ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

น.พ.นิทัศน์ รายยวา รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
Good Morning.
ความรู้เรื่องประชาคมอาเซียน
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
การศึกษาปฐมวัย แผนยุทธศาสตร์หลัก แผนยุทธศาสตร์หลักที่ 1 แผนพัฒนาพ่อแม่ ผู้ปกครอง สมาชิกใน ครอบครัวและผู้เตรียมตัวเป็นพ่อแม่ แผนยุทธศาสตร์หลักที่ 1 แผนพัฒนาพ่อแม่
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
เยี่ยมเสริมพลัง การจัดการความรู้ วันที่ 14 ก. ย
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
การลงทะเบียนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ศูนย์สุขภาพชุมชน (Mini Health Center)
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
คณะที่ 4 พัฒนาระบบสนับสนุนด้านสุขภาพ
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
แผนพัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัย และเวชกรรมสิ่งแวดล้อม
รศ. ทวีศักดิ์ สูทกวาทิน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
EHA กรมอนามัย การดำเนินงานของกลุ่ม อวล + เลขานุการอสธจ. การคุ้มครองสิทธิทางสุขภาพของประชาชนด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ให้ข้อมูล ให้ความรู้ ปกป้องสิทธิ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การวิเคราะห์ข้อมูลขยะ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัดปทุมธานี
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
แผนยุทธศาสตร์เครือข่ายสุขภาพอำเภอเทพา ปี 2562
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism)
จุฑารัตน์ สะธรรมกิจ ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 3 ข้อเสนอ

สมาชิก ผอ.เกษม เวชสุทธานนท์ ชนิกา โรจน์สกุลพานิช สมสุข โสภาวนิตย์ ผอ.เกษม เวชสุทธานนท์ สมสุข โสภาวนิตย์ วิภา รุจิจนากุล ปรียนิตย์ ใหม่เจริญศรี ชนิกา โรจน์สกุลพานิช สมาชิก

กรอบแนวคิด พื้นที่นิคมอุตสาหกรรม เขตเศรษฐกิจพิเศษ พื้นที่ชายขอบ/ แรงงานต่างด้าว เมืองท่องเที่ยว บริบทของพื้นที่ ทิศทางและนโยบายการพัฒนาประเทศ สถานการณ์ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม วิเคราะห์แนวโน้ม สภาพ ปัญหาของพื้นที่ กำหนดประเด็นการ ดำเนินงาน จัดทำข้อเสนอการดำเนินงาน ต่อศูนย์อนามัย

บริบทของพื้นที่

โครงสร้างประชากรกลางปีจำแนกตามสัดส่วนกลุ่มอายุและเพศ เขต 3 ปี พ.ศ. 2555 ที่มา : กรมการปกครองกระทรวงมหาดไทย

วิสัยทัศน์ “แหล่งท่องเที่ยวระดับสากล ผลิตภัณฑ์เกษตรคุณภาพ ฐานอุตสาหกรรมเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน อยู่ร่วมกันอย่างสมดุลและยั่งยืน ประตูสู่เศรษฐกิจโลก”

วิสัยทัศน์ “ ศูนย์กลางการค้าการลงทุนแห่งอินโดจีน ฐานการผลิตอุตสาหกรรมก้าวหน้าระดับประเทศ แหล่งผลิตสินค้าเกษตรมาตรฐานสากล เส้นทางท่องเที่ยวธรรมชาติและวัฒนธรรม

สถานการณ์การส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ที่มา : สำนักสถิติพยากรณ์ สำนักงานสถิติแห่งชาติ

จังหวัดที่มีวิกฤต ปัญหามูลฝอยสะสม 20 อันดับแรกของประเทศไทย จังหวัดที่มีวิกฤต ปัญหามูลฝอยสะสม 20 อันดับแรกของประเทศไทย กิโลกรัม/คน

จังหวัดที่มีวิกฤตปัญหา การจัดการขยะมูลฝอย 20 อันดับแรกของประเทศไทย จังหวัดที่มีวิกฤตปัญหา การจัดการขยะมูลฝอย 20 อันดับแรกของประเทศไทย ร้อยละ

สถานการณ์การส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ที่มา: รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทยปี 2556

ผลการประเมินดัชนีคุณภาพน้ำทะเลทั่วประเทศ ปี 2556 ที่มา: รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย ปี 2556

ตัวอย่างผลการตรวจวัดสารอินทรีย์ระเหยง่าย VOCs ที่มา: รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย ปี 2556

การวิเคราะห์ปัญหาและกำหนดกลยุทธ์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค

“เมืองที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (City of Good Quality of Life and Environment) ”   เป้าประสงค์ 1. ประชาชนได้รับบริการการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมอย่างมีคุณภาพ 2. ประชาชนในพื้นที่ได้รับการคุ้มครองสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม

4. การใช้มาตรการทางกฎหมาย ข้อเสนอ 4. การใช้มาตรการทางกฎหมาย 1. การพัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยี และศักยภาพบุคคลากร 2. พัฒนาระบบเฝ้าระวัง สื่อสารเตือนภัย และตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน 3. การจัดกลไกการดำเนินงานเพื่อบูรณาการทุกภาคส่วน    

กลยุทธ์ 1 การพัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยี และศักยภาพบุคลากร มีการศึกษา วิจัย และพัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยี ด้านการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม พัฒนาขีดความสามารถบุคลากรของศูนย์อนามัย ให้มีความเชี่ยวชาญด้านการประเมินสถานการณ์มลพิษสิ่งแวดล้อม การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพจากสิ่งแวดล้อมและการจัดการมลพิษสิ่งแวดล้อม พัฒนาขีดความสามารถของภาคีเครือข่าย (สสจ. สสอ. อปท. ฯ)ให้มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถจัดการกับปัญหาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม มี Excellent center ด้านการวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ

กลยุทธ์ 2 พัฒนาระบบเฝ้าระวัง สื่อสารเตือนภัย และตอบโต้ ภาวะฉุกเฉิน กลยุทธ์ 2 พัฒนาระบบเฝ้าระวัง สื่อสารเตือนภัย และตอบโต้ ภาวะฉุกเฉิน การพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศด้านประชากร อุตสาหกรรม สารเคมี มลพิษสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ มีระบบและกลไกการเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพและมลพิษสิ่งแวดล้อมโดยวิเคราะห์เพื่อกำหนดโซนมลพิษสิ่งแวดล้อมที่ต้องเฝ้าระวัง และดำเนินการอย่างต่อเนื่อง มีระบบและกลไกการจัดการในการป้องกัน ดูแล แก้ไขปัญหาสุขภาพและมลพิษสิ่งแวดล้อมโดยมีสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดและโรงพยาบาลในพื้นที่เป็นฝ่ายปฏิบัติการ และศูนย์อนามัยเป็นฝ่ายประสานงาน พัฒนาทีมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมด้วยการจัดตั้งเป็นคณะกรรมการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ที่มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ ท้องถิ่น และภาคประชาสังคมเข้าร่วม มีการกำหนดแผนและมาตรการที่ชัดเจน มีการจัดสรรทรัพยากรเพื่อสนับสนุนการดำเนินงาน

กลยุทธ์ 3 การจัดกลไกการดำเนินงานเพื่อบูรณาการ ทุกภาคส่วน กลยุทธ์ 3 การจัดกลไกการดำเนินงานเพื่อบูรณาการ ทุกภาคส่วน การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายและประชาชน พัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังและการจัดการโดยการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคเอกชน ท้องถิ่น และชุมชน พัฒนากลไกโดยใช้หลักการผู้ก่อมลพิษเป็นผู้จ่ายในการเฝ้าระวังและติดตามด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ มีการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความรู้และความตระหนักของชุมชนและประชาชน

กลยุทธ์ 4 การใช้มาตรการทางกฎหมาย ส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นออกข้อกำหนดและบังคับใช้ตาม พรบ.สาธารณสุข พ.ศ. 2535 และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง การคุ้มครองสิทธิทางสุขภาพของประชาชน โดยส่งเสริมให้ประชาชนรู้สิทธิและหน้าที่ของตนเองด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมทั้งก่อนมีปัญหา ระหว่าง และจัดการเมื่อมีปัญหา

City of Good Quality of Life and Environment