นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล “คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
John Rawls  John Rawls is the most famous American social contract theorist argued that “Justice is fairness” He Thought human natural have a appropriate.
Advertisements

การตรวจสอบภายในที่ไม่ใช่การจับผิด ทำอย่างไร ?
Performance Management and appraisal systems
ครูปัทมา แฝงสวัสดิ์. การอ่านเรื่องงานแล้ว บอกรายละเอียดและ สาระสำคัญ.
Customer Relationship Management (CRM)
Establishing a Culture of Achievement: Multiliteracies in the ELT Classroom Session #2: 27 July 2012.
Indirect Question word
ธีรนารถ Jan Experiences in GMP Inspection in WHO Vaccine Prequalification Scheme ธีรนารถ จิวะไพศาลพงศ์ กองชีววัตถุ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
Green Products & Services
สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนา หลักประกันสุขภาพไทย Health Insurance System Research Office Social Protection Floor: Situation and Way Forward Thaworn Sakunphanit.
Practice File. Our Executive Coaching Program is proven effective. Our customer survey show ROI of coaching can be as high as 3 times the investment value.
คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
D 2 E 1 S E M N G ม. I G I T Grammar A L 4.0.
การจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan - IDP
เป็นกระบวนการเรียนรู้ ไม่ใช่การตรวจสอบ
เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติเพื่อองค์กรที่เป็นเลิศ
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมเจ้าท่า
Knowledge Audit and Analysis
การพัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์ เพื่อเข้าสู่ Industry 4.0
การออกแบบอีเลิร์นนิง
แนวคิดการพัฒนาคุณภาพ การประกันคุณภาพการพยาบาล
คิดไว สรุปไว ด้วย MIND MAP ยินดีต้อนรับผู้เข้าร่วมสัมมนาหลักสูตร
โดย นางกองแก้ว ย้วนบุญหลิม หัวหน้าหน่วยวิชาการพยาบาล
1. นี่เป็นสิ่งที่พระเยซูทรงทำ พระองค์ทรงรักษาทุกคน ที่เจ็บป่วยให้หายดี
Framework for Evaluation & Sharing
The Balanced Scorecard & KPI
คุณภาพแบบเรียบง่าย ผ่อนคลายด้วย SPA
ระยะการเปลี่ยนแปลง &การสัมภาษณ์เพื่อสร้างแรงจูงใจ
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
Preventive Internal Control Training And Workshop
PCT / ระบบสำคัญ : ใช้ Cycle of Learning ในการหมุน PDSA
ระบบการดูแลระยะยาว (Long Term Care: LTC) เขต 9
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance)
หมวด ๒ กลยุทธ์.
การประเมินความจำเป็นด้านสุขภาพ Health Needs Assessment - HNA
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
โดยสรุป 10 ขั้นตอนในการ implement
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
นวัตกรรมการบริการสารสนเทศ ในยุคประเทศไทย 4.0
รศ.ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์
Direct Speech Vs Indirect Speech
Thailand Standards TMC.WFME.BME. Standards (2017)
การสร้างการเรียนรู้การใช้ SPA in Action เพื่อจุดประกายการพัฒนาคุณภาพ
นายวุฒิศักดิ์ รักเดช นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ 8 มีนาคม2559
ชี้แจงแนวทางการประเมินส่วนราชการ ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ
FOOD AND BEVERAGE SERVICE CHIANG RAI VOCATIONAL COLLEGE
Review of the Literature)
คำเทศนาชุด: ท่านมีของประทาน
ผลิตภัณฑ์กรมอนามัย (10 Product Champion)
Risk Management in New HA Standards
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
นโยบายแห่งชาติด้านยาของไทย
ที่มาและหน่วยงานกาชาดต่างๆ
UHC : Universal Health Coverage: Achieving Social Protection for All
Public Health Nursing/Community Health Nursing
แล้วไงเกี่ยวกับความจริง What About Truth?
Inventory Control Models
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 5
Medical Communication/Counseling Training for the “Trainers” คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ธันวาคม 2558.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการบูรณาการภาครัฐและเอกชนในการจัดยุทธศาสตร์เศรษฐกิจภาคตะวันออก This template can be used as a starter file to give updates for.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
Program Evaluation Achakorn Wongpreedee, Ph.D.
กลยุทธ์การทดสอบซอฟต์แวร์ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
Big data management for health Care Utilization in community / public Health Mr.Prapunchock Sanachoo (R.N, M.N.S) 12 July 2019.
สารสนเทศศาสตร์เบื้องต้น
Framework for Evaluation & Sharing
ขั้นตอนการทำเรื่องการเรียนรู้ร่วมการทำงาน (พ.ค. – ก.ย. 62 )
ภาพรวมของ CLT/PCT สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤษภาคม 2561.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล “คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม” HACC Forum นครชัยบุรินทร์ ครั้งที่ 11 “คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม” สุรสัมนาคาร เทคโนโลยีสุรนารี 17 พฤศจิกายน 2560 08.45-10.00 น.

ผู้นำกับการพัฒนาคุณภาพแบบฉบับ HA 1 คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม 2 ดูแลความเป็นคน วัฒนธรรมการมุ่งเน้นผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง 3 ดูแลความป่วยไข้ วัฒนธรรมคุณภาพและความปลอดภัย 4 ระบบเพื่อการดูแลอย่างคุ้มค่า 5 คุณธรรม 6 คนทำงาน กับวัฒนธรรมการเรียนรู้

ผู้นำกับการพัฒนาคุณภาพแบบฉบับ HA 1 Value หมายถึงอะไร คุณค่า คือ ความมีประโยชน์จากภายใน ที่ไม่อาจจะวัดได้ด้วยสายตาและราคา คุณค่า vs มูลค่า มูลค่า คือ การประเมินราคาที่ควรจ่าย กับสิ่งที่เรามองเห็นและตัดสิน

ผู้นำกับการพัฒนาคุณภาพแบบฉบับ HA 1 High Value Healthcare คน SOCIAL OBJECTIVES Patient Centered: เข้าถึงง่าย บุคลากรสื่อสารดี มีความรู้และทักษะ ให้เวลาที่จะตอบสนองความต้องการของผู้ป่วย (patient centeredness, accessibility, timeliness) ไข้ คุ้ม CLINICAL OBJECTIVES Clinically Effective: ก่อให้เกิดผลลัพธ์ทางคลินิกที่มีความสำคัญต่อผู้ป่วย ต่อชุมชน และต่อผู้จ่ายเงิน (effectiveness, appropriateness, safety) ECONOMIC OBJECTIVES Cost Effective: คุ้มค่ากว่าเมื่อเทียบกับทางเลือกอื่น เพราะขจัดความสูญเปล่าออกจากกระบวนการทำงาน (efficiency)

ผู้นำกับการพัฒนาคุณภาพแบบฉบับ HA 1 คุณภาพบริการสาธารณสุข องค์ความรู้ คุณธรรมและจริยธรรมวิชาชีพ ตอบสนองความต้องการและความคาดหวัง มนุษย์ สังคม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี อื่นๆ ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2552

1 คุณภาพ ดูคน คุณธรรม ดูไข้ คุณค่า ดูคุ้ม

1 คุณภาพ คุณธรรม High Value Social Objective Clinical Objective Economic Objective High Value

1 คุณภาพ Spiritual คุณธรรม Science System High Value

1 วัฒนธรรม (Culture) สามารถตอบสนอง ต่อสถานการณ์ต่างๆ โดยอัตโนมัติ วัฒนธรรมคือการสร้างรหัสพันธุกรรม ที่ฝังตัวอยู่ในองค์กร สามารถตอบสนอง ต่อสถานการณ์ต่างๆ โดยอัตโนมัติ ไม่ต้องคอยกำหนดรายละเอียดทุกขั้นตอน สามารถถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น

สร้างวัฒนธรรมการมุ่งเน้น ผู้ป่วย ครอบครัว ผู้รับผลงาน เป็นศูนย์กลาง 2 ดูแลความเป็นคน ในตัวผู้ป่วย สร้างวัฒนธรรมการมุ่งเน้น ผู้ป่วย ครอบครัว ผู้รับผลงาน เป็นศูนย์กลาง

Patient-Centered Care 2 Patient-Centered Care Source: ดร.นพ.โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์

2 มองหน้า สบตา ยิ้ม ทักทาย ไต่ถาม ตามส่ง พฤติกรรมบริการ -> มิติจิตวิญญาณ มองหน้า สบตา ยิ้ม ทักทาย ไต่ถาม ตามส่ง อยู่กับปัจจุบัน แบ่งปันพลังบวกให้ผู้ป่วย , Source: Excellence Service Behavior, ดร.นพ.สกล สิงหะ

Patient’s Pain Point (จุดจี๊ดของผู้ป่วย) 2 Patient’s Pain Point (จุดจี๊ดของผู้ป่วย) คำพูดที่ไม่ต้องการได้ยิน การรบกวนขณะรับการรักษา ความมึนงงไม่รู้จะไปทางไหน จะต้องทำอะไร ข้อมูลที่ไม่เพียงพอ ความไม่ใส่ใจต่อคำบอกเล่าของผู้ป่วย การปฏิบัติเสมือนมิใช่เพื่อนมนุษย์ การรอคอย การถูกแซงคิว ฯลฯ

คำพูดที่ผู้ป่วยไม่อยากได้ยิน 2 คำพูดที่ผู้ป่วยไม่อยากได้ยิน 1. "สมน้ำหน้า" 2. "เป็นอะไรอีกล่ะ?" 3. "จะตายรึยัง?" 4. "เมื่อไหร่จะหายเนี่ย?" 5. "นิดๆ หน่อยๆ ไม่ตายหรอก“ “ทำไมไม่มาตามนัด “ทำไมไม่กินยาตามหมอสั่ง” Source: Kuwa[R]i...BLOG

จะเปลี่ยนพฤติกรรมต้องเปลี่ยนความคิด 2 จะเปลี่ยนพฤติกรรมต้องเปลี่ยนความคิด

ตัวอย่างการโปรแกรมจิตใจเพื่อการดูแลผู้ป่วย 2 ตัวอย่างการโปรแกรมจิตใจเพื่อการดูแลผู้ป่วย สัมพันธ์ที่ดีคือภูมิคุ้มกัน: มองหน้า สบตา ยิ้ม ทักทาย ไต่ถาม ตามส่ง การฟังเรื่องเล่าของผู้ป่วยคือการเยียวยา Concern ของผู้ป่วยและญาติ คือขุมทองป้องกันความเสี่ยง เข้าหาผู้ป่วยด้วยจิตใจที่สงบเย็น และแบ่งปันพลังบวก เข้าใจ, เห็นใจ, high touch มนุษย์คือสิ่งมหัศจรรย์ของโลก ผู้ป่วยคือทูตที่ส่งสัญญาณความทุกข์ยากของมนุษย์ เราจะดูแลผู้ป่วยด้วยความสุภาพ เคารพในความเป็นมนุษย์ที่เท่าเทียมกัน ความเป็นวิชาชีพคือการดูแลด้วยความรู้ อย่างสุดความสามารถ ด้วยความระมัดระวัง

2 Patient Preference Source: www.fda.gov

2 Break the Rules ทบทวนดูว่ามีกฎระเบียบอะไรบ้าง ที่ทำให้เราไม่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ป่วยได้เท่าที่ควร สิ่งที่ปฏิบัติด้วยความเข้าใจผิด สร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง เลิกการปฏิบัติที่ไม่จำเป็น กฎระเบียบที่ไม่จำเป็นอีกต่อไป เพราะเหตุผลนั้นหมดไปแล้ว ทบทวนและยกเลิก กฎระเบียบที่มาจากภายนอก ชี้ชวนให้มีการปรับเปลี่ยน Source: Institute of Healthcare Improvement

Listen to Patient Experiences 2 Listen to Patient Experiences Patient’s diary Patient dialogue Patient shadowing Patient journey map Think Do/Get Feel Source: Caryl A. Hess, GRU

3 ดูแลความป่วยไข้ วัฒนธรรมคุณภาพ วัฒนธรรมความปลอดภัย

ผู้นำกับการพัฒนาคุณภาพแบบฉบับ HA 3 เพิ่มคุณค่าด้วยการปรับปรุงคุณภาพสู่ผลลัพธ์สุขภาพที่ดี ป้องกันการเจ็บป่วย วงรอบรวดเร็ว ภาวะแทรกซ้อนน้อย ตรวจพบได้รวดเร็ว รักษาแต่เนิ่นๆ ผิดพลาดน้อย ทำซ้ำน้อย วินิจฉัยได้ถูกต้อง ไม่ใช้วิธีรุกล้ำที่ไม่จำเป็น ไม่เจ็บป่วยเพราะการรักษา รักษาถูกวิธี ถูกคน ไม่ต่องใช้ Long Term Care ฟื้นตัวเร็ว กลับเป็นซ้ำน้อย ฟื้นตัวสมบูรณ์ ไม่ต้องมา ER ร่างกายทำหน้าที่ได้ดี โรค progress ช้า Source: Michael Porter

กับระบบบริหารคุณภาพและความปลอดภัย 3 3C-PDSA/DALI กับระบบบริหารคุณภาพและความปลอดภัย IEC Information Education Communication Trace Concepts รู้หลัก Action Measure Context รู้โจทย์ Purpose Design Learning Criteria รู้เกณฑ์ Improve

3

3 ออกแบบกระบวนการบนพื้นฐานความรู้ ปัญหา กลุ่มเป้าหมาย ขั้นตอน ที่เป็น 1 ปัญหา กลุ่มเป้าหมาย ขั้นตอน ที่เป็น priorities คืออะไร 3 ใช้หลักการออกแบบที่เน้นคน/ผู้ใช้เป็นสำคัญ 2 เรื่องนี้มีความรู้อะไร ที่เรายังไม่ได้นำมาใช้ คนที่ทำได้ดีที่สุดอยู่ที่ไหน Visual management User-centered design Human-centered design Evidence-based Tacit knowledge สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)

ผู้นำกับการพัฒนาคุณภาพแบบฉบับ HA 3 Human Centered Design Empathize Ideate Define Prototype Test Empathize รับรู้อารมณ์ร่วมกับผู้ใช้ผ่านการสังเกต มีปฏิสัมพันธ์ และร่วมรับประสบการณ์ ค้นหา insight เพื่อนำมาสู่ innovative solution มองสิ่งต่างๆ ด้วยสายตาที่สดใหม่ – empathy & human centered http://dschool.stanford.edu/

Standardize that Make Sense 3 Standardize that Make Sense เรื่องง่ายๆ ที่ไม่ควรต้องเสียเวลาคิด เรื่องที่จำเป็นต้องทำเพื่อให้เกิดความปลอดภัย เปิดโอกาสให้มึความยืดหยุ่นเพื่อตอบสนองสถานการณ์เฉพาะ Source: Institute of Healthcare Improvement

สร้างกลไกการประเมินภายในที่จำเป็น Performance Evaluation 3 สร้างกลไกการประเมินภายในที่จำเป็น -Internal customer feedback -Patient journey map/ patient shadowing Voice of Customer Process Monitoring Performance Evaluation -Compliance with CPG/care bundles -Tracer (Go & See) -Extended Evaluation Guide -Risk Register KPI -strategic objectives -center of excellence Other key performance evaluation -McKinsey Organization Assessment -work system performance/achievement -performance evaluation framework

3 Scoring Guideline Score Process Result 1 เริ่มต้นปฏิบัติ Design & early implementation มีการวัดผล Measure 2 มีการปฏิบัติได้บางส่วน Partial implementation มีการเลือกตัววัดที่ตรงประเด็น Valid measures 3 มีการปฏิบัติที่ครอบคลุมและได้ผล Effective implementation มีการใช้ประโยชน์จากตัววัด Get use of measures 4 มีการปรับปรุงกระบวนการต่อเนื่อง Continuous improvement (EI3) มีผลลัพธ์ในเกณฑ์ดี (สูงกว่าค่าเฉลี่ย) Good results (better than average) 5 มีกระบวนการที่เป็นแบบอย่างที่ดี Role model, good practices มีผลลัพธ์ที่ดีมาก (25% สูงสุด) Very good results (top quartile)

ตัวอย่างคำถามเพื่อการพัฒนาโดยใช้สูตร EI3O Evaluation “จะรับรู้การบรรลุเป้าหมายของระบบคุณภาพนี้อย่างไร” Learning “จะแปลความหมายของข้อมูลและนำไปใช้ในการพัฒนาหรือปรับปรุงอะไรได้บ้าง” Innovation “มีตัวอย่างของนวตกรรมเชิงระบบงานอะไรบ้าง” Integration “จะบูรณาการกับใครบ้าง” Monitoring “จะมีการปรับวิธีการ monitor progress อย่างไร” Roadblock “จะฟันผ่าอุปสรรคในองค์กรอย่างไร” Collaboration “จะสร้างความร่วมมืออย่างสร้างสรรค์อย่างไร” New Meaning “จะหาความหมายใหม่ของงานอย่างไร” Energetic “จะสร้างความฮึกเหิมในการร่วมมือเพื่อยกระดับให้ดีขึ้นอย่างไร” Systematic “จะทำให้เป็นระบบมากขึ้นได้อย่างไร” Spread “จะขยายผลให้กว้างขึ้นอย่างไร”

Performance Improvement: IHI CQI Model 3 Performance Improvement: IHI CQI Model

ตัวอย่างกลยุทธ์การเปลี่ยนแปลง 3 ตัวอย่างกลยุทธ์การเปลี่ยนแปลง ขจัดความสูญเปล่า Eliminate Waste ปรับปรุงการไหลเวียนของงาน Improve Work Flow จัดให้มีวัสดุคงคลังในระดับที่เหมาะสม Optimize Inventory เปลี่ยนสิ่งแวดล้อมในการทำงาน Change the Work Environment สร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ให้กับผู้รับบริการ Producer/Customer Interface บริหารเวลา Manage Time มุ่งลดความแปรปรวน Focus on Variation ป้องกันความผิดพลั้ง Error Proofing มุ่งเน้นที่ผลผลิตหรือบริการ Focus on the Product or Service Source: Institute of Healthcare Improvement

3 High Reliability ผสมผสาน mindset & culture เข้ากับการพัฒนาระบบงาน ฐานคิด ตื่นรู้ ปฏิบัติโดยอัตโนมัติ Mindset Mindfulness Culture 3. ความตื่นรู้และวัฒนธรรมความปลอดภัย 2. ระบบบริหารคุณภาพและความปลอดภัย High Reliability 1. ระบบงานปกติ (ออกแบบและนำไปปฏิบัติ)

ชุดย่อยของวัฒนธรรมความปลอดภัย 3 ชุดย่อยของวัฒนธรรมความปลอดภัย Informed Culture ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติในระบบมีความรู้ที่ทันสมัยเกี่ยวกับปัจจัยมนุษย์ เทคนิค องค์กร และสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีผลต่อความปลอดภัยของระบบโดยรวม Flexible Culture ความสามารถในการปรับตัวขององค์กรเมื่อเผชิญกับสภาวะที่มีอันตราย ด้วยการเปลี่ยนจากการมีลำดับชั้นบังคับบัญขามาเป็นการทำงานแบบแนวราบมากขี้น Reporting Culture ผู้คนพร้อมที่จะรายงานความผิดพลั้งและ near-misses SAFETY CULTURE Just Culture บรรยากาศของความไว้เนื้อเชื่อใจซึ่งผู้คนได้รับการส่งเสริมในการให้ข้อมูลที่จำเป็นเกี่ยวกับความปลอดภัย ขณะที่มีความชัดเจนในเส้นแบ่งระหว่างพฤติกรรมที่ยอมรับได้และยอมรับไม่ได้ Learning Culture การสรุปความรู้จากระบบข้อมูลความปลอดภัยและนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่ Source: James Reason

ผู้นำกับการพัฒนาคุณภาพแบบฉบับ HA 3 Flexible Culture – 3 Approaches to Safety Source: James Reason

ผู้นำกับการพัฒนาคุณภาพแบบฉบับ HA 3 Just Culture - Atmosphere of Trust Design Coach Discipline/Sanction Source: David Marx, Outcome Engineering President

Safety Mindset & Mindfulness 3 Safety Mindset & Mindfulness สติ ตื่นรู้ Reluctance to simplify Preoccupation with failure Resilience Sensitivity to operation Deference to expertise Situation Awareness 14th HA National Forum “องค์กรที่น่าไว้วางใจ” 12-15 มีนาคม 2556

3 Risk Register มีการปฏิบัติตามมาตรการที่กำหนดไว้เพียงใด มีปัญหาอุปสรรคอะไร ระดับอุบัติการณ์เปลี่ยนแปลงไปอย่างไร ควรมีการปรับปรุงมาตรการอะไรบ้าง

RCA มองให้เห็น Swiss Cheese ใน 2 ระนาบ 3 RCA มองให้เห็น Swiss Cheese ใน 2 ระนาบ ถาม WHY โดยมีแนวคิดเชิงระบบอยู่ในใจ Organizational Factors Organizational Factors Local Workplace Factors Local Workplace Factors อย่าหยุดหรือด่วนสรุปที่ human error Unsafe Act Unsafe Act Assess Diagnosis Plan Care Educate Discharge Monitor & reassess

สืบสาวไปให้ถึงปัจจัยองค์กร 3 สืบสาวไปให้ถึงปัจจัยองค์กร Local Workplace Factors Organizational Factors ลักษณะของผู้ป่วยมีผลต่อการเกิด AE หรือไม่ แนวทางอะไรที่ควรมีสำหรับผู้ป่วยที่มีลักษณะนี้ บุคลากรมีความเหนื่อยล้า เครียด เสียสมาธิ หรือไม่ การจัดระบบงานและสิ่งแวดล้อมอะไรที่จะป้องกันได้ บุคลากรมีความรู้และทักษะเพียงพอหรือไม่ การฝึกอบรมและการให้ข้อมูลอะไรบ้างที่จำเป็น ระบบเตือน (reminder system) อะไรที่จะช่วยได้ สมาชิกในทีมมีความชัดเจนในบทบาทหน้าที่หรือไม่ มีการมอบหมายงานอย่างไร สมาชิกในทีมได้รับข้อมูลที่ชัดเจนหรือไม่ แนวทางการบันทึกข้อมูล การสื่อสารและส่งต่อข้อมูลระหว่างสมาชิกที่จะช่วยป้องกันได้ควรเป็นอย่างไร เครืองมือ อุปกรณ์ เวชภัณฑ์ สถานที่ มีความพร้อมหรือไม่ ระบบการจัดการเครื่องมือ อุปกรณ์ เวชภัณธ์ สถานที่/สิ่งแวดล้อม อะไรที่ช่วยได้ มีทรัพยากอะไรที่ต้องการเพิ่ม ระบบการติดตามกำกับและตอบสนองเป็นอย่างไร การออกบบระบบงานเอื้อต่อการทำงานที่ปลอดภัยหรือไม่ มีนโยบายอะไรที่เป็นอุปสรรคในเรื่องนี้ วัฒนธรรมองค์กรเป็นอย่างไร

4 ระบบที่เอื้อต่อ การดูแลอย่างคุ้มค่า

Move Knowledge & Technology, Not People 4 Move Knowledge & Technology, Not People “PEEK” Portable Eye Examination Kit “Flo” Telehealth Text Messaging System

4 เพิ่มประสิทธิภาพด้วยแนวคิด Lean 4242 4 เพิ่มประสิทธิภาพด้วยแนวคิด Lean วัตถุประสงค์: ปลอดภัย คุณภาพ ส่งมอบ ต้นทุน ขวัญกำลังใจ Safety Quality Delivery Cost Morale (SQDCM) ทำให้เลื่อนไหลต่อเนื่อง เครื่องมือที่เป็นไปได้: ทีมที่มีผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง การจัดเตรียม (setup) ที่รวดเร็ว การขจัดความสูญเปล่า, ทำให้รอบเวลาใกล้เคียงกับ takt time การปรับระดับภาระงานให้ใกล้เคียงกัน การปรับอุปทานให้สอดคล้องกับอุปสงค์ ระบบการดึง (Pull systems) คุณภาพที่ฝังในระบบ เครื่องมือที่เป็นไปได้: 0ระบบที่ป้องกันความผิดพลั้ง การควบคุมที่เห็นได้ชัดเพื่อบ่งชี้ความผิดพลั้ง แผงไฟสัญญาณเตือน (andon) พัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง โดยการทำงานเป็นทีม (PDSA) พื้นฐานของการปฏิบัติงานที่สม่ำเสมอ (Operational Stability) การฝึกอบรม, งานที่เป็นมาตรฐาน, เข้าไปดูในสถานที่จริง แผนที่สายธารแห่งคุณค่า (VSM), การจัดการโดยใช้หลักการมองเห็น (5 ส.) การดูแลทรัพยากรเชิงรุก ขจัด non-value added process, เพิ่มคุณค่าให้ผู้รับผลงาน Source: Kelvin Loh & Clara Sin

4 ขจัดความสูญเปล่า มองหาวิธีการที่จะขจัดกิจกรรมหรือการใช้ทรัพยากร ในองค์กรที่ไม่ก่อให้เกิดคุณค่า ขจัดตัวคั่นกลาง (Remove Intermediaries) ใช้การสุ่มตัวอย่าง (Use Sampling) ใช้ของอื่น/คนอื่นแทน (Use Substitution) ลดหรือขจัดการทำลายล้างที่มากเกินจำเป็น (Reduce or Eliminate Overkill) ลดการจัดกลุ่มเพื่อขจัดความซับซ้อน (Reduce Classifications to Remove Complexity) กำจัดสิ่งที่ไม่ถูกใช้งานออกไป (Eliminate Things That Are Not Used) ลดการควบคุมระบบ (Reduce Controls on the System) ขจัดการบันทึกซ้ำซ้อน (Eliminate Multiple Entry) ปรับปริมาณให้เหมาะสมกับความต้องการ (Match the Amount to the Need) หมุนเวียนการใช้หรือนำมาใช้ใหม่ (Recycle or Reuse) ปรับเปลี่ยนตัวเป้า (Change Targets) Source: Institute of Healthcare Improvement

ใช้สภาวะการเจ็บป่วยเป็นหลักในการจัดบริการ Source: Michael Porter 4 ใช้สภาวะการเจ็บป่วยเป็นหลักในการจัดบริการ Source: Michael Porter

ลักษณะของ Integrated Practice Unit (IPU) Source: Michael Porter 4 ลักษณะของ Integrated Practice Unit (IPU) ยึดสภาวะการเจ็บป่วยหรือกลุ่มผู้ป่วยเป็นหลัก มีทีมสหสาขาวิชาชีพที่ทุ่มเทให้เวลา ผู้ให้บริการเป็นส่วนหนึ่งขององค์กรแม่หรือมีความร่วมมือกับองค์กรที่ใหญ่กว่า ให้บริการครบวงจร (ผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน ฟื้นฟู สนับสนุน) ครอบคลุมการให้ความรู้ การติดตามต่อเนื่อง ใช้โครงสร้างการจัดการที่เป็นหนึ่งเดียว อยู่ในพื้นที่เดียวกัน นำโดยแพทย์หัวหน้าทีมและ care manager วัดผลลัพธ์ ต้นทุน และกระบวนการสำหรับแต่ละผู้ป่วย พบปะกันอย่างสม่ำเสมอทั้งเป็นทางการและไม่เป็นทางการ มีความรับผิดชอบร่วมกันสำหรับผลลัพธ์และต้นทุน Source: Michael Porter

ทำเรื่องเดียว ยิ่งทำมาก ยิ่งเก่ง ยิ่งให้คุณค่า Source: Michael Porter 4 ทำเรื่องเดียว ยิ่งทำมาก ยิ่งเก่ง ยิ่งให้คุณค่า Source: Michael Porter

4 Health technology UK & German: Health technology assessment & evidence-based protocol Payment reform: Netherlands: Payment for coordinated care of chronic conditions UK (CQUIN system): hold back 2.5% of the cost of hospital treatment contingent on outcomes Chronic Conditions: UK, Italy & Spain: primary care/nurse-led clinics and case management German & France: co-ordination between different health professionals Measuring outcome Symptoms, complication, sustainability of recovery, treatment-related discomfort

Value = Quality/Cost -> ลำดับชั้นของตัววัดผลลัพธ์ 4 Value = Quality/Cost -> ลำดับชั้นของตัววัดผลลัพธ์

Leading Value-based Care Management Revolution 4 Leading Value-based Care Management Revolution Source: Specialty Healthcare Management Group

5 คุณธรรม

Source: SPA ตามมาตรฐาน HA, 2549 จริยธรรมระดับบุคคล จริยธรรมของบุคคลทั่วไป ห่วงใยในความผาสุกของผู้อื่น เคารพใน autonomy ของผู้อื่น ซื่อสัตย์ จริงใจ เต็มใจปฏิบัติตามกฎหมาย มีใจเที่ยงธรรม ปฏิเสธที่จะใช้โอกาสเอาเปรียบผู้อื่น เมตตากรุณา ป้องกันอันตรายให้ผู้อื่น จริยธรรมของวิชาชีพ เป็นกลาง ใช้เหตุผล เปิดเผยข้อเท็จจริง รักษาความลับ ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ ระมัดระวัง หลีกเลี่ยงผลประโยชน์ทับซ้อน Source: SPA ตามมาตรฐาน HA, 2549

Source: SPA ตามมาตรฐาน HA, 2549 จริยธรรมองค์กร การคิดค่าบริการ การประชาสัมพันธ์ จริยธรรมและความรับผิดชอบของผู้ประกอบวิชาชีพ การตัดสินใจยุติการรักษา การรับไว้/การส่งต่อ การวิจัย การรักษาผู้มีบุตรยาก การปลูกถ่ายอวัยวะ การกระทำโดยมีผลประโยชน์ทับซ้อน Source: SPA ตามมาตรฐาน HA, 2549

5 สุขภาวะทางจิตวิญญาณ ภาวะที่สังคมมีศีลธรรม มนุษย์ทำหน้าที่ถูกต้องตามความสัมพันธ์ระหว่าง มนุษย์กับมนุษย์ มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม มนุษย์กับสิ่งเหนือธรรมชาติที่ตนศัรทธา Source: โสภณ สุภาพงษ์ 15/12/2547

Super Core Values และคุณธรรม 5 Spirituality คือ Super Core Values และคุณธรรม

5 Spirituality เป็นเรื่องของความมีจิตใจสูง งดงาม เมตตา รับผิดชอบ สมานฉันท์ เกื้อกูลกัน ไม่เห็นแก่ตัว เป็นเรื่องของความเชื่อในสิ่งยึดเหนี่ยว เป็นเรื่องของการสำนึกรู้ภายใน เป็นเรื่องของคุณค่า เป็นเรื่องของอุดมคติ เป็นความสามารถที่จะให้ความหมายแก่ชีวิตและทุกสิ่ง เป็นขุมพลังภายใน เป็นเรื่องของพลังชีวิต เป็นวิถีอันศักดิ์สิทธิ์ของการดำเนินชีวิตอย่างกลมกลืนกับความงามโดยรอบ และความงามในตัวเรา เป็น inner resource for healing

โรงพยาบาลคุณธรรม ในมาตรฐาน HA 5 โรงพยาบาลคุณธรรม ในมาตรฐาน HA

ตอนที่ I ภาพรวมของการบริหารองค์กร 5 ตอนที่ I ภาพรวมของการบริหารองค์กร การนำองค์กร ค่านิยมการมุ่งเน้นผู้ป่วย, มาตรฐาน & จริยธรรมวิชาชีพ การปฏิบัติตามกฎหมาย &การมีจริยธรรม ระบบกำกับดูแลกิจการที่ดี ความโปร่งใส การพิทักษ์ผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การคำนึงถึงผลกระทบด้านลบต่อสังคม การรักษาสิ่งแวดล้อม กลยุทธ์ วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ตอบสนองความต้องการของชุมชน/กลุ่มประชากรที่ให้บริการ มีส่วนต่อผลลัพธ์สุขภาพที่ดีขึ้น Source: มาตรฐาน HA, 2549

ตอนที่ I ภาพรวมของการบริหารองค์กร 5 ตอนที่ I ภาพรวมของการบริหารองค์กร การมุ่งเน้นผู้ป่วย การจัดการกับคำร้องเรียน การคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย ผู้ที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ การวัด วิเคราะห์ และจัดการความรู้ การรักษาความลับของข้อมูล/สารสนเทศ ทรัพยากรบุคคล Staff performance management system การมอบหมายหน้าที่ตามความรู้ความสามารถและกฎหมาย การดูแลและเกื้อหนุนบุคลากร

ตอนที่ III กระบวนการดูแลผู้ป่วย 5 ตอนที่ III กระบวนการดูแลผู้ป่วย การเข้าถึงและเข้ารับบริการ การลดอุปสรรคในการเข้าถึง การให้ความช่วยเหลือในกรณีไม่สามารถรับไว้รักษาได้ การดูแลฉุกเฉิน/เร่งด่วน Informed consent การประเมินผู้ป่วย การรับรู้และระบุปัญหาที่ครอบคลุม การ investigate ที่เหมาะสมตามข้อบ่งชี้ การวางแผนตอบสนองความต้องการที่ครอบคลุม ผู้ป่วยและครอบครัวมีส่วนร่วม Source: มาตรฐาน HA, 2549

ตอนที่ III กระบวนการดูแลผู้ป่วย 5 ตอนที่ III กระบวนการดูแลผู้ป่วย การดูแลผู้ป่วย ดูแลอย่างเหมาะสม ปลอดภัย ทันเวลา ดูแลอย่างเท่าเทียมกันในทุกจุดบริการ คำนึกถึงศักดิ์ศรีและความเป็นส่วนตัว เฝ้าระวังและตอบสนองการเปลี่ยนแปลงอย่างเหมาะสม Source: มาตรฐาน HA, 2549

(ประเด็นจริยธรรมที่ยากในการตัดสินใจ) 5 Ethical Dilemma (ประเด็นจริยธรรมที่ยากในการตัดสินใจ)

ผู้นำกับการพัฒนาคุณภาพแบบฉบับ HA 5 Ethical Dilemma (Macro) 1. สมดุลระหว่างคุณภาพกับประสิทธิภาพ (Balancing care quality and efficiency) 2. การปรับปรุงการเข้าถึงบริการ (Improving access to care) 3. การสร้างกำลังคนสุขภาพในอนาคต (Building and sustaining the healthcare workforce of the future ) 4. การดูแลผู้ป่วยระยะท้าย (Addressing end-of-life issues) 5. การจัดสรรยาและอวัยวะที่ขาดแคลน (Allocating limited medications and donor organs) 1. Balancing care quality and efficiency Many of the challenges facing the healthcare system in the future will be related to the overall challenge of balancing quality and safety with efficiency, said Cynda Hylton Rushton PhD, RN, the new Anne and George L. Bunting Professor of Clinical Ethics at Johns Hopkins University. “It raises a real question about whether the right values are driving our focus in our healthcare system,” she said. “Should efficiency be the driver?” 2. Improving access to care Although the Affordable Care Act (ACA) was mostly left untouched by the sequester, the ongoing issue of providing everyone with access to basic medical care remains a concern. Philip Rosoff, MD, director of clinical ethics for Duke Hospital and Duke University School of Medicine, sees this lack of access as the country’s biggest ethical issue. “It’s shameful,” he said. “All the other stuff pales in comparison.” Gerard Magill, PhD, professor with the Center for Healthcare Ethics at Duquesne University, notes that there are still questions about the implementation of the healthcare reform law, as well as Medicaid expansion efforts in the states. Most ethicists believe that access to basic care is a hallmark of a civilized society, he said, and if many people still do not have access, “that is a problem.” 3. Building and sustaining the healthcare workforce of the future As the baby boomer generation continues to age, more healthcare professionals will be needed to take care of this population--to manage chronic illnesses, coordinate care and provide many other services. But will there be enough competent, compassionate people who not only enter the healthcare workforce but remain in it to provide that care? Despite a recent influx of younger people into the nursing profession, for instance, many experts are forecasting a resurgence of the nursing shortage by the end of this decade--just when more nurses will be needed. “This is not just a supply issue,” said Rushton. “This is a sustainability issue. And one of the real threats to keeping the people we train in practice is having an ethical practice environment where they can actually practice with integrity, and where they are not constantly barraged with morally distressing situations that burn them out.” 4. Addressing end-of-life issues Nancy Berlinger, PhD, a research scholar with the Hastings Center, noted that end-of-life issues will also grow in importance as the population ages. The entire decision-making process, as well as the financing that pays for end-of-life care, will be up for discussion as these issues affect more people. But that is the reward for the great leaps in life expectancy that were achieved in the 20th century, she said. “This is the ‘other shoe’ in the 21st century, the consequences of people living into their 90s,” she said. The Hastings Center will soon release a revised and expanded version of its 1987 guidelines on end-of-life decision-making and care; it will include resources for providers who want to learn how to have better conversations with each other and with patients and their families. 5. Allocating limited medications and donor organs Will there be enough critical medications available to meet people’s needs in the future, and if not, what can be done about it? How will organs be allocated in the future, when they are often in short supply? Medication shortages often happen because there’s not enough economic incentive for manufacturers. For example, certain intravenous medications that are generics tend to be the ones that become scarce because there’s not much profit in making them, said Rosoff. “Until we fix some of the perverse incentives that we’ve built into the system for the creation and distribution of drugs in this country, I think it’s going to continue to happen,” he said. Although some advances have been made to encourage the reporting of drug shortages in an effort to reduce them, the Food and Drug Administration still expects shortages to occur in the future. According to clinical ethicist Katrina A. Bramstedt, PhD, the Affordable Care Act may help transplant candidates with coverage for certain necessary medications, such as immunosuppressants. “The bigger problem is the ongoing shortage of donor organs,” said Bramstedt, associate editor of the Journal of Bioethical Inquiry. “There are just not enough livers or deceased donor organs to meet the need. Here is where continued research, as well as more donations, would help.” In addition to this list of five issues, ethicists acknowledge that other concerns will continue to develop, such as healthcare technology’s impact on communication policies, medical records and patient privacy.  But Rosoff maintains that access to care is the most significant ethical matter at present. The other issues are very important, but this one is at the top of his list. “It must get fixed,” he said.

Canada Ethical Challenges in Healthcare 5 Canada Ethical Challenges in Healthcare 1 Disagreement between patients/families and health care professionals about treatment decisions 2 Waiting lists 3 Access to needed health care resources for the aged, chronically ill and mentally ill 4 Shortage of family physicians or primary care teams in both rural and urban settings 5 Medical error 6 Withholding/withdrawing life sustaining treatment in the context of terminal or serious illness 7 Achieving informed consent 8 Ethical issues related to subject participation in research 9 Substitute decision-making 10 The ethics of surgical innovation and incorporating new technologies for patient care

Ethical Dilemma (Physician) 5 Ethical Dilemma (Physician) Ordering marginal or unneccesary tests Pressures to refer patients Do physicians have an ethical responsibility to treat Medicaid and ACA patients? Should doctors give patients what they want?

ผู้นำกับการพัฒนาคุณภาพแบบฉบับ HA 5 Ethical Dilemma (Nursing) 1. อิสระของผู้ป่วยกับการควบคุมโดยพยาบาล (ผู้ป่วยปฏิเสธคำแนะนำของพยาบาลทำให้ผลการรักษาไม่ดีอย่างที่ควร) 2. Pro-ilfe vs Pro-choice เกี่ยวกับเรื่องการทำแท้ง 3. Honesty vs Information (จะบอกข้อมูลแก่ผู้ป่วยเพียงใด หากข้อมูลนั้นอาจจะทำให้ emotional distress) 4. การดูแลเด็ก (การบอกข้อมูลของเด็กแก่พ่อแม่ อาจละเมิด หลัก privacy) 5. การเลือกใช้ทรัพยากรในผู้ป่วยที่สิ้นหวังกับผู้ป่วยที่มีหวัง 1. Balancing care quality and efficiency Many of the challenges facing the healthcare system in the future will be related to the overall challenge of balancing quality and safety with efficiency, said Cynda Hylton Rushton PhD, RN, the new Anne and George L. Bunting Professor of Clinical Ethics at Johns Hopkins University. “It raises a real question about whether the right values are driving our focus in our healthcare system,” she said. “Should efficiency be the driver?” 2. Improving access to care Although the Affordable Care Act (ACA) was mostly left untouched by the sequester, the ongoing issue of providing everyone with access to basic medical care remains a concern. Philip Rosoff, MD, director of clinical ethics for Duke Hospital and Duke University School of Medicine, sees this lack of access as the country’s biggest ethical issue. “It’s shameful,” he said. “All the other stuff pales in comparison.” Gerard Magill, PhD, professor with the Center for Healthcare Ethics at Duquesne University, notes that there are still questions about the implementation of the healthcare reform law, as well as Medicaid expansion efforts in the states. Most ethicists believe that access to basic care is a hallmark of a civilized society, he said, and if many people still do not have access, “that is a problem.” 3. Building and sustaining the healthcare workforce of the future As the baby boomer generation continues to age, more healthcare professionals will be needed to take care of this population--to manage chronic illnesses, coordinate care and provide many other services. But will there be enough competent, compassionate people who not only enter the healthcare workforce but remain in it to provide that care? Despite a recent influx of younger people into the nursing profession, for instance, many experts are forecasting a resurgence of the nursing shortage by the end of this decade--just when more nurses will be needed. “This is not just a supply issue,” said Rushton. “This is a sustainability issue. And one of the real threats to keeping the people we train in practice is having an ethical practice environment where they can actually practice with integrity, and where they are not constantly barraged with morally distressing situations that burn them out.” 4. Addressing end-of-life issues Nancy Berlinger, PhD, a research scholar with the Hastings Center, noted that end-of-life issues will also grow in importance as the population ages. The entire decision-making process, as well as the financing that pays for end-of-life care, will be up for discussion as these issues affect more people. But that is the reward for the great leaps in life expectancy that were achieved in the 20th century, she said. “This is the ‘other shoe’ in the 21st century, the consequences of people living into their 90s,” she said. The Hastings Center will soon release a revised and expanded version of its 1987 guidelines on end-of-life decision-making and care; it will include resources for providers who want to learn how to have better conversations with each other and with patients and their families. 5. Allocating limited medications and donor organs Will there be enough critical medications available to meet people’s needs in the future, and if not, what can be done about it? How will organs be allocated in the future, when they are often in short supply? Medication shortages often happen because there’s not enough economic incentive for manufacturers. For example, certain intravenous medications that are generics tend to be the ones that become scarce because there’s not much profit in making them, said Rosoff. “Until we fix some of the perverse incentives that we’ve built into the system for the creation and distribution of drugs in this country, I think it’s going to continue to happen,” he said. Although some advances have been made to encourage the reporting of drug shortages in an effort to reduce them, the Food and Drug Administration still expects shortages to occur in the future. According to clinical ethicist Katrina A. Bramstedt, PhD, the Affordable Care Act may help transplant candidates with coverage for certain necessary medications, such as immunosuppressants. “The bigger problem is the ongoing shortage of donor organs,” said Bramstedt, associate editor of the Journal of Bioethical Inquiry. “There are just not enough livers or deceased donor organs to meet the need. Here is where continued research, as well as more donations, would help.” In addition to this list of five issues, ethicists acknowledge that other concerns will continue to develop, such as healthcare technology’s impact on communication policies, medical records and patient privacy.  But Rosoff maintains that access to care is the most significant ethical matter at present. The other issues are very important, but this one is at the top of his list. “It must get fixed,” he said.

กับวัฒนธรรมการเรียนรู้ พัฒนาสู่ความเป็นมืออาชีพ 6 คนทำงาน กับวัฒนธรรมการเรียนรู้ พัฒนาสู่ความเป็นมืออาชีพ

High Performance, High Energy Team 6 High Performance, High Energy Team Source: www.institute.nhs.uk

High Performance, High Energy Team 6 High Performance, High Energy Team Source: www.institute.nhs.uk

เป็นคนเรียนรู้ ในทุกลมหายใจ 6 เป็นคนเรียนรู้ ในทุกลมหายใจ เราจะเป็นบุคคลเรียนรู้ในทุกลมหายใจ ด้วยการ ฟัง อ่าน คิด ถาม ใคร่ครวญ เขียน ทำให้เกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง

การเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อไร 6 การเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อไร อยากเรียน สังเคราะห์จากหลายแห่ง ถามทำไม เปิดที่ว่าง ต่อเชื่อม มองหา process & pattern ประยุกต์ใช้ให้เข้ากับบริบท ทดลองทำ ใคร่ครวญ สะท้อนคิด แก้ปัญหาร่วมกัน แบ่งปัน

6 คนช่างถาม Source: Dyer, Gregersen, and Christensen, 2011

เป็นคนเรียนรู้ ด้วย Triple Loop Learning 6 เป็นคนเรียนรู้ ด้วย Triple Loop Learning 3. ค่านิยมและแนวคิดของทีมงานเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร 1. ปฏิบัติได้ตามที่คาดหวังหรือไม่ ผลลัพธ์เป็นไปตามเป้าหรือไม่ 2. ออกแบบได้เหมาะสมกับโจทย์/บริบทของเราหรือไม่ มีความรู้อะไรที่จะปรับปรุงเกณฑ์หรือแนวปฏิบัติสำหรับที่อื่น

สายเลือดของผู้สร้างนวตกรรม 6 สายเลือดของผู้สร้างนวตกรรม ช่างถาม กล้าสงสัย กล้าท้าทาย ช่างสังเกต กล้าเสี่ยง ช่างเชื่อมโยง ช่างคบหา ช่างทดลอง Source: Dyer, Gregersen, and Christensen, 2011

อะไรเป็นตัวขับเคลื่อนเรา 6 อะไรเป็นตัวขับเคลื่อนเรา นึกถึงผู้ที่สร้างแรงบันดาลใจให้กับเรา ตัวเราเองมีพลังอะไรที่ขับเคลื่อนอยู่ หล่อเลี้ยงพลังนั้นไว้ให้ดี ลองทบทวนเหตุการณ์ หรือการงาน เรื่องราวต่าง ๆ ในชีวิตที่เราเข้าไปเกี่ยวข้อง แล้วรู้สึกมีพลัง ภูมิใจสุขใจ แล้วลองสกัดความรู้จากประสบการณ์นั้นดูว่า พลังของเรามาจากไหน และเราจะสร้าง สานพลังชีวิตให้ต่อเนื่องได้อย่างไร เราต้องทำอะไรบ้าง เรามีศักยภาพอะไร ที่จะมอบเป็นของขวัญให้กับผู้ที่เรารัก ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศ ทุกวันนี้ เราทำอะไรบ้าง ที่เป็นการฝึกฝนตัวเองให้พัฒนายิ่ง ๆ ขึ้นไป ทั้งในชีวิตและการงาน 74 “เมล็ดพันธุ์ชีวิตบูรณาการ” ชัยวัฒน์ ถิระพันธุ์, กรรณจริยา สมรุ่ง, สุภาพ สิริบรรสพ

8C กับความเป็นมืออาชีพ 6 8C กับความเป็นมืออาชีพ บุคลิก ความประพฤติ ทำให้เบาใจ ปฏิบัติตามกฎ ความมุ่งมั่น การสื่อสาร ความตระหนักรู้ งานสำเร็จ Source: Dr.Mahalingam College of Engineering and Technology