นำเสนอผลงานวิชาการ เรื่อง การพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบ สำหรับนักเรียน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการนำเข้าและการส่งออกของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการตลาด โดยใช้แบบฝึกด้วยเทคนิคการเขียนแผนผังความคิด.
Advertisements

ผู้เสนอ นางประภัสสร แก้วประสาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
พัฒนศักดิ์ จิณะวงค์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Brain- Based Learning ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3/1 สาขาการขาย.
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง
นายภิรักษ์ คำศรี ชื่อผลงานวิจัย : ชื่อผู้วิจัย :
นางสาวปุณณภา ฉัตรเดชาพล
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่องวิจัย การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการจำต่อวิชา ฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น ระหว่างการเรียนแบบปกติและการเรียนรู้ โดยใช้แบบฝึกหัดแผนที่ความคิด.
การศึกษาผลการเรียนรู้ด้านการพิมพ์ไทยด้วย คอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี The education.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ผู้เสนอ นางสาวนิภาพร วิริยะประกอบ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)


ชื่อเรื่องวิจัย: พัฒนาการของการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ
นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล
การพัฒนาทักษะการคำนวณเรื่องระบบเลขฐาน โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา.
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
นางปัจณี บุญส่งสวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
อาจารย์ประจำสาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นายหิรัญญพงษ์ โอวัฒนา โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
โดย อาจารย์ วิลาวัณย์ ลีลารัตน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ที่เรียน จากการจัดกิจกรรมการเรียน โดยใช้การจัดลำดับ.
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ที่เรียน จากการจัดกิจกรรมการเรียน โดยใช้การจัดลำดับ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ จังหวัดระยอง จังหวัดระยอง ชื่อผู้วิจัย / สถาบัน นายวัชรพล พรมโคตร.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
นางจินดาพร พูล สวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการจัดการ สำนักงาน ของ นักศึกษาระดับ ปวส. 1 เรื่อง.
การพัฒนาความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียนโดย การชมนิทรรศการในงาน BBC’s Educa Talent Contest 2014 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 สาขางานภาษาต่างประเทศ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
วัตถุประสงค์การวิจัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
นางสาวสุภาวดี นุกุลเสาวลักษณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ 2559
การนำเสนอผลงานการวิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
การนำเสนอผลงานวิจัยและนวัตกรรมสื่อการสอนทางอาชีวศึกษา ครั้งที่ 8
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
ผู้วิจัย นายณัฐภูมิ จาระธรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นำเสนอผลงานวิชาการ เรื่อง การพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบ สำหรับนักเรียน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 นำเสนอโดย รุ่งทิพย์ เกิดมีเงิน วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจสมุทรปราการ

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาการวิจัย 6. ช่วยให้วัยรุ่นเปิดรับข้อมูลข่าวสารอย่างมีเหตุผล 1. เป็นจุดมุ่งหมายของการศึกษา 5. เป็นเครื่องมือสำหรับการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 2. เป็นทักษะที่สำคัญสำหรับการดำรงชีวิต ความสำคัญของการคิดวิจารณญาณ 4. ทำให้ผู้เรียนแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. เป็นสิ่งจำเป็นในการพัฒนากระบวนการคิดและตัดสินใจอย่างมีเหตุผล

วัยรุ่นเปิดรับข้อมูลข่าวสารและใช้เทคโนโลยีโดยไม่ผ่านการคิดไตร่ตรองอย่างรอบคอบ ขาดเหตุผล และขาดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ปัญหาที่พบ ข้อมูลจากฝ่ายกิจการนักเรียน/นักศึกษาของวิทยาลัยฯ พบว่านักเรียนมีพฤติกรรมที่ยังเป็นปัญหาต่อตนเอง และสังคมไม่ว่าจะเป็นปัญหายาเสพติด ปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร ซึ่งทำให้นักเรียนส่วนหนึ่งต้องลาออกกลางคันจากปัญหาดังกล่าว หลักสูตรมุ่งเน้นไปที่ทักษะในการจัดการและพัฒนาอาชีพให้สอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจและสังคม ขาดการเน้นทักษะการคิด

แนวทางการแก้ไข กระบวนการจัดการจัดการเรียนรู้ พบว่า ครู นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 การจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบ ผู้วิจัยมีความสนใจ การคิดวิจารณญาณหรือไม่ อย่างไร การจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคหมวกหกใบ ปัญหาการวิจัย

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบ 2. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 1 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบ

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 ของวิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจสมุทรปราการ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 จำนวน 240 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 ห้อง 6 วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจสมุทรปราการ กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 จำนวน 40 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่มโดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยการสุ่ม

วิธีดำเนินการวิจัย สอบก่อนเรียน ทดลอง สอบหลังเรียน O1 X O2 การวิจัยในครั้งนี้ เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง (Quasi Experimental Research) แบบ One-Group pretest-posttest design คือ มีกลุ่มตัวอย่าง 1 กลุ่ม (ทิวัตถ์ มณีโชติ. 2549 : 85) ดังตาราง สอบก่อนเรียน ทดลอง สอบหลังเรียน O1 X O2 สัญลักษณ์ที่ใช้ในแบบแผนการทดลอง X แทน การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบ O1 แทน การสอบก่อนเรียน O2 แทน การสอบหลังเรียน และแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบ

คะแนนการคิดวิจารณญาณ ตารางการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย คะแนน ในการคิดวิจารณญาณระหว่างก่อนกับหลังการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบ คะแนนการคิดวิจารณญาณ n X S.D. t Sig. คะแนนก่อนการจัดการเรียนรู้ 40 14.55 3.73 10.511* .000 คะแนนหลังการจัดการเรียนรู้ 17.52 3.63 *มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากตาราง พบว่านักเรียนมีคะแนนการคิดวิจารณญาณ เฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ 14.55 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3.73 และคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนเท่ากับ 17.52 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3.63 แสดงให้เห็นว่า นักเรียนมีการคิดวิจารณญาณหลังได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบ สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้

ตารางแสดงผลการประเมินแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียน ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบ รายการประเมิน X S.D. ระดับความคิดเห็น - โดยภาพรวม 1. ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 2. ด้านเนื้อหาสาระการเรียนรู้ 3. ด้านสื่อประกอบการจัดการเรียนรู้ 4. ด้านการวัดและประเมินผล 5. ด้านบทบาทและความสามารถของครูผู้สอน 4.63 4.60 4.73 4.65 4.42 4.74 0.11 0.06 0.13 0.07 0.08 มากที่สุด มาก

1. นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบ มีการคิดวิจารณญาณหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ สรุปผล การวิจัย 2. นักเรียนมีความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบ ในระดับเห็นด้วยมากที่สุด มีคะแนนเฉลี่ย 4.63 เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดคือ ด้านบทบาทและความสามารถของครูผู้สอน 4.74 รองลงมาคือ ด้านเนื้อหาสาระการเรียนรู้ 4.73 และน้อยที่สุดคือ ด้านการวัดและประเมินผล 4.42

ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ 1.1 ผู้วิจัยพบว่า การฝึกให้นักเรียนได้เรียนรู้ตามกระบวนการนี้ต้องใช้เวลามากในระยะแรก ฉะนั้นควรเพิ่มเวลาในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในการปูพื้นฐานของนักเรียน ให้นักเรียนคุ้นเคยกับการจัดการเรียนรู้แบบนี้ในระยะเริ่มต้น 1.2 ครูหรือผู้ที่สนใจจะใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบในรายวิชาใดก็ตาม ไม่ควรเร่งรีบ หรือจำกัดเวลาในการคิด 1.3 ในการจัดการเรียนการสอนแต่ละครั้ง ครูควรเพิ่มกิจกรรมที่เน้นให้นักเรียนได้ฝึกคิดตามสถานการณ์ต่างๆ ให้มากยิ่งขึ้น เพื่อฝึกฝนตนเองในทักษะชีวิตอย่างถูกต้องเหมาะสม อีกทั้งยังทำให้นักเรียนมีทักษะที่สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันมากยิ่งขึ้น ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการทำวิจัยครั้งต่อไป 2.1 ควรมีการวิจัยโดยประยุกต์ใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบสำหรับนักเรียนชั้นอื่นๆ 2.2 ควรเพิ่มกลุ่มเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มที่ไม่ได้ทดลองจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบ 2.3 ควรศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบที่มีต่อตัวแปรอื่นๆ เช่น การคิดวิเคราะห์ การคิดแก้ปัญหา เป็นต้น

จบการนำเสนอ ขอขอบคุณทุกท่าน