งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ประเด็นติดตาม Palliative care.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ประเด็นติดตาม Palliative care."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ประเด็นติดตาม Palliative care

2 Palliative care ปี 2560 1. มีคณะกรรมการ ประกอบด้วยใครบ้าง 2. แนวทางการดูแลอย่างไร 3. การจัดตั้งงานการดูแลแบบประคับประคองโดยหน่วยงานใด 4. กลุ่มผู้ป่วยที่อยู่ในเกณฑ์ได้รับดูแลตามแนวทาง Palliative Care มากน้อยอย่างไร 5. ระบบบริการหรือ Function การทำงานที่แสดงถึงการเชื่อมโยงการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน

3 6. การรักษา/บรรเทาด้วย Strong opioid medication และการแพทย์ทางเลือกอื่น ๆ อย่างไร 7. การพัฒนาศักยภาพบุคลากรอย่างไร 8. Family Meeting และมีการทำ Advance Care Planning (ACP) 9. มี Pain Clinic หรือ Palliative Care Clinic 10. มีแผนงาน/โครงการหรือกิจกรรมอย่างเป็นรูปธรรมที่เกี่ยวข้องกับสสจ. สสอ. รพ.สต. องค์กรในท้องถิ่นหรือองค์กรต่างๆ อย่างไร 11. มีการสร้างเครือข่ายและแนวทางการรับ-ส่งต่อ

4 แผนการดำเนินงาน ขั้นตอนที่1 Palliative care team+Care manager+CPG
Strong opioid medication+ทางเลือก ขั้นตอนที่2 Family meeting+Advance care planning Pain/Palliative Clinic ขั้นตอนที่3 การดำเนินงานร่วมกับชุมชน ขั้นตอนที่4 การสร้างเครือข่ายและแนวทางการรับส่งต่อ มีคลังอุปกรณ์ที่ใช้ในการสนับสนุนผู้ป่วย ขั้นตอนที่5 การติดตามการบรรลุเป้าหมาย มีงานวิจัยหรืองานพัฒนาคุณภาพ

5 แนวทางการดำเนินงาน พบผู้ป่วยที่ควรได้รับการดูแลแบบประคับประคอง
Family meeting and advance care planning ทุกราย ให้การดูแลแบบประคับประคองตามบริบทแต่ละอำเภอ ส่งดูแลต่อเนื่องที่บ้านทุกราย นัดติดตามการรักษาที่ Palliative Clinic ทุกราย

6 ตัวชี้วัดงาน Palliative care
ตัวชี้วัดหลัก (ตามกรมการแพทย์) ยังมีประเด็นที่ต้องให้คำนิยามที่ชัดเจนดังต่อไปนี้ 1.ในหัวข้อ : กลุ่มผู้ป่วยที่อยู่ในเกณฑ์ได้รับการดูแลตามแนวทาง Palliative care คำว่าการดูแลตามแนวทาง Palliative care ของจังหวัดเชียงใหม่หมายถึงผู้ป่วยต้องได้รับการลงทะเบียนในหน่วยบริการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองของหน่วยงาน ได้รับการวินิจฉัย Z51.5 และได้ทำ Family meeting and advance care planning ได้รับการดูแลตาม PPS ของผู้ป่วย ส่งดูแลต่อเนื่องที่บ้าน และการติดตามการดูแลต่อเนื่อง

7 A = จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลตามแนวทาง palliative care (ตามข้อ 1)
2.สำหรับการคำนวณตัวชี้วัดข้อ กลุ่มเป้าหมายได้รับการดูแลแบบประคับประคองมากกว่าร้อยละ 50 ใช้สูตรคำนวณคือ (A/B) x 100 A = จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลตามแนวทาง palliative care (ตามข้อ 1) B = จำนวนผู้ป่วยที่อยู่ในเกณฑ์ต้องได้รับการดูแลที่มาลงทะเบียนในหน่วยบริการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองในหน่วยงาน

8 A = จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วย Strong opioid medication
3.ตัวชี้วัด : มีการรักษาด้วย Strong opioid medication มากกว่าร้อยละ 30 (รพ.ระดับ A,s,M1) มากกว่ารัอยละ 20 (รพ.ระดับ M2,F1-3) ใช้สูตรคำนวณคือ (A/B) x 100 A = จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วย Strong opioid medication B = จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลตามแนวทาง palliative care (ตามข้อ 1)

9 ตัวชี้วัดจังหวัดเชียงใหม่
ผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมายได้รับการดูแลแบบประคับประคองมากกว่าร้อยละ 50 อัตราการนอนโรงพยาบาลด้วยอาการรบกวนซ้ำใน 28 วันของผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง น้อยกว่าร้อยละ 10 อัตราการเข้ารับการรักษาที่ห้องฉุกเฉินด้วยอาการรบกวนซ้ำใน 48 ชั่วโมง ของผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง น้อยกว่าร้อยละ 10 ผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองมีการรักษาด้วย Strong opioid medication มากกว่าร้อยละ 30 ผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองมีการบรรลุเป้าหมายตาม Advance care plan มากกว่าร้อยละ 80

10 ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt ประเด็นติดตาม Palliative care.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google