาด้วย ก็จะไม่สามารถประเมินความร่วมมือในการกินยาได้

บทเรียนที่ได้รับ การดูแลผู้ป่วยโดยสหสาขาวิชาชีพทำให้สามารถดูแลผู้ป่วยได้ครอบคลุมมากขึ้น การพัฒนาระบบช่วยให้การทำงานง่ายขึ้น การดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังต้องเสริมพลังให้ผู้ป่วยและญาติรู้และเข้าใจในโรคและวิธีการรักษา จึงจะช่วยให้การรักษามีประสิทธิภาพ และผู้ป่วยสามารถดูแลตนเองให้มากขึ้น