งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วิสัยทัศน์การจัดการความรู้ กรมชลประทาน กรมชลประทานมุ่งจัดการ ความรู้ สู่องค์กรแห่งการเรียนรู้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วิสัยทัศน์การจัดการความรู้ กรมชลประทาน กรมชลประทานมุ่งจัดการ ความรู้ สู่องค์กรแห่งการเรียนรู้"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วิสัยทัศน์การจัดการความรู้ กรมชลประทาน กรมชลประทานมุ่งจัดการ ความรู้ สู่องค์กรแห่งการเรียนรู้

2 สาร CKO ( นายเลิศวิโรจน์ โกวัฒนะ ) อธิบดีกรมชลประทาน

3 การจัดการความรู้สู่อนาคตการ เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ เป็น เครื่องมือสำคัญของพวกเราชาว ชลประทานทุกคน ในการบรรลุ เป้าหมายขององค์กรทั้งในด้าน การ พัฒนาตนเอง การพัฒนางาน และ การพัฒนากรมชลประทานให้ เจริญก้าวหน้ายิ่งๆขึ้นไป รวมทั้งการ รักษาความเป็นหมู่คณะที่มีความรัก ความสามัคคี เอื้ออาทรซึ่งกันและกัน อันจะก่อประโยชน์สร้าง ความสามารถในการยกระดับการ บริหารจัดการน้ำในภารกิจของกรม ชลประทาน ให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น อย่างต่อเนื่อง และรักษาเกียรติภูมิ ศักดิ์ศรี ชื่อเสียงของกรมชลประทาน ไว้

4 ผมขอความร่วมมือพวกเราชาว ชลประทานทุกคน ช่วยกันสร้าง วัฒนธรรมการเรียนรู้ ทั้งการพัฒนา ตนเองอย่างต่อเนื่อง การแลกเปลี่ยน เรียนรู้ระหว่างกัน เรียนรู้ร่วมกันเป็น ทีม และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อสร้างนวัตกรรมให้เกิดขึ้นทั่วทั้ง องค์กร ด้วยบรรยากาศการเรียนรู้ที่ ผู้บริหารในทุกระดับ ทุกสำนัก / กอง ให้ความสำคัญและสนับสนุนอย่าง ต่อเนื่อง อันจะเป็นประโยชน์ทั้งใน ปัจจุบันและในอนาคตของกรม ชลประทานที่พวกเราทุกคนมีความ ภาคภูมิใจ

5 ยุทธศาสตร์การ จัดการความรู้ 1. พัฒนาบุคลากรให้มีองค์ความรู้ด้านการ จัดการความรู้ สร้างบรรยากาศ และวัฒนธรรมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 2. บูรณาการกระบวนการจัดการความรู้ให้ สอดคล้องกับการทำงาน 3. พัฒนาองค์ความรู้และการสร้างนวัตกรรม สนับสนุนภารกิจกรมชลประทาน 4. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและ ฐานข้อมูลให้มีประสิทธิภาพ 5. พัฒนาเครือข่ายการจัดการความรู้

6 วัฒนธรรมการจัดการ ความรู้ 1. พัฒนาตนเองอย่าง ต่อเนื่อง 2. เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม 3. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4. คิดริเริ่มสร้างสรรค์

7 การจัดการความรู้ ประกอบด้วย 2 กระบวนการ หลัก (13 ขั้นตอน ) 1. กระบวนการจัดการความรู้ KM Process (KMP) ดังนี้ 1.1 การบ่งชี้ / เลือกความรู้ 1.2 การ สร้างและแสวงหาความรู้ 1.3 การจัดเก็บความรู้ให้เป็นระบบ 1.4 การ ประมวลและกลั่นกรองความรู้ 1.5 การเข้าถึงความรู้ 1.6 การ แบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ 1.7 การเรียนรู้

8 2. กระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลง Change Management Process (CMP) ดังนี้ 2.1 การเตรียมการและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 2.4 การฝึกอบรมและการเรียนรู้ 2.2 การสื่อสาร 2.5 การยกย่องชมเชยและให้รางวัล 2.3 กระบวนการและเครื่องมือ 2.6 การวัดผล การจัดการความรู้ ประกอบด้วย 2 กระบวนการหลัก (13 ขั้นตอน ) ( ต่อ )

9 สำนักงานจัดรูปที่ดินกลาง เลือกองค์ความรู้ ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติราชการตามประเด็น ยุทธศาสตร์ 2 องค์ความรู้ คือ 1. การวางแนวเขตก่อสร้างงานคันคูน้ำและจัดรูป ที่ดิน 2. การขออนุญาตแก้ไขผังแปลงที่ดิน ( ตามแบบฟอร์ม 1) และได้นำ 2 องค์ความรู้นี้มาจัดทำเป็น Action Plan 13 ขั้นตอน ( ตามแบบฟอร์ม 2) แบ่งเป็นดังนี้ KMP 7 ขั้นตอน CMP 6 ขั้นตอน


ดาวน์โหลด ppt วิสัยทัศน์การจัดการความรู้ กรมชลประทาน กรมชลประทานมุ่งจัดการ ความรู้ สู่องค์กรแห่งการเรียนรู้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google