มหิดล มหาวิทยาลัย แห่งความสุข

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
Advertisements

นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
โครงการ “ พัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา เรียนร่วมและเรียนรวม”
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
แผนยุทธศาสตร์ฯ ด้านทรัพยากรบุคคล ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ตราด.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
วิสัยทัศน์การจัดการความรู้ กรมชลประทาน กรมชลประทานมุ่งจัดการ ความรู้ สู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
(ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ –2579)
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
MGT 228 การจัดการสมัยใหม่ บทที่ 11 การจูงใจ (MOTIVATION)
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการบุคลากรทรัพยากรมนุษย์
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
สอนโดย : อาจารย์กุสุมา ยกชู
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
ร่าง ยุทธศาสตร์กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ พ. ศ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
โดย หัวหน้างานบริหารทั่วไป
โดย นายธนารัฐ สายเทพ กลุ่มงานวางแผนฯ กองการเจ้าหน้าที่ นอ
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มหิดล มหาวิทยาลัย แห่งความสุข รศ.ดร. ศิรินันท์ กิตติสุขสถิต สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล 26 มิถุนายน 2559

เรามาทำไม? เราได้อะไร? เอาไปใช้ประโยชน์ อย่างไร?

การที่จะทำให้ประเทศไทย เป็นประเทศที่มีความสุขอย่างแท้จริงได้ พวกเราต้องช่วยกันสร้างองค์กร ที่ดูแลพนักงาน ดูแลสังคมภายในองค์กร ให้เป็น องค์กรแห่งความสุข เป็นองค์กรที่ดีต่อสังคมไทย ประเทศไทยจึงจะน่าอยู่  “นพ. ชาญวิทย์ วสันต์ธนารัตน์, ผู้อำนวยการสำนักสนับสนุนสุขภาวะองค์กร สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส), คำนิยม CSR ในองค์กร ก้าวหน้าอย่างมีสุข, ตุลาคม, 2553”

ผมคิดว่า ถึงเวลาที่พวกเราทุกคน ควรยอมรับกันแล้วว่า เงินไม่ใช่สิ่งสำคัญที่สุดของชีวิต และเราก็ไม่ควร วัดค่าชีวิตของคนด้วยเม็ดเงิน” เพราะฉนั้น รัฐบาลก็ไม่ควรที่จะเน้นความสนใจของรัฐ ไปอยู่แค่การพัฒนา GDP ของประเทศเพียงอย่างเดียว รัฐบาลที่ดี ควรให้ความสำคัญในการสร้างนโยบาย ซึ่งนำมาถึงการพัฒนาความสุขทั่วไปของประชาชนด้วย  ที่มา: www.thaibublica.org เมื่อ 25 พ.ย. 2557 David Cameron, Prime Minister of The United Kingdom, November, 2010

มหาวิทยาลัยมหิดล: ปัญญาของแผ่นดิน มหาวิทยาลัยมหิดล: ปัญญาของแผ่นดิน วิสัยทัศน์ มหาวิทยาลัยมหิดลมุ่งมั่นที่จะเป็นมหาวิทยาลัยระดับโลก พันธกิจ ความเป็นเลิศทางด้านสุขภาพ ศาสตร์ ศิลป์ และนวัตกรรมบนพื้นฐานของคุณธรรม เพื่อสังคมไทย และประโยชน์สุขแก่มวลมนุษยชาติ

แน่วแน่ทำ กล้าตัดสินใจ วัฒนธรรมองค์กร M - Mastery เป็นนายแห่งตน A - Altruism มุ่งผลเพื่อผู้อื่น H - Harmony กลมกลืนกับสรรพสิ่ง I - Integrity มั่นคงยิ่งในคุณธรรม D - Determination แน่วแน่ทำ กล้าตัดสินใจ O - Originality สร้างสรรค์สิ่งใหม่ L - Leadership ใฝ่ใจเป็นผู้นำ

แผนยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๒ ยุทธศาสตร์ ๑ Excellence in research with global and social impact ยุทธศาสตร์ ๒ Excellence in outcome-based education for globally- competent graduates ยุทธศาสตร์ ๓ Excellence in professional services and social engagement ยุทธศาสตร์ ๔ Excellence in management for sustainable organization

กระบวนทัศน์ใหม่

กระบวนทัศน์ใหม่ มหาวิทยาลัย แห่งความสุข HAPPY University วัฒนธรรมองค์กร ความพร้อม (กาย จิต วิญญาณ สมาธิ ปัญญา) การทำงานเป็นทีม ความผูกพันองค์กร การสื่อสาร ความสัมพันธ์

ศิลปในการทำงานให้มีความสุข อดทนเหมือนอูฐ จงรักภักดีเหมือนหมา ไม่พูดเหมือนปลา โง่เหมือนควาย

กระบวนการสร้างคนคุณภาพ ความ พึงพอใจ ความผูกพัน สมดุล แห่งชีวิต ผลลัพธ์เชิงธุรกิจ ความสุข

เครื่องมือการเพิ่มคุณค่าในงาน: Job Enrichment Renewal เกิดความแปลกใหม่ เปลี่ยนแปลง ลักษณะงาน บุคคล เปลี่ยนมุมมองหรือความคิดจากงานเดิม Exploration พัฒนาและแสวงหาทักษะความชำนาญที่มากขึ้น พัฒนาสัมพันธภาพที่เกิดขึ้นจากการทำงานใหม่ ๆ Specialization สามารถทำงานอย่างเสรี ชำนาญในงานเป็นพิเศษ ความสามารถในการบริหารจัดการงานที่ ลึกขึ้น ยากขึ้น และ ท้าทายมากขึ้น เพิ่มคุณค่าในแนวนอน: Horizontal Job Enrichment ----ขยายขอบเขต---- ของงาน ให้กว้างขึ้น เพิ่มคุณค่าในแนวตั้ง: Vertical Job Enrichment ----- ลดอำนาจ-------- จากผู้บังคับบัญชาให้น้อยลง

สร้างคนคุณภาพ เพิ่มคุณค่าต่อองค์กร ค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ ความรับผิดชอบและความท้าทายใหม่ ๆ คุณค่าขององค์กรที่นำมาสู่คุณค่าบุคลากร สมดุลระหว่างความต้องการในชีวิตและการทำงาน โอกาสในความเจริญเติบโตก้าวหน้าในอาชีพ Attracting Employee, Retaining Employee

สร้างเสริม ความสุข ความผูกพัน สมดุลแห่งชีวิต คนทำงาน มหิดล ---มหาวิทยาลัยแห่งความผูกพันและความสุข สร้างเสริม ความสุข ความผูกพัน สมดุลแห่งชีวิต คนทำงาน

มหาวิทยาลัยแห่งความสุข มหาวิทยาลัยแห่งความสุข  คือ มหาวิทยาลัยที่สามารถกระตุ้น  จูงใจ สร้างเสริม ความรัก ความผูกพัน ความสุข ทั้งด้าน กาย จิต วิญญาณ สมาธิ ปัญญา สร้างความสัมพันธ์ สร้างการสื่อสาร ให้คนทำงานในมหาวิทยาลัย รู้สึกและปฏิบัติตนเป็นส่วนหนึ่งของมหาวิทยาลัย พร้อมปฏิบัติภารกิจของมหาวิทยาลัย ให้บรรลุตามเป้าหมาย ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ ประสิทธิผล

สร้างนักสร้างสุของค์กร

นักสร้างสุข (Happy Maker) ประยุกต์แนวคิดของ R2R (Routine to Research) ผสมผสานหลักการวิจัยทางสังคมศาสตร์มาเชื่อมกับการพัฒนาและบริหารจัดการองค์ความรู้สู่ความสุขในการทำงานประจำของบุคลากรในองค์กรหรือหน่วยงาน พัฒนาบุคลากรที่ทำงานด้านทรัพยากรบุคคล หรืออื่น ๆ ให้มีศักยภาพ มีคุณค่า และมีความเข้มแข็งในการบริการจัดการ องค์ความรู้สู่ความสุขในการทำงานของคนทำงานในองค์กร (ใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ นำเสนอผลได้อย่างถูก จุดและถูกใจ) เน้นการแก้ปัญหาที่เป็นรูปธรรมและถูกจุด เป็นพลังขับเคลื่อนสำคัญที่นำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงในเชิงบวกของคนทำงานและองค์กร

วัดความสำเร็จว่าเราเป็นนักสร้างสุขแล้ว

61 ตัวชี้วัด มี 20 ตัวชี้วัด

HAPPY UNIVERSITY ความผูกพันองค์กร Stay Say Strive ความผูกพันองค์กร

ความพึงพอใจ ปัจจัยจูงใจ ปัจจัยค้ำจุน ความสำเร็จในการทำงานของบุคคล เงินเดือน การได้การยอมรับนับถือ โอกาสที่จะได้ความก้าวหน้าในอนาคต งานที่มีลักษณะสร้างสรรค์ ท้าทาย คิดใหม่ทำใหม่ อาชีพเป็นที่ยอมรับของสังคม มีเกียรติ/ มีศักดิ์ศรี ความพึงพอใจที่เกิดจากผลงานที่รับผิดชอบ ความสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชา/ ใต้บังคับบัญชา / เพื่อนร่วมงาน ความก้าวหน้า/ ได้รับการเลื่อนขั้น เลื่อนตำแหน่ง การจัดการ การบริหาร และ การสื่อสารในองค์กร สิ่งแวดล้อมในองค์กร ความรู้สึกกับผลที่ได้รับจากงานในหน้าที่ ความรู้สึกมั่นคง ความยั่งยืนในอาชีพ ความมั่นคงขององค์กร ความยุติธรรมของผู้บังคัญชาในการบริหงาน

แผนปฏิบัติการสร้างสุข (Happiness Action Plan) ชื่อโครงการ……………………………………………………………………………………………………………. เป้าประสงค์……………………………………………………………………………………………………………….. วัตถุประสงค์ ……………………………………………………………………………………………………………….. กลุ่มเป้าหมาย ……………………………………………………………………………………………………………….. ผู้รับผิดชอบ ……………………………………………………………………………………………………………….. ติดตามประเมินผล สถาน การณ์ปัญหา กระบวนการ/กิจกรรม สถานที่ งบ ประมาณ ระยะ เวลา ผลที่ต้องได้รับ การเปลี่ยนแปลง

สร้างกิจกรรมสร้างสุของค์กร เป็นกิจกรรม ที่มีการดำเนินการสร้างสุข ในหน่วยงานองค์กรอยู่แล้ว หรือ เป็นกิจกรรมใหม่ ตามแผนของหน่วยงานหรือองค์กร HAPPY WORKPLACE

เมนูแห่งความสุข Happy Menu

การนำไปใช้ประโยชน์

รู้ เข้าใจ ใช้เป็น ความสุขของคนทำงาน ความร่วมมือ องค์กรแห่งความสุข คืออะไร? หน้าตาเป็นยังไง? ความสุขของคนทำงาน คุณภาพชีวิตแรงงาน ต้องปลอดภัย ไร้ทุกข์ สุขกาย สุขใจ (ใครทำ ทำอย่างไร) ความร่วมมือ ของภาคีเครือข่าย มหาวิทยาลัยแห่งความสุข คำสำคัญมี 3 คำ

องค์กรแห่งความสุข 2558 : Happy Workplace 2015 ความสุข กับ ความผูกพันองค์กร Happiness & Engagement

ความผูกพัน : ร้อยละของผู้ที่ปฎิเสธไม่ย้ายที่ทำงาน เมื่อมีโอกาสเปลี่ยนสถานที่ทำงาน

เเส้นทางสู่ “องค์กรสุขภาวะ” อยู่ดี กินดี ชีวีปลอดภัย ชีวิตสดใส เต็มไปด้วย ความสุข