ถอดรหัสตัวชี้วัด Service plan สาขา Palliative care Take home message ถอดรหัสตัวชี้วัด Service plan สาขา Palliative care
ตัวชี้วัด Service plan มะเร็ง VS Palliative care
ร้อยละของโรงพยาบาลที่มีการดูแล แบบประคับประคอง (Palliative Care) โรงพยาบาลทุกระดับ (ระดับ A,S,M,F) ในเขตสุขภาพ 2561-2565
Link ของ List disease of Palliative care and Functional unit http://www.dms.moph.go.th/dmsweb/cpgcorner/cpgcorner26122559.pdf
กิจกรรม : การให้ข้อมูล/การวางแผนชีวิตล่วงหน้า/การบรรเทาความทุกข์ทรมาน ขั้นตอนที่ 2 มี 3 ข้อย่อย เป้าหมาย >> การวัด กิจกรรม : การให้ข้อมูล/การวางแผนชีวิตล่วงหน้า/การบรรเทาความทุกข์ทรมาน ขั้นตอนที่ 1 มี 5 ข้อย่อย เป้าหมาย >> การวัด การจัดการเชิงโครงสร้าง (Input) ขั้นตอนที่ 5 มี 2 ข้อย่อย เป้าหมาย >> การวัด ผลลัพธ์ : การบรรลุ Goal ของ ACP / การพัฒนาคุณภาพ (CQI, R2R, Mini rsearch, Research) / Benchmarking ขั้นตอนที่ 4 มี 2 ข้อย่อย เป้าหมาย >> การวัด กิจกรรม : สร้างเครือข่าย การรับส่งต่อ / สร้างคลังอุปกรณ์ ขั้นตอนที่ 3 มี 1 ข้อย่อย เป้าหมาย >> การวัด กิจกรรม : การทำงานร่วมกับชุมชน
ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 มีคณะกรรมการ PC หรือ ศูนย์ PC มีพยาบาลที่ผ่านการอบรมเป็นเลขา มี Flow การดูแล หรือ Guideline การดูแลในกลุ่มโรคสำคัญ มีงาน PC / Function ในโครงสร้างพยาบาล ผป PC ได้รับการดูแลตามแนวทางไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 มีการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Hospital to Home) มีการรักษา/บรรเทาด้วย Strong Opioid Medication มีการจัดการดูแลแบบการแพทย์แผนไทย หรือการแพทย์ทางเลือก การจัดการ เชิงโครงสร้าง (Input) มีแพทย์ผ่านการอบรมด้าน Palliative เป็นประธาน หรือ กรรมการ ได้รับการให้ข้อมูลจากกิจกรรม Family Meeting และมีการทำ Advance Care Planning (ACP) มี Pain Clinic หรือ Palliative Care Clinic มีการจัดการดูแลแบบการแพทย์แผนไทยและ/หรือการแพทย์ทางเลือก ขั้นตอนที่ 2 กิจกรรม : การให้ข้อมูล/ การวางแผนชีวิต ล่วงหน้า/ การบรรเทา ความทุกข์ทรมาน
ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5 มีแผนงาน/โครงการ หรือ กิจกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง มีการดำเนินงานอย่างเป็นรูปธรรม ร่วมกับ สสจ. สสอ. รพ.สต. องค์กรในท้องถิ่นหรือองค์กรต่างๆ ในชุมชน ขั้นตอนที่ 3 กิจกรรม : การทำงาน ร่วมกับชุมชน มีการสร้างเครือข่าย และแนวทางการรับ-ส่งต่อของเขตสุขภาพที่ชัดเจนเป็นลายลักษณ์อักษร มีการประกาศใช้ มีการดำเนินการตามแนวทาง มีคลังอุปกรณ์ที่สามารถยืมไปใช้ที่บ้านได้ มีการประเมินความต้องการใช้อุปกรณ์ และมีการจัดหาให้เพียงพอ มีการจัดทำระบบบำรุงรักษา และฐานข้อมูลอุปกรณ์ ขั้นตอนที่ 4 กิจกรรม : สร้างเครือข่าย การรับส่งต่อ / สร้างคลังอุปกรณ์ มีการติดตามประเมินการบรรลุเป้าหมาย (Goal) ตาม ACP มีงานวิจัย หรืองานพัฒนาคุณภาพ (R2R, Mini Research, CQI) หรือ Best /Good Practice มีการเทียบเคียง (Benchmarking) ขั้นตอนที่ 5 ผลลัพธ์ : การบรรลุ Goal ของ ACP / การพัฒนาคุณภาพ
เกณฑ์เป้าหมาย : โรงพยาบาลทุกระดับ (A,S,M,F) มีการดูแลแบบประคับประคองตามเกณฑ์ (ผ่านตามขั้นตอนการประเมินผล) ปีงบประมาณ 2560 2561 2562 2563 2564 ขั้นตอนที่ 1 ข้อ 1.1-1.5 ขั้นตอนที่ 3 (ไม่รวมขั้นตอนที่ 2) ขั้นตอนที่ 2 2.1, 2.2 (1) และ 2.3 (1) ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 4.1 (1) และ 4.2 (1) ขั้นตอนที่ 5 5.1 (1) และ 5.2 (1) 2.1, 2.2 (2) และ 2.3 (2) 4.1 (2) และ 4.2 (2) 5.1 (2) และ 5.2 (2) 2.1, 2.2 (3) และ 2.3 (3) 4.1 (3) และ 4.2 (3) 5.1 (3) และ 5.2 (3) 2.1, 2.2 (4) และ 2.3 (4) 4.1 (4) และ 4.2 (4) 5.1 (4) และ 5.2 (4)
รายการตัวชี้วัด ขั้น 1.1 มีคณะกรรมการ PC หรือ ศูนย์ PC A S M1 M2 F1 F2 F3 1.1 มีคณะกรรมการ PC หรือ ศูนย์ PC มีพยาบาลที่ผ่านการอบรม PC เป็นเลขา มี Flow การดูแล หรือ Guideline การดูแลในกลุ่มโรคสำคัญ 1.2 มีการจัดตั้งงาน PCเป็นหน่วยบริการหนึ่งในกลุ่มงานการพยาบาล มีพยาบาลที่ผ่านการอบรมหลักสูตร Palliative Care รับผิดชอบเต็มเวลา มีหน่วยบริการการดูแลแบบประคับประคองพร้อมพยาบาลที่ผ่านการอบรมหลักสูตร Palliative Care 1.3 กลุ่มผู้ป่วยที่อยู่ในเกณฑ์ ได้รับการดูแลตามแนวทาง Palliative Care 1.4 มีระบบบริการ หรือ Function การทำงาน ที่แสดงถึงการเชื่อมโยงการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน 1.5 มีการใช้ Strong Opioid 30% 20% มีการจัดการดูแลแบบการแพทย์แผนไทย หรือการแพทย์ทางเลือก
ขั้น รายการตัวชี้วัด A S M1 M2 F1 F2 F3 2.1 มีแพทย์ผ่านการอบรมด้าน Palliative เป็นประธาน หรือ กรรมการ ร่วมทีมพัฒนาคุณภาพการดูแลแบบประคับประคองของโรงพยาบาล 2.2 ให้ข้อมูลจากกิจกรรม Family Meeting และมีการทำ Advance Care Planning (ACP) 2.3 มี Pain Clinic หรือ Palliative Care Clinic และมีการจัดการดูแลแบบการแพทย์แผนไทยและ/หรือการแพทย์ทางเลือก 3 มีแผนงาน/โครงการ หรือ กิจกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง มีการดำเนินงานอย่างเป็นรูปธรรม ร่วมกับ สสจ. สสอ. รพ.สต. องค์กรในท้องถิ่นหรือองค์กรต่างๆ ในชุมชน 4.1 มีการสร้างเครือข่าย และแนวทางการรับ-ส่งต่อของเขตสุขภาพที่ชัดเจนเป็นลายลักษณ์อักษรและมีการประกาศใช้
ขั้น รายการตัวชี้วัด A S M1 M2 F1 F2 F3 4.2 มีคลังอุปกรณ์กลาง สนับสนุนผู้ป่วยให้มีไปใช้ที่บ้าน สร้างเครือข่ายการยืม-คืน มีการจัดทำระบบบำรุงรักษา และฐานข้อมูลอุปกรณ์ให้ยืมใช้อย่างมีประสิทธิภาพ และง่ายต่อการเข้าถึงทั้งระดับโรงพยาบาล ระดับจังหวัด และระดับเขต 5.1 มีการติดตามประเมินการบรรลุเป้าหมาย (Goal) ตาม Advance Care Plan ที่ได้ทำและปรับเปลี่ยนร่วมกันของผู้ป่วย/ครอบครัวและทีมสุขภาพ จนถึงวาระสุดท้ายและการจากไป 5.2 มีงานวิจัย หรืองานพัฒนาคุณภาพ (R2R, Mini Research, CQI) หรือ Best /Good Practice ด้านการดูแลแบบประคับประคอง มีการเทียบเคียง (Benchmarking)
ปี 2560 ปี 2561-2564 โครงสร้าง กรรมการ+เลขา โครงสร้าง /สมรรถนะแพทย์-พยาบาล Flow / Guideline การดูแล กำหนดให้มีหน่วยงาน/Function สำคัญที่เกี่ยวข้อง งาน PC งานดูแลต่อเนื่องที่บ้าน Pain / PC clinic กิจกรรม Family Meeting /ACP มีแผนงาน/โครงการร่วมกับ สสจ./สสอ./รพ.สต./อปท การดูแลแบบการแพทย์แผนไทยหรือการแพทย์ทางเลือก สร้างเครือข่าย / สร้างแนวทางการรับ-ส่งต่อ สร้างคลังอุปกรณ์/จัดทำระบบบำรุงรักษา และฐานข้อมูลอุปกรณ์ ยืม-คืน Output /Outcome ผู้ป่วย PC ได้รับการดูแลตามแนวทาง ติดตามประเมินการบรรลุเป้าหมาย (Goal) ตาม ACP พัฒนาคุณภาพ มีงานพัฒนาคุณภาพ (R2R, Mini research, CQI) และ Best /Good Practice และ งานวิจัย และ Benchmarking
Palliative Care Settings ANYWHERE!