นางสาวปัณยตา หมื่นศรี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้เสนอ นางประภัสสร แก้วประสาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
Advertisements

ผู้วิจัย อาจารย์เรวดี นาวินวิจิต
ชื่อผู้วิจัย นางดวงใจ สารภี อาจารย์กลุ่มวิชาบัญชี
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรูปแบบการจำลอง การอ่านค่าเวอร์เนียคาลิปเปอร์ วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น ระดับชั้น ปวช.1.
ผู้วิจัย นางสาวมัตติกา ขวัญใจ วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 2 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ ผู้วิจัย ถาวร ประรงค์ทอง.
นางสาวปุณณภา ฉัตรเดชาพล
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ

ชื่อเรื่อง ศึกษาการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาเศรษฐศาสตร์โดยใช้แบบฝึกทักษะการท่องจำเบื้องต้นของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ผู้วิจัย.
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ผลการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนการสอนรูปแบบซิปปา (CIPPA MODEL) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาภาษาอังกฤษสำหรับสถานประกอบการสำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาการเรียนรู้ เรื่อง การวิเคราะห์รายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป วิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติ ของนักเรียน ปวช.1 โรงเรียนเทคนิควิมลบริหารธุรกิจ.
นางสาวทศพร ปินตาสม วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่

นางบัววิไล แก้วอู๋ ผู้วิจัย
นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล
ชื่อเรื่องวิจัย การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้แบบฝึกวิชาภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารในงานอาชีพเรื่อง Present Simple.
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การปรับพฤติกรรมการเรียนในชั้นเรียนและการส่งงาน ของนักเรียนห้องการท่องเที่ยว 3/1 รายวิชาการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ นางสาวสุคนทิพย์ ทองจันทร์แก้ว สถานศึกษาที่สังกัด.
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจกลุ่ม 821
ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
นางปัจณี บุญส่งสวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ
วิธีการสอนแบบกระบวนการเสนอ ด้วยข้อมูลมีความแตกต่าง โดย นางสาวธนภรณ์ นาวินวิจิต วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชล บริหารธุรกิจ (M-BAC)
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
โดย นางสาวราตรี สมความคิด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรี ย่าน.

กิตติญา ยังเจริญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
อาจารย์ประจำสาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
โดย อาจารย์ วิลาวัณย์ ลีลารัตน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ที่เรียน จากการจัดกิจกรรมการเรียน โดยใช้การจัดลำดับ.
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ที่เรียน จากการจัดกิจกรรมการเรียน โดยใช้การจัดลำดับ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ จังหวัดระยอง จังหวัดระยอง ชื่อผู้วิจัย / สถาบัน นายวัชรพล พรมโคตร.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
นางจินดาพร พูล สวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการจัดการ สำนักงาน ของ นักศึกษาระดับ ปวส. 1 เรื่อง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
วัตถุประสงค์การวิจัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
การนำเสนอผลงานการวิจัย
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย ศุภลักษณ์ พูลเกษม วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ผู้วิจัย นายณัฐภูมิ จาระธรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นางสาวปัณยตา หมื่นศรี ผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจด้วยการเรียนรู้ร่วมกัน โดยใช้เฟซบุ๊ก ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ นางสาวปัณยตา หมื่นศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์

International Language ปัญหาการวิจัย International Language Solve problems Share knowledge Success achievement Source / Data Reading หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา มาตรา 22 Collaborative Learning Facebook Achievement

วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจด้วยการเรียนรู้ร่วมกัน โดยใช้เฟซบุ๊ก ของนักเรียนระดับปวช.ชั้นปีที่ 1 สาขางานธุรกิจค้าปลีก ก่อนเรียนและหลังเรียน เพื่อหาระดับเจตคติที่มีต่อการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ ด้วยการเรียนรู้ร่วมกัน โดยใช้เฟซบุ๊ก ของนักเรียนระดับปวช. ชั้นปีที่ 1 สาขางานธุรกิจค้าปลีก วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1 บทเรียนและแบบทดสอบ ที่สร้างขึ้นในเฟซบุ๊ก

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนเรียนและหลังเรียน

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 3 แบบสอบถามเพื่อวัดเจตคติที่มีต่อ การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ ด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เฟซบุ๊ก

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 4 แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ ด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เฟซบุ๊ก

ขั้นเตรียม สำรวจและเตรียมความพร้อมของผู้เรียน วิธีดำเนินการวิจัย ขั้นเตรียม สำรวจและเตรียมความพร้อมของผู้เรียน - อธิบายขั้นตอน การเข้าใช้หน้า fanpage - การเข้าเป็นสมาชิกกลุ่ม - การตอบคำถาม แบบทดสอบรายบทในห้องกลุ่ม ทำแบบทดสอบก่อนเรียน ก่อนขั้นอธิบาย

วิธีดำเนินการวิจัย (ต่อ) 2. ขั้นใช้ มีทั้งหมด 8 สัปดาห์ สัปดาห์ที่ 1 - นักเรียนรายบุคคลรับการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจก่อนเรียน

วิธีดำเนินการวิจัย (ต่อ) สัปดาห์ที่ 2 – 7 - กำหนดผู้เรียนในแต่ละกลุ่มๆละ 3 คน ร่วมกัน ศึกษาเรียนรู้เนื้อหาในแต่ละบทเรียน จากนั้นร่วมกันทำ แบบทดสอบจากหน้าfanpageในเฟซบุ๊ก - ผู้วิจัยสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนแต่ละกลุ่ม ซึ่งเป็นการศึกษาเรียนรู้ร่วมกันในแต่ละบทเรียนและ แบบทดสอบ

วิธีดำเนินการวิจัย (ต่อ) สัปดาห์ที่ 2 – 7 (ต่อ) - ผู้วิจัยตรวจแบบทดสอบแต่ละบทเรียนของแต่ละกลุ่ม ส่งคะแนนที่แต่ละกลุ่มทำได้ (เกณฑ์ผ่านร้อยละ 60) - ผู้วิจัยสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนแต่ละกลุ่ม ซึ่งเป็นการศึกษาเรียนรู้ร่วมกันในแต่ละบทเรียนและ แบบทดสอบ

วิธีดำเนินการวิจัย (ต่อ) สัปดาห์ที่ 8 - นักเรียนรายบุคคลรับการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจหลังเรียน - นักเรียนรายบุคคลทำแบบสอบถามเพื่อวัดเจตคติที่มีต่อ การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจด้วยการเรียนรู้ ร่วมกันโดยใช้เฟซบุ๊ก

การวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ โดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ใช้สถิติในการวิเคราะห์หาผลสัมฤทธิ์การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง ค่า Paired t-test เป็นสถิติทดสอบสมมุติฐาน

ผลการวิจัย การทดสอบ n Mean S.D. t Sig ก่อนเรียน 30 5.97 2.51 8.03 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจด้วย การเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เฟซบุ๊ก ก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง การทดสอบ n Mean S.D. t Sig ก่อนเรียน 30 5.97 2.51 8.03 0.000* หลังเรียน 22.00 2.73

ผลการวิจัย สรุปผลจากแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ร่วมกัน โดยใช้เฟซบุ๊กของนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง รายการพฤติกรรม ค่าเฉลี่ย ระดับ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3.57 มากที่สุด การมีปฏิสัมพันธ์ 3.58 มีการสร้างความรู้ใหม่ 3.43 มาก มีการเรียนรู้และปรับการทำงาน 3.42 ความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย 3.52 ค่าเฉลี่ยโดยรวม 3.50

ผลการวิจัย ตารางที่ 5 เปรียบเทียบคะแนนร้อยละการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจกับผลจากแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เฟซบุ๊กของนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 10 กลุ่ม

ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะสำหรับการนำไปใช้ 1. การออกแบบและสร้างfanpageในเฟซบุ๊ก ควรมีการศึกษาหรือปรึกษาผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีการศึกษา เพื่อให้เกิดความเหมาะสมกับผู้เรียนมากที่สุด 2. การพัฒนาบทเรียน แบบทดสอบ หน้า fanpage ในเฟซบุ๊ก ต้องมีการเขียนแผนผังในการเข้าใช้งานในหน้าfanpageในเฟซบุ๊ก การเปิดห้องกลุ่ม การเพิ่มสมาชิกกลุ่มในเฟซบุ๊ก เพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการเข้าใช้งาน นอกจากนี้ยังต้องเตรียมทรัพยากรทางเทคโนโลยี มัลติมีเดียด้านต่างๆ ให้พร้อม เช่น เนื้อหา ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น 3. ผู้เรียนที่เข้าใช้หน้าfanpage ในเฟซบุ๊ก จะต้องได้รับคำแนะนำการใช้ เป็นรายกลุ่มอย่างใกล้ชิด เพื่อให้ผู้เรียนได้ใช้ตามจุดประสงค์ที่กำหนดไว้

Thank You !