งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับระบบสารสนเทศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับระบบสารสนเทศ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับระบบสารสนเทศ

2 วัตถุประสงค์ ทราบถึงความหมายของระบบ
ทราบถึงความหมายและชนิดของระบบสารสนเทศ มีความเข้าใจถึงระบบสารสนเทศและการนำไปประยุกต์ใช้ ทราบถึงหน้าที่และบทบาทของนักวิเคราะห์ระบบ Systems analysis and design is generally taught with six steps. The last step is actually on-going – it never really stops. Many times it leads to the other five steps or at least to one or more of the other steps. While used for systems analysis, it can also be applied to other areas. Think about this as we go through the steps when changing to a new system or re-evaluating and updating the “old” system.

3 ระบบคืออะไร การดำเนินงานของหน่วยงานที่มีองค์ประกอบต่างๆที่ทำหน้าที่ร่วมกัน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์เดียวกัน สิ่งที่ประกอบขึ้นมาจากหน่วยย่อย หรือองค์ประกอบย่อย ที่มีความสัมพันธ์ และทำหน้าที่ร่วมกันเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ภายในระบบ

4 ภาพรวมของระบบ ระบบจะถูกกำหนดด้วยขอบเขต
ซึ่งภายในระบบจะประกอบไปด้วยระบบย่อย (Sub system) ต่าง ๆ (ระบบย่อย ก็คือองค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบ) ระบบที่ดี จะต้องมีการสื่อสารระหว่าง Sub system มีความสมบูรณ์ในตัว เพื่อให้ระบบดำเนินไปสู่เป้าหมาย (Goal) ซึ่งการทำงานของระบบ จะมีสิ่งแวดล้อม (Environment) คอยสร้างสิ่งที่มีผลกระทบต่อระบบ

5 ส่วนป้อนกลับ (feed-back)
องค์ประกอบของระบบ กระบวนการ (Processing) ส่วนผลลัพธ์ (Output) ส่วนป้อนกลับ (feed-back) ส่วนนำเข้า (Input)

6 ประเภทของระบบ (Systems Type)
ระบบปิด (Closed System) ระบบเปิด (Open System) ระบบภาคธุรกิจ (Business System) ระบบภาครัฐ (Public System)

7 ระบบปิด หมายถึง ระบบที่ไม่ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม มีจุดมุ่งหมายการทำงานภายในตัวเอง โดยจะไม่ยุ่งเกี่ยวหรือไม่รับข้อมูลจากสิ่งแวดล้อมใด ๆ เข้ามา

8 ภาพสัญญาณไฟจราจร ไม่มีการควบคุม หรือ เปลี่ยนสัญญาณ ตามจำนวนรถติดแต่ละฝั่ง 8

9 ระบบเปิด หมายถึง ระบบที่มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมด้วยการแลกเปลี่ยน หรือการรับ - ส่งข้อมูลเข้ามาในระบบ กล่าวคือ ตรงกันข้ามกับระบบปิด

10 ภาพสัญญาณไฟจราจร มีการควบคุม หรือ เปลี่ยนสัญญาณ ตามจำนวนรถติด 10

11 ระบบธุรกิจ ประกอบไปด้วยระบบย่อยที่มีความสัมพันธ์กันทั้งสิ้น
ทั้งในด้านของกิจกรรมและการเชื่อมโยงข้อมูล พร้อมทั้งระบบยังต้องมีการรับข้อมูลจากสภาพแวดล้อมภายนอกที่จะมีผลต่อการดำเนินการภายในระบบด้วย ดังนั้นการดำเนินงานของระบบโดยรวม ก็ต้องขึ้นอยู่กับการทำงานภายในระบบย่อย เพราะส่งผลถึงภาพรวมของระบบธุรกิจ 11

12 ระบบภาคธุรกิจ (Business System)
คือ ระบบที่มีเป้าหมายเพื่อมุ่งหวังผลกำไร และผลตอบแทนจากการลงทุน ระบบ การผลิต ระบบ การบัญชี ระบบ การตลาด ระบบ สินค้าคงคลัง ระบบบริหาร งานบุคคล ระบบธุรกิจ

13 ปัจจัยที่ทำให้ระบบภาคธุรกิจเปลี่ยนแปลง
ผลกระทบภายในระบบ ผลกระทบภายนอกระบบ ต้นทุนการผลิตสูง ความซ้ำซ้อนของหน่วยงาน ความขัดแย้งระหว่างพนักงาน คู่แข่งทางการค้า นโยบาย กฎระเบียบภาครัฐ ความต้องการของลูกค้า เทคโนโลยี

14 ระบบภาครัฐ (Public System)
คือ ระบบที่มีเป้าหมายเพื่อการอยู่ดีกินดีของประชาชน มุ่งหวังการบริการที่ดี

15 ข้อมูลและสารสนเทศ (DATA & INFORMATION)

16 เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT)
หมายถึง การผสมผสานการใช้งานระหว่างเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์ (ฮาร์ดแวร์ และซอฟท์แวร์) กับเทคโนโลยีการสื่อสาร (ข้อมูล ภาพ เสียง และเครือข่าย) เพื่อให้การติดต่อสื่อสาร และการส่งผ่านข้อมูลมีความสะดวกรวดเร็วมากขึ้น หมายถึง การนำเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม มาใช้ร่วมกันเพื่อใช้ในกระบวนการรวบรวมข้อมูล จัดหา จัดเก็บ สร้างและเผยแพร่ระบบสารสนเทศต่างๆที่มีความถูกต้องแม่นยำ ความรวดเร็วทันต่อการนำไปใช้ประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพ ตัวอย่างการนำเทคโนโลยีสารสนเทศไปประยุกต์ใช้ในงานด้านต่างๆ เช่น ด้านการเกษตร ด้านธุรกิจ ด้านการแพทย์ ด้านการศึกษา เป็นต้น

17 คุณลักษณะของสารสนเทศที่ดี
คุณลักษณะของข้อมูลที่ดีควรประกอบด้วยลักษณะต่อไปนี้ คือ • มีความถูกต้องแม่นยํา • ทันเวลาในการใช้ข้อมูล • มีความสมบูรณ์ครบถ้วน • มีความกะทัดรัดชัดเจน • ตรงกับความต้องการของผู้ใช้

18 คุณลักษณะของนักวิเคราะห์ระบบ
มีความรู้หลายด้าน เช่น รู้ระบบงานธุรกิจ, รู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทน เป็นคนที่มองปัญหาว่าเป็นเรื่องท้าทาย มีความเป็นผู้นำ ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ มีประสบการณ์ในการเขียนโปรแกรม มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ประสบการณ์ในการทำงานด้านวิเคราะห์ระบบ

19 อะไรที่เป็นไปไม่ได้สำหรับการวิเคราะห์ระบบ
การวิเคราะห์ให้ทำงานโดยใช้คอมพิวเตอร์เพียงอย่างเดียว การวิเคราะห์ให้ระบบไม่มีการเปลี่ยนแปลง การวิเคราะห์ให้ระบบใช้แก้ปัญหาได้อย่างดีที่สุด

20 9.หน้าที่ของนักวิเคราะห์ระบบ
9.1 ติดต่อกับผู้ใช้โดยตรง 9.2 กำหนดคุณสมบัติของระบบ 9.3 วิเคราะห์ถึงความคุ้มค่าในการลงทุน 9.4 วิเคราะห์ถึงความเป็นไปได้ 9.5 วางแผนขั้นตอนพัฒนา

21 Q & A End


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับระบบสารสนเทศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google