แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
ความคาดหวังในการประชุมวันนี้
วัตถุประสงค์ ๓ 1 สร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ป้องกันการ ตั้งครรภ์ในวัยรุ่นฉบับหลัก(SRM)ปี 2560-2564 สร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ป้องกันการ ตั้งครรภ์ในวัยรุ่นปีฉบับปฏิบัติการ(SLM) 2560-2561 2 ๓ แผนปฏิบัติการ2560-2561
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ๑ ทีมพาทำ ทีมทำ ๒ ทีมสนับสนุน ๓
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ การส่งเสริมสุขภาพวัยรุ่น Goal วัยรุ่นจะได้อะไรจะเป็นอย่างไร (ใครต้องทำ)ภาคี/เครือข่าย/หุ้นส่วน/ประชาสังคม (ระบบงาน)ระบบอะไรบ้างที่จะนำไปสู่ความสำเร็จ ลักษณะการทำงานเป็นอย่างไร(PIRAB)
ความสำคัญของการจัดทำ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
ความจำเป็นของการจัดทำ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ แบบบูรณาการ 1. ปัญหาของวัยรุ่น เป็นปัญหาที่ซับซ้อน การแก้ปัญหาต้องได้รับ ความร่วมมือจากทุกฝ่าย 6. เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างภาคีและเครือข่าย 2. แผนงานมีความเชื่อมโยงในทุกระดับทุกภาคส่วน ความจำเป็นของการจัดทำ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ แบบบูรณาการ 3. เพื่อกำหนดบทบาทของภาคีและเครือข่ายร่วมกัน 5. เพื่อให้เกิดการบูรณาการทรัพยากร และงาน 4. เพื่อให้พันธกิจและยุทธศาสตร์ที่กำหนดเป็นงานของทุกคน/ทุกพื้นที่/ทุกเครือข่าย
การทำความเข้าใจ ปัญญาความเชื่อมั่น เข้าใจอะไร? เพื่ออะไร ? การทำความเข้าใจ ปัญญาความเชื่อมั่น 1. ปรัชญา แนวคิดอย่างลึกซึ้ง ในงานที่รับผิดชอบ การทำความเข้าใจ การสร้างบทบาทใหม่ 2. กลุ่มเป้าหมาย อย่างลึกซึ้ง ที่พึงประสงค์ การทำความเข้าใจ การสร้างมาตรการสังคม 3. สภาวะแวดล้อม อย่างลึกซึ้ง ที่จำเป็น
การสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (Strategic Route Map : SRM)
แนวคิดแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ เครื่องมือที่ส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามาจัดการสุขภาพด้วยตนเอง
เพื่อให้เกิดการ “เชื่อมโยงบูรณาการ” ระหว่างพื้นที่/ยุทธศาสตร์ และการจัดการอย่างมีส่วน ร่วม มุ่งสู่การทำงานแบบ หลายทิศทาง มากกว่าที่เป็น แบบแนวเดียว
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ กับการสาธารณสุขมูลฐาน
๑ การพัฒนางานสาธารณสุขมูลฐานจากรูปแบบที่เน้นการให้บริการไปเน้นที่การพัฒนา เพื่อให้ชุมชนยืนได้ด้วยตัวเอง อันหมายถึงการสร้างสุขภาพโดยประชาชนแทนการซ่อมสุขภาพด้วยบริการ
๒. ส่งเสริมให้หน่วยงานทุกระดับใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ ที่สามารถสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพของประชาชนในระดับท้องถิ่นหรือชุมชนได้ตามความเหมาะสม
๓. ให้ใช้ตัวชี้วัดของแผนที่ยุทธศาสตร์เป็นเครื่องมือในการติดตาม กำกับ ดูแลของสำนักตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข
๔. ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาความสามารถของท้องถิ่นชุมชนและกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพ ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ให้สามารถดำเนินการจัดการระบบสุขภาพชุมชนได้ด้วยการสร้างนวัตกรรม ทางกระบวนการจัดการสุขภาพ และเพิ่มทักษะการใช้ แผนที่ยุทธศาสตร์เป็นเครื่องมือบริหารการเปลี่ยนแปลง
๕. ส่งเสริมการสร้างและบริหารจัดการนวัตกรรมในทุกระดับหลากหลายรูปแบบ ทั้งนวัตกรรมบริหารจัดการ นวัตกรรมกระบวนการและรูปแบบ บริการที่ส่งผลให้ชุมชนเข้มแข็งและพึ่งตนเองได้
ทฤษฎี 3 ก. เพื่อชุมชนเข้มแข็ง กรรมการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/กองทุน 2. กระบวนการบริหารจัดการ 1.สมรรถนะขององค์กร แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ กำลังคนของชุมชน กองทุนประกันสุขภาพตำบล 3. บทบาทภาคี (รัฐและเอกชน) 18
การเชื่อมโยงมุมมองของยุทธศาสตร์การพัฒนา กระบวนการฝึกอบรม.ppt 08/04/62 การเชื่อมโยงมุมมองของยุทธศาสตร์การพัฒนา วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ ทำอะไรในการพัฒนาตนเอง ประชาชน/ชุมชน บทบาทของพันธมิตร กระบวนการบริหารจัดการ แผนที่ยุทธศาสตร์ สมรรถนะขององค์กร (คน/ข้อมูล/องค์กร) จะร่วมมือกันอย่างไร ควรเชี่ยวชาญเรื่องใด จะพัฒนาอะไร ๐๘/๐๔/๖๒ 19 19
ตั้งต้นที่วิสัยทัศน์ “ประชาชนสามารถแสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน สภาพแวดล้อมและสังคมโดยรวมได้อย่างยั่งยืน ด้วยความ ตั้งใจ เต็มใจ มีจิตสำนึกที่ดีและมีศรัทธาในการพัฒนา” หัวใจของความสำเร็จคือ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
บทบาทของประชาชนตามวิสัยทัศน์ ดูแลสุขภาพของตนเองได้ ปฏิบัติต่อสภาวะแวดล้อมประเภทต่างๆอย่างเหมาะสม ร่วมมือในการดำเนินมาตรการทางสังคม บทบาททั้งสามเป็นตัวกำหนด ยุทธศาสตร์ของภาคีต่างๆที่มีส่วนสนับสนุน กระบวนการสำคัญที่จะใช้เพื่อตอบสนอง การพัฒนาทักษะของบุคลากร ข้อมูลทางบริหารและวิชาการ การพัฒนาบริบท โครงสร้าง ผู้นำ และการทำงานเป็นทีม
แผนที่ทางเดินการพัฒนาตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว กระบวนการฝึกอบรม.ppt กระบวนการฝึกอบรม.ppt แผนที่ทางเดินการพัฒนาตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว 08/04/62 08/04/62 เข้าใจแนวคิดของการพัฒนาในปัจจุบัน เพื่อสร้างความเข้มแข็ง Strength-based Development (Output-oriented) เพื่อสนองความต้อง Need-based Development (Output-oriented) เปรียบเทียบ ผสมผสาน มองกว้าง มุ่งที่กระบวนการ เป็นการเสริมสร้าง พลังจากภายใน ยิ่งทำความสามารถยิ่งเพิ่ม (ระบบพัฒนาสังคม ?) มองแคบ เอาผลงานเป็นหลัก เห็นแต่ปัญหา รวมศูนย์จากภายนอก อยู่ในมือผู้เชี่ยวชาญ (ระบบราชการทั่วไป?) ชุมชนเปลี่ยนแปลง สู่ความยั่งยืน เกิดจิตสำนึก พึ่งตนเองได้ คุณภาพชีวิตดี สุขภาพดี เน้นผลงานไม่เน้นกระบวนการ เน้นกระบวนการ ไม่เน้นผลงาน ๐๘/๐๔/๖๒ วรรรดี จันทรฺศิริ Thapanaporn Singhagowin 22 22
ยุทธศาสตร์การสร้างสุขภาพ แนวทางใหม่ แนวทางเดิม สร้างบทบาทของประชาชน สร้างเทคโนโลยีของประชาชน สร้างแผนงานโครงการ (อปท/กองทุน) รัฐปรับเจตคติ/บทบาทของบุคลากร(ทุกฝ่าย)ให้ตอบสนอง สร้างบทบาทของบุคลากร สร้างเทคโนโลยีของบุคลากร สร้างแผนงานโครงการ บริการประชาชน
สร้างระบบการดูแลสุขภาพ สร้างความเข้มแข็งครอบครัว/ชุมชน กรอบการพัฒนาสุขภาพ สุขภาพของประชาชน ลดปัจจัยเสี่ยง สร้างปัจจัยเสริม สร้างระบบการดูแลสุขภาพ สร้างพฤติกรรมสุขภาพ การส่งเสริมสุขภาพ นโยบายสาธารณะ สิ่งแวดล้อมที่เอื้อ สร้างความเข้มแข็งครอบครัว/ชุมชน พัฒนาทักษะส่วนบุคคล ปรับระบบบริการ วรรณดี จันทรศิริ 24 วรรณดี จันทรศิริ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ปัจจัยสู่ความสำเร็จในการสร้างบทบาทของประชาชน การสร้างบทบาท ใหม่ของคนในสังคม สอดรับกันด้วย แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ 1. สมรรถนะขององค์กร 2.กระบวนการบริหารจัดการ 3.บทบาทของภาคี
ประชาชน/ชุมชนมี บทบาทร่วมในการพัฒนา องค์ประกอบของการพัฒนาสุขภาพประชาชน ประชาชน/ชุมชนมี บทบาทร่วมในการพัฒนา ภาคีเครือข่ายมีบทบาทที่เข้มแข็ง การบริหารจัดการดี พื้นฐานองค์กร/ชุมชนแข็งแรง
กลยุทธ์การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชน 1 อบรมแผนที่ ยุทธศาสตร์/จัดการ นวัตกรรม จัดระบบวางแผนสุขภาพชุมชน จัดระบบสื่อสาร 3 สร้างนวัตกรรมกระบวนการ PP /รูปแบบประกันสุขภาพโดยท้องถิ่น 2 ใช้กลยุทธ์พัฒนาบทบาทประชาชน สร้างและบริหารเครือข่าย จัดระบบข้อมูล 27
มุมมองในแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ๐๘/๐๔/๖๒ มุมมองเชิงคุณค่า (ประชาชน) มุมมองผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (ภาคี) มุมมองการบริหารจัดการ(กระบวนการ) มุมมองการเรียนรู้และพัฒนา(รากฐาน)
มุมมองเชิงคุณค่า (ประชาชน) ประชาชนทุกคน ครอบครัว ชุมชน/สังคม
มุมมองผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (ภาคี) องค์กรภาครัฐ องค์กรเอกชน ท้องถิ่น ประชาสังคม
มุมมองการบริหารจัดการ(กระบวนการ) การบริหารจัดการที่จะนำไปสู่ความสำเร็จ
มุมมองการเรียนรู้และพัฒนา(รากฐาน) คน ข้อมูล บรรยากาศ/ในชุมชน
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ประชาชน ภาคี กระบวน พื้นฐาน
องค์กรที่จะใช้ยุทธศาสตร์ (เจ้าภาพ)
คนวัยทำงาน วัยทองมีลักษณะอย่างไร ความคาดหวัง การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยทำงาน วัยทองภายใน 4 ปี ท่านอยากเห็น......................... คนวัยทำงาน วัยทองมีลักษณะอย่างไร และบทบาทอย่างไร ๐๘/๐๔/๖๒
ความคาดหวัง การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ท่านอยากเห็นวัยรุ่นเป็นอย่างไร วัยรุ่น มีลักษณะอย่างไร และบทบาทอย่างไร
1 2 3 4 5 6 7 เปิดงาน ใช้ ขั้นตอนการสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์ กำหนดจุดหมายปลายทาง 2 สร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ 3 สร้าง ใช้ สร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) 4 สร้างนวัตกรรม / ตัวชี้วัด 5 6 สร้างแผนปฏิบัติการ (Mini-SLM) 7 เปิดงาน
ขั้นตอนการสร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ 2.กำหนดจุดหมายปลายทาง เราจะไปไหน? 3. เขียนแผนที่การเดินทางไปสู่จุดหมายปลายทาง 1.วิเคราะห์สถานการณ์ เราอยู่ที่ไหน?
วิสัยทัศน์ วัยรุ่นมีความตระหนักในคุณค่าของตัวเอง มีเป้าหมายในชีวิต มีทักษะปฏิเสธ รู้จักวิธี หลีกเลี่ยงและป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ รู้วิธีการป้องกันการตั้งครรภ์ และอยู่ใน ครอบครัวที่เข้มแข็ง
ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์/บริบท
ภาคี ประชาชน พื้นฐาน กระบวนการ สิ่งที่ดี สิ่งที่ดี ขั้นตอนการทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(Strategic Map) 1. วิเคราะห์สถานการณ์ สิ่งที่ดี สิ่งที่ไม่ดี สิ่งที่อยากเห็น(ประชาชนจะได้อะไร / จะต้องมีอะไร / จะต้องแสดงบทบาทอะไร) สิ่งที่ดี สิ่งที่ไม่ดี กระบวนการ / การบริหารจัดการขององค์กร ที่จะทำให้ภาคีแสดงบทบาทได้ ประชาชน กระบวนการ วิเคราะห์ สถานการณ์ สิ่งที่ดี/สิ่งที่ไม่ดี สิ่งที่ต้องการเห็นหรือสิ่งที่องค์กรต้องเตรียมให้พร้อม(องค์กรจะเข้มแข็งต้องอาศัยอะไรเป็นพื้นฐาน) ภาคี พื้นฐาน มีภาคีอะไรบ้าง / เป็นอย่างไร สิ่งที่อยากเห็นเราคาดหวังให้ภาคี(แต่ละส่วน)แสดงบทบาทอะไร
ขั้นที่ 2. กำหนดจุดหมายปลายทาง
ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ผังจุดหมายปลายทาง การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ภายในปี พ.ศ. 2560 -2564 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) วัยรุ่นมีความตระหนักและมีทักษะการป้องกันการตั้งครรภ์ วัยรุ่นมีความภาคภูมิใจเชื่อมั่นในตนเองและมีจิตอาสา 3. ครอบครัวมีการเฝ้าระวังพฤติกรรมวัยรุ่น 4. ชุมชนมีแผนงาน/โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
ระดับภาคี(มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) ผังจุดหมายปลายทาง การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ภายในปี พ.ศ. 2560 -2564 ระดับภาคี(มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) 1. ศธ. มีนโยบายและแนวทางการสอนเพศศึกษาที่ชัดเจน 2. สธ. สนับสนุนวิชาการ บุคลากรและบริการที่เป็นมิตร แก่วัยรุ่น 3.กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นฯ อปท. มี ความ ตระหนักปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นบรรจุใน แผนพัฒนาตำบลและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอ และต่อเนื่อง 4.แกนนำเครือข่ายชุมชน แกนนำผู้ปกครองมีส่วนร่วมใน การดำเนินงาน 5.พม.ส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการและสวัสดิการ 6. หน่วยงานภาครัฐและเอกชน/ประชาสังคม/ท้องถิ่น บูรณาการงานร่วมกัน
ระดับกระบวนการ (มุมมองเชิงบริหารจัดการ) ผังจุดหมายปลายทาง การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ภายในปี พ.ศ. 2560 -2564 ระดับกระบวนการ (มุมมองเชิงบริหารจัดการ) มีหน่วยงานเจ้าภาพหลักในการดำเนินงาน วัยรุ่น 2. มีระบบการติดตามและประเมินผลที่เป็นแนวทางเดียวกัน 3. มีระบบการบริหารจัดการภาคีเครือข่าย 4. มีระบบการสื่อสารที่เป็นรูปธรรม
ระดับพื้นฐาน (มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา) ผังจุดหมายปลายทาง การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ภายในปี พ.ศ. 2560 -2564 ระดับพื้นฐาน (มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา) 1. ระบบข้อมูลที่ถูกต้อง ทันสมัย เข้าถึงได้ง่าย 2. บุคลากรมีสมรรถนะแบบมืออาชีพ 3. องค์กรมีวัฒนธรรมที่เอื้อต่อการทำงาน
ผังจุดหมายปลายทาง การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ภายในปี พ. ศ ผังจุดหมายปลายทาง การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ภายในปี พ.ศ. 2560 -2564 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) 1 วัยรุ่นมีความตระหนัก และมีทักษะการ ป้องกันการตั้งครรภ์ 2. วัยรุ่นมีความภาคภูมิใจ เชื่อมั่นในตนเอง และมีจิตอาสา 3. ครอบครัวมีการเฝ้าระวังพฤติกรรมวัยรุ่น 4. ชุมชนมีแผนงาน/โครงการป้องกันการ ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ระดับภาคี (มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) 1. ศธ. มีการจักกระบวนการสอนเพศวิถี 2. สธ. สนับสนุนวิชาการ บุคลากร และบริการที่เป็น มิตรแก่วัยรุ่น 3. ท้องถิ่น ฯ อปท. บรรจุในแผนพัฒนาตำบล และ สนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงและต่อเนื่อง 4. แกนนำเครือข่ายชุมชน แกนนำผู้ปกครองมีส่วน ร่วมในการดำเนินงาน 5. พม.ส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการและสวัสดิการ 6. หน่วยงานภาครัฐและเอกชน/ประชาสังคม/ ท้องถิ่นบูรณาการงานร่วมกัน ระดับกระบวนการ (มุมมองเชิงบริหารจัดการ) 1. มีหน่วยงานเจ้าภาพหลักในการดำเนินงาน วัยรุ่น 2. มีระบบการติดตามและประเมินผลที่เป็น แนวทางเดียวกัน 3. มีระบบการบริหารจัดการภาคีเครือข่าย 4. มีระบบการสื่อสารที่เป็นรูปธรรม ระดับพื้นฐาน (มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา) 1. ระบบข้อมูลที่ถูกต้อง ทันสมัย และเข้าถึงได้ง่าย 2. บุคลากรมีสมรรถนะแบบมืออาชีพ 3. องค์กรมีวัฒนธรรมที่เอื้อต่อการทำงาน
ขั้นที่ 3. การสร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นภายใน พ.ศ.2560-2564
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นภายในปี พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๖๔ วัยรุ่นมีความตระหนักและมีทักษะในการป้องกันการตั้งครรภ์ ส่งเสริมกิจกรรมสร้างค่าทางเพศ กระบวนการจัดการความรู้ ส่งเสริมทักษะการป้องกันการตั้งครรภ์ สร้างค่านิยมขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีงาม ครอบครัวมีการเฝ้าระวังพฤติกรรมฯ สร้างเครือข่ายของครอบครัว มีความรู้ความเข้าใจธรรมชาติของวัยรุ่น สร้างครอบครัวเข้มแข็ง ชุมชนมีแผนงานโครงการฯ นวัตกรรม มีการเฝ้าระวังพฤติกรรมทางเพศของวัยรุ่นในชุมชน สร้างความตระหนัก สร้างพื้นที่และส่งเสริมกิจกรรมสร้างสรรค์ในชุมชม มีมาตรการทางสังคม ระดับประชาชน (Valuation) ศธ.จัดกระบวนการสอนเพศวิถี ปรับปรุงหลักสูตรการเรียนการสอน พัฒนาคลากรสอนเพศศึกษา พัฒนาโรงเรียนต้นแบบ สธ. สนับสนุนวิชาการและบุคลากรฯ จัดบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย สนับสนุนวิชาการ อปท. / แกนนำเครือข่ายชุมชน/แกนนำผู้ปกครองมีส่วนร่วมฯ จัดทำแผนแบบบูรณาการป้องกันการตั้งครรภ์ พัฒนาศูนย์การเรียนรู้ในท้องถิ่น สนับสนุนการสร้างพื้นที่และกิจกรรมสร้างสรรค์ในชุมชน พม./หน่วยงานภาครัฐและเอกชน/เครือข่ายเยาวชน/ท้องถิ่น บรูณาการฯ สนับสนุนให้เกิดโครงการเป็นรูปธรรม ติดตามตรวจสอบและประเมินผล เป็นเจ้าภาพหลักและประสานภาคีเครือข่าย (Stakeholder) ระดับภาคี มีระบบการบริหารภาคีเครือข่าย มีหน่วยงานเจ้าภาพหลัก สร้างการมีส่วนร่วมแบบบูรณาการ แสวงหาความต้องการ มีนวัตกรรม/องค์ความรู้ที่มีประสิทธิภาพ มีการจัดการความรู้ มีคลังความรู้ มีนวัตกรรม มีระบบติดตามและประเมินผล พัฒนาระบบกำกับติดตาม ประเมินผล มีการจัดการความรู้ จัดทำข้อเสนอเพื่อพัฒนา/ แก้ไข ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น มีระบบสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาช่องทางสร้างสื่อสารสาธารณะ พัฒนาสื่อบุคคล เนื้อหา สื่อการเรียนรู้ ให้เข้าถึงวัยรุ่น ระดับกระบวนการ ระบบข้อมูลที่ถูกต้องทันสมัย เข้าถึงได้ง่าย เพิ่มช่องทางในการเข้าถึงและการเผยแพร่ข้อมูล พัฒนาฐานข้อมูลให้ถูกต้องทันสมัยครบถ้วน บุคลากรมีสมรรถนะ แบบมืออาชีพ -พัฒนาศักยภาพบุคลากร ส่งเสริมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง องค์กรมีวัฒนธรรมที่ เอื้อต่อการทำงาน สนับสนุนทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ต้องเรียนรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง ผู้บริการต้องมีระบบความคิดแบบบูรณาการ ระดับ พื้นฐาน
ขั้นที่ 4. การสร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ฉบับปฏิบัติการ(SLM) ภายใน.2561
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นฉบับปฏิบัติการ(SLM) ภายในปี พ.ศ.2561 วัยรุ่นมีความสามารถในการป้องกันการตั้งครรภ์ วัยรุ่นมีความตระหนักและ มีทักษะในการป้องกันการตั้งครรภ์ ส่งเสริมทักษะการป้องกันการตั้งครรภ์ KPI : อัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นลดลง 13 ชุมชนมีแผนงาน โครงการฯ นวัตกรรม สร้างพื้นที่และส่งเสริม กิจกรรมสร้างสรรค์ในชุมชม KPI : มีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศลดลง 12 ครอบครัวมีการเฝ้าระวังพฤติกรรมฯ สร้างเครือข่ายของครอบครัว KPI :จำนวนเครือข่ายครอบครัว 11 ระดับประชาชน(Valuation) อปท. / แกนนำเครือข่ายชุมชน/แกนนำผู้ปกครองมีส่วนร่วมฯ จัดทำแผนแบบบูรณาการป้องกันการตั้งครรภ์ KPI : จำนวนแผนงานโครงการที่ได้รับงบประมาณ 11 ศธ.มีนโยบายและแนวทางการสอนเพศศึกษาฯ ปรับปรุงหลักสูตรเพศศึกษา KPI : เด็กมีทักษะในการป้องกันการตั้งครรภ์ 9 สธ. สนับสนุนวิชาการ บุคลากร บริการฯ จัดบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น ห้ครอบคลุมทุกพื้นที่ KPI : จำนวนเด็กที่เข้าถึงบริการ 10 พม./หน่วยงานภาครัฐและเอกชน/เครือข่ายเยาวชน/ท้องถิ่น บรูณาการฯ สนับสนุนให้เกิดโครงการให้เป็นรูปธรรม KPI : จำนวนเด็กที่เข้าร่วมในโครงการ 8 ระดับภาคี(Stakeholder) มีระบบสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบการสื่อสารให้เข้าถึงวัยรุ่น KPI : วัยรุ่นมีทักษะรู้เท่าทันสื่อ 6 มีระบบการบริหารภาคีเครือข่าย สร้างการมีส่วนร่วมแบบบูรณาการ KPI : จำนวนแผนงานโครงการ 5 มีนวัตกรรม/องค์ความรู้ ที่มีประสิทธิภาพ มีการจัดการความรู้ KPI : มีนวัตกรรม 7 ระดับกระบวนการ มีระบบติดตามและประเมินผล พัฒนาระบบกำกับติดตามประเมินผล KPI : ระบบการติดตามประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ 4 บุคลากรมีสมรรถนะ แบบมืออาชีพ -พัฒนาศักยภาพบุคลากร KPI : บุคลากรมีทักษะและมีสมรรถนะ 3 องค์กรมีวัฒนธรรมที่ เอื้อต่อการทำงาน สนับสนุนทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง KPI : มีโครงการระหว่างภาคี 2 ระบบข้อมูลที่ถูกต้อง ทันสมัยเข้าถึงได้ง่าย พัฒนาฐานข้อมูล KPI : มีระบบที่ถูกต้องทันสมัยเข้าใจได้ง่าย 1 ระดับพื้นฐาน
ขั้นตอนที่ 5 การทำแผนปฏิบัติ การสร้างนวัตกรรม ตัวชี้วัด
ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ระดับประชาชน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัด ผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบ รอง 2. ครอบครัวมี ความรู้ ความ เข้าใจ อนามัย การเจริญพันธุ์ใน วัยรุ่น พัฒนาและ เสริมสร้าง สัมพันธภาพที่ดี ในครอบครัว -จัดให้มีวัน ครอบครัวใน ระดับชุมชนตาม บริบทชุมชน(ทุก อาทิตย์) -รณรงค์ให้ ครอบครัวมี กิจกรรมร่วมกัน ในวันสำคัญ ต่างๆ -สรรหาและเชิด ชูครอบครัว อบอุ่นในชุมชน -สร้างโรงเรียน พ่อแม่ ในชุมชน (เพศศึกษา/การ สื่อสารกับวัยรุ่น) จำนวน ครอบครัวที่มี ความอบอุ่นตาม เกณฑ์ของ ชุมชนที่กำหนด กระทรวงการ พัฒนาสังคมฯ (พม.) - ศธ. - สธ. - พม. - วธ. มท. (กระทรวง มหาดไทย) 54