งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เครื่องมือเพื่อการคัดกรองโรคซึมเศร้า

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เครื่องมือเพื่อการคัดกรองโรคซึมเศร้า"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การคัดกรองและประเมินโรคซึมเศร้าสำหรับผู้ปฏิบัติ ในระบบการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า

2 เครื่องมือเพื่อการคัดกรองโรคซึมเศร้า
เป้าหมายของเครื่องมือคัดกรอง/ประเมินโรคซึมเศร้า เครื่องมือเพื่อการคัดกรองโรคซึมเศร้า เครื่องมือเพื่อวินิจฉัยและ การจำแนกโรคซึมเศร้า เครื่องมือเพื่อบรรยายอาการและประเมินอาการ เครื่องมือเพื่อประเมินผลลัพธ์การรักษา (ใช้ติดตามการรักษา)

3 ความเชื่อมโยงของการใช้เครื่องมือกับการดูแลเฝ้าระวัง
Depression Depressive disorders Remission Relapse ส่งเสริม ป้องกัน รักษา 1. คัดกรอง 2.ประเมิน รักษา 4.ติดตาม เฝ้าระวัง 3.วินิจฉัย

4 การคัดกรองผู้ป่วยโรคซึมเศร้า
Depression Depressive disorders Remission Relapse 1. คัดกรอง การคัดแยกผู้ป่วยออก จากกลุ่มไม่ป่วย และลดภาระ การ Dx.โดยแพทย์ และนำผู้ป่วยเข้าสู่ กระบวนการช่วยเหลือ

5 การคัดกรองผู้ป่วยโรคซึมเศร้า
Depression Depressive disorders Remission Relapse 1. คัดกรอง การคัดแยกผู้ป่วยออก จากกลุ่มไม่ป่วย และลดภาระ การ Dx.โดยแพทย์ และนำผู้ป่วยข้าสู่ กระบวนการช่วยเหลือ

6 การคัดกรองผู้ป่วยโรคซึมเศร้า
Depression Depressive disorders Remission Relapse 1. คัดกรอง ต้องได้รับ การยืนยัน ว่า เป็น โรคซึมเศร้า มีภาวะซึมเศร้า หรือ มีแนวโน้มป่วย เป็นโรคซึมเศร้า การคัดแยกผู้ป่วยออก จากกลุ่มไม่ป่วย และลดภาระ การ Dx.โดยแพทย์ และนำผู้ป่วยเข้าสู่ กระบวนการช่วยเหลือ

7 การประเมินผู้ป่วยโรคซึมเศร้า
Depression Depressive disorders Remission Relapse 2.ประเมิน ประเมินผู้ป่วย หรือความรุนแรง และการ เปลี่ยนแปลง ของโรคซึมเศร้า

8 การประเมินโรคซึมเศร้า
Depression Depressive disorders Remission Relapse 2.ประเมิน ประเมินผู้ป่วย หรือความรุนแรง และการ เปลี่ยนแปลง ของโรคซึมเศร้า ระดระดับ ความรุนแรง - ปกติ - น้อย - ปานกลาง - รุนแรง

9 การวินิจฉัยและจำแนกโรคซึมเศร้า
Depression Depressive disorders Remission Relapse 3.วินิจฉัยโรค เป็นการใช้เครื่องมือ ที่ใช้แทนการวินิจฉัย และ จำแนกโรคซึมเศร้า โดยจิตแพทย์ หรือแพทย์ - น้อย - ปานกลาง - รุนแรง

10 ความเชื่อมโยงของการใช้เครื่องมือกับการดูแลเฝ้าระวัง
Depression Depressive disorders Remission Relapse 3.วินิจฉัยโรค - น้อย - ปานกลาง - รุนแรง MDD Dysthymia Bipolar เป็นการใช้เครื่องมือ ที่ใช้แทนการวินิจฉัย และ จำแนกโรคซึมเศร้า โดยจิตแพทย์ หรือแพทย์ ระดยืนยัน

11 การติดตามเฝ้าระวังและประเมินผลลัพธ์การรักษาโรคซึมเศร้า
Depression Depressive disorders Remission Relapse 4.ติดตามเฝ้าระวัง ประเมินผลลัพธ์การรักษา เครื่องมือประเมิน ช่วยในการติดตาม ความก้าวหน้า ของผู้ป่วยและ วัดประสิทธิผล ในการรักษา ระดประเมินความรุนแรง หลังจากได้รับการรักษา - น้อย - ปานกลาง - รุนแรง

12 การติดตามเฝ้าระวังและประเมินผลลัพธ์การรักษาโรคซึมเศร้า
Depression Depressive disorders Remission Relapse 4.ติดตามเฝ้าระวัง ประเมินผลลัพธ์การรักษา เครื่องมือประเมิน ช่วยในการติดตาม ความก้าวหน้า ของผู้ป่วยและ วัดประสิทธิผล ในการรักษา ระดประเมินความรุนแรง หลังจากได้รับการรักษา - น้อย - ปานกลาง - รุนแรง

13 กระบวนการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า
อ.ส.ม. รพ.สต./PCU ร.พ.ช./ร.พ.ท. รพ.ที่มีจิตแพทย์ +ve Education ≥ 7 ประเมิน การฆ่าตัวตาย ด้วย 10Q, 8Q ติดตามการรักษาจน 9Q <7 ทุก 1 เดือน เป็นเวลา 6 เดือน แล้วลดยาลงจนหยุดได้ ให้การรักษา ตามมาตรฐาน การรักษา Non MDD ไม่มีปัญหาทางสังคมจิตใจ ประเมินการฆ่าตัวตายด้วย 8Q, 10Q/Card check list 9Q ≥19 Csg 8Q ≥17 มีปัญหาทางสังคมจิตใจ ≥7 ประเมินโรคซึมเศร้าด้วย 9Q ประเมินด้วย 9Q ผลประเมินด้วย 9Q แจ้งผลและให้สุขภาพจิตศึกษา คัดกรอง แจ้งผลและ ให้สุขภาพจิต ศึกษา ติดตามด้วย 9Qหรือ/และ8Q ทุกเดือนเป็นเวลา 1 ปี ติดตามด้วย 9Q ซ้ำอีก 1 เดือน Mild 9Q=7-12 Moderate 9Q=13-18 Severe 9Q≥19 วินิจฉัยโรคซึมเศร้าโดยแพทย์ MDD คัดกรองในกลุ่มเสี่ยง คัดกรองในกลุ่มเสี่ยงด้วย DS8 Csg+Edญาติ Rx+Csg+ Edญาติ

14 เกณฑ์การวินิจฉัย Major depressive episode (DSM-IV-TR)
มีอาการดังต่อไปนี้ อย่างน้อย 5 อาการ เกิดขึ้นแทบทั้งวัน เป็นเกือบทุกวันติดต่อกันไม่ต่ำกว่า 2 สัปดาห์ และทำให้เสียหน้าที่การงานการสังคม มีอารมณ์เศร้า ทั้งที่ตนเองรู้สึกและคนอื่นสังเกตเห็น ความสนใจหรือความเพลิดเพลินในกิจกรรมปกติที่เคยทำทั้งหมดหรือแทบทั้งหมดลดลงอย่างมาก ต้องมีอาการเหล่านี้ อย่างน้อย 1 อย่าง น้ำหนักลดลงหรือเพิ่มขึ้น (>ร้อยละ ๕ ต่อเดือน)/เบื่ออาหารหรืออยากอาหารมากขึ้น นอนไม่หลับหรือหลับมาก ทำอะไรช้า เคลื่อนไหวช้าลง หรือกระสับกระส่าย อยู่ไม่สุข เหนื่อยอ่อนเพลียหรือไม่มีแรง รู้สึกตนเองไร้ค่าหรือรู้สึกผิดมากเกินควร สมาธิหรือความคิดอ่านลดลง คิดถึงเรื่องการตายอยู่ซ้ำๆหรือคิดฆ่าตัวตายหรือพยายามฆ่าตัวตายหรือมีแผน

15

16 เครื่องมือการคัดกรองโรคซึมเศร้าด้วย 2Q
คำถาม ภาษากลาง มี ไม่มี 1 ใน 2 สัปดาห์ที่ผ่านมารวมวันนี้ “ท่านรู้สึก หดหู่ เศร้า หรือท้อแท้สิ้นหวังหรือไม่” 2 “ท่านรู้สึก เบื่อ ทำอะไรก็ไม่เพลิดเพลินหรือไม่” P72

17 เครื่องมือการคัดกรองโรคซึมเศร้าด้วย 15Q

18 คุณสมบัติของแบบคัดกรอง 2Q,15Q
ช่วยแยกผู้ที่มีแนวโน้มจะป่วยเป็นโรคซึมเศร้า และนำเข้าสู่กระบวนการช่วยเหลือตามระบบเฝ้าระวังโรคซึมเศร้าได้มากเมื่อเทียบกับผู้ที่มีแนวโน้มป่วยทั้งหมด Sensitivity 2Q=97.3 %, 15Q=86.8% แต่ไม่สามารถบอกว่าป่วยหรือไม่ และเป็นระดับใด บุคคลทั่วไปสามารถนำไปใช้ได้ เป็นภาษาที่ตรงกับคำพูดที่แสดงถึงความรู้สึกและพฤติกรรมของคนไทย

19 การแปลผลการใช้แบบคัดกรอง 2Q, 15Q แบบคัดกรองโรคซึมเศร้า 2Q
ภาวะซึมเศร้า (15 ข้อ) ถ้า “ไม่มี” ทั้ง 2 คำถาม ถือว่าปกติ หรือ ไม่มีแนวโน้มป่วยเป็นโรคซึมเศร้า ถ้า “มี” คำใดคำหนึ่งหรือทั้ง 2 ข้อ (มีอาการใดๆ ในคำถามที่ 1 และ 2) หมายถึง เป็นผู้มีความเสี่ยงหรือมีแนวโน้มที่จะเป็นโรคซึมเศร้า ถ้า ตอบ “มี” ตั้งแต่ 6 ข้อขึ้นไป หมายถึง มีภาวะซึมเศร้า “ควรได้รับบริการการปรึกษาหรือส่งพบแพทย์และคัดกรองความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย”

20 ความเชื่อมโยงของการใช้เครื่องมือกับการดูแลเฝ้าระวัง
Depression Depressive disorders Remission Relapse 2.ประเมิน 9Q ประเมินผู้ป่วย หรือความรุนแรง และการ เปลี่ยนแปลง ของโรคซึมเศร้า ระดระดับ ความรุนแรง - ปกติ - น้อย - ปานกลาง - รุนแรง

21 เครื่องมือการประเมินโรคซึมเศร้าด้วย 9Q

22 การแปลผลการใช้แบบประเมินโรคซึมเศร้า 9Q
คะแนน การแปลผล <7 ปกติ 7-12 ระดับ Mild 13-18 ระดับ Moderate ≥19 ระดับ Severe ค่าจุดตัด (cut off score) = 7 คะแนน เป็นจุดตัดที่แบ่งระดับการวินิจฉัยหรือจำแนกคนที่ป่วยออกจากคนไม่ป่วย (cut off level) โดยเลือกจากค่าความไว (Sensitivity) 75.68% และความจำเพาะสูง (Specificity) 92.85% เป็นระดับที่สูงและสอดคล้องกับบริบทของโรคซึมเศร้าในคนไทย

23 คุณสมบัติของแบบประเมินโรคซึมเศร้าด้วย 9Q
สามารถระบุคนที่ป่วยจริงได้ว่า ป่วย (true positive) และระบุคนที่ไม่ป่วยว่า ไม่ป่วย (true negative) เมื่อเทียบกับคนที่ป่วยเป็นโรคทั้งหมดได้ค่อนข้างสูง โดยมีค่าความไว (Sensitivity) % สามารถแยกคนที่ไม่ป่วยได้ถูกต้องเมื่อเปรียบเทียบกับคนที่ไม่ป่วยทั้งหมดจากความเป็นจริงได้สูงมาก โดยมีค่าความจำเพาะ (Specificity) % ช่วยจำแนกความรุนแรงของโรคซึมเศร้าเพื่อให้การรักษานำตามระบบเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า ประเมินอาการ/เฝ้าระวังการกลับซ้ำของโรคซึมเศร้า มีข้อจำกัดในการใช้ โดยใช้ได้เฉพาะบุคลากรสาธารณสุขที่ได้รับการอบรมเท่านั้น เป็นภาษาแสดงถึงความรู้สึกและพฤติกรรมซึ้มเศร้าของคนไทย

24 แบบประเมินแนวโน้ม/ความเสี่ยงฆ่าตัวตายด้วย 8Q
P76

25 การแปลผลประเมินด้วย 8Q แบบประเมินการฆ่าตัวตาย 8 คำถาม (8Q)
คะแนนรวม แนวโน้มที่จะฆ่า ตัวตายในปัจจุบัน 1-8 Mild 9-16 Moderate ≥ 17 Severe

26 คุณสมบัติของแบบประเมินการฆ่าตัวตายด้วย 8Q
ประเมินแนวโน้มการฆ่าตัวตาย เพื่อให้การดูแลตามระบบ การเฝ้าระวังของโรคซึมเศร้า บุคลากรสาธารณสุขทุกระดับสามารถนำไปใช้ในผู้ป่วยอื่นได้ เป็นภาษาที่ตรงกับคำพูด ที่แสดงถึงความรู้สึกและพฤติกรรมของคนไทย ความไว (Sensitivity) : สามารถระบุได้ว่า มี/ไม่มีแนวโน้มจะฆ่าตัวตาย ความจำเพาะ (Specificity) : สามารถวินิจฉัยแยกคนที่ไม่มีแนวโน้มฆ่าตัวตายได้ถูกต้องเมื่อเปรียบเทียบกับคนที่ไม่ฆ่าตัวตายทั้งหมดจากความเป็นจริง

27 แบบประเมินแนวโน้ม/ความเสี่ยงฆ่าตัวตายด้วย 10Q
รายการประเมิน มี ไม่มี 1.มีสีหน้าเป็นทุกข์ หม่นหมอง เศร้าซึม ร้องไห้ (ผู้สัมภาษณ์สังเกตพบขณะสัมภาษณ์) 2.เป็นโรคร้ายแรงหรือเรื้อรัง และมีผลกระทบต่อชีวิตประจำวันมาก 3.เข้ารักษาในโรงพยาบาลด้วยสาเหตุฆ่าตัวตายหรือเคยทำมาก่อน 4.สูญเสียอวัยวะที่สำคัญอย่างไม่คาดคิด (ระบุอวัยวะที่สูญเสีย……….) 5.มีการสูญเสียของรัก (คนรัก เงินทอง หรือบุคคลอันเป็นที่รัก หน้าที่การงาน) 6.ท่านดื่มเครื่องดื่มประเภทแอลกอฮอล์บ่อยครั้ง ดื่มหนัก ดื่มจนเมา 7.มีเรื่องกดดัน หรือคับข้องใจ 8.รู้สึกสิ้นหวัง ไม่มีค่าที่จะอยู่ต่อไป 9.เป็นทุกข์ จนไม่อยากมีชีวิตอยู่ต่อไป 10.กำลังคิดฆ่าตัวตาย

28 การแปลผลประเมินด้วย 8Q,10Q แบบคัดกรองความเสี่ยง ต่อการฆ่าตัวตาย (10Q)
ตอบ “มี” ตั้งแต่ 2 ข้อขึ้นไป “มีความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย” แบบประเมินการฆ่าตัวตาย 8 คำถาม (8Q) คะแนนรวม แนวโน้มที่จะฆ่า ตัวตายในปัจจุบัน 1-8 Mild 9-16 Moderate ≥ 17 Severe

29 วิธีการใช้เครื่องมือ
ถามเป็นรายบุคคล หากผู้ถูกถามไม่เข้าใจ ให้ถามซ้ำ ไม่ควรอธิบายหรือขยายความเพิ่ม ควรถามซ้ำจนกว่าผู้ถูกถามได้ตอบตามความเข้าใจของเขาเอง ถ้าพบว่า ความเสี่ยงที่จะป่วยเป็นโรคซึมเศร้า “ควรได้รับการประเมินโรคซึมเศร้าด้วย 9Q ภายใน 2 สัปดาห์ แต่ไม่ควรนานเกิน 3 เดือน” เน้น การแจ้งผลเพื่อสร้างความตระหนัก ถ้าพบว่ามีแนวโน้มหรือเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย ผู้ป่วยต้องได้รับการดูแลรักษาตามระดับความรุนแรง เน้น ผู้ป่วยต้องได้รับการดูแลรักษาตามระดับความรุนแรง

30 กระบวนการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า
อ.ส.ม. รพ.สต./PCU ร.พ.ช./ร.พ.ท. รพ.ที่มีจิตแพทย์ คัดกรอง คัดกรองในกลุ่มเสี่ยง คัดกรองในกลุ่มเสี่ยงด้วย DS 8 ให้การรักษา ตามมาตรฐาน การรักษา +ve +ve +ve แจ้งผลและ ให้สุขภาพจิต ศึกษา แจ้งผลและให้สุขภาพจิตศึกษา ≥ 7 ประเมินด้วย 9Q ประเมินโรคซึมเศร้าด้วย 9Q ≥ 7 ≥ 7 ประเมินการฆ่าตัวตายด้วย 8Q, 10Q/Card check list ประเมิน การฆ่าตัวตาย ด้วย 10Q, 8Q 8Q ≥17 วินิจฉัยโรคซึมเศร้าโดยแพทย์ ≥7 9Q ≥19 ผลประเมินด้วย 9Q Non MDD MDD ติดตามด้วย 9Qหรือ/และ8Q ทุกเดือนเป็นเวลา 1 ปี Mild 9Q=7-12 Csg+Edญาติ Moderate 9Q=13-18 Rx+Csg+ Edญาติ ≥7 Severe 9Q≥19 ติดตามด้วย 9Q ซ้ำอีก 1 เดือน มีปัญหาทางสังคมจิตใจ Csg Education ไม่มีปัญหาทางสังคมจิตใจ ติดตามการรักษาจน 9Q <7 ทุก 1 เดือน เป็นเวลา 6 เดือน แล้วลดยาลงจนหยุดได้

31 สรุปการใช้แบบการคัดกรองและแบบประเมินโรคซึมเศร้า
ประเภท เครื่องมือ การใช้ คัดกรองโรคซึมเศร้าในชุมชนและในกลุ่มเสี่ยงในสถานบริการ แบบคัดกรองด้วย DS8 การชี้แจงวัตถุประสงค์ของการคัดกรองและการประเมิน ถามด้วยภาษาที่สอดคล้องกับท้องถิ่นหรือผู้ถูกสัมภาษณ์ ควรถามให้ได้คำตอบทีละข้อ ไม่ควรอธิบายขยายความเพิ่มเติมถ้าไม่ตอบ ให้ถามซ้ำ พยายามถามให้ได้คำตอบทุกข้อ รวมคะแนนและแจ้งผลพร้อมทั้งให้คำแนะนำหรือวิธีการปฏิบัติตัวตามแนวทางต่อไป ประเมินและจำแนกความรุนแรงของโรคซึมเศร้า/ความเสี่ยงหรือแนวโน้มฆ่าตัวตาย แบบประเมินด้วย 9Q แบบประเมินฆ่าตัวตาย 8Q การวินิจฉัยโรคซึมเศร้า แบบประเมินด้วย 9Q หรือ ICD-10 การติดตามเฝ้าระวังการกลับเป็นซ้ำ

32 ชมวิดีโอสาธิตการใช้แบบคัดกรองและแบบประเมิน
การขอใช้แบบคัดกรอง ประเมินโรคซึมเศร้า และการฆ่าตัวตาย มีการขออนุญาตประเมิน/ชี้แจง/สร้างสัมพันธภาพ/ การบอกระยะเวลาในการตอบ เน้นการถามในช่วงเวลา/ ทวนความ/เน้นคำตอบของผู้ป่วย การบอกคำตอบที่จะต้องเลือกตอบ รูปแบบการถาม ถามเพิ่มเติม เพื่อขอข้อมูล การให้ตอบ มีการให้เวลา

33 ขอบคุณและสวัสดี


ดาวน์โหลด ppt เครื่องมือเพื่อการคัดกรองโรคซึมเศร้า

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google