งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Public Health Nursing/Community Health Nursing

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Public Health Nursing/Community Health Nursing"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Public Health Nursing/Community Health Nursing
การพยาบาลอนามัยชุมชน พยาบาลชุมชนก้าวหน้า สุขภาวะชุมชนก้าวไกล Kanit Ngowsiri, Ph.D. Aug 24, 2018

2 Objective (วัตถุประสงค์)
1. บอกความหมาย แนวคิดของการพยาบาล อนามัยชุมชนได้ บอกบทบาทหน้าที่ ของพยาบาลอนามัยชุมชนได้ 3. บอกคุณสมบัติและคุณลักษณะของพยาบาล อนามัยชุมชนได้

3 Public health nursing is the practice of promoting and protecting the health of populations using knowledge from nursing, social, and public health sciences. (American Public Health Association APHA, 2013) พยาบาลอนามัยชุมขน เป็นการพยาบาลนอกสถานบริการ แก่ บุคคล ครอบครัว กลุ่มคนและชุมชน โดยผสมผสานศาสตร์ ทางการพยาบาล สังคม สาธารณสุข โดยใช้ชุมชน เป็นฐาน (วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัยและจริยาวัตร คมพยัคฆ์, 2554) การดูแลประชาชนทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว กลุ่มคน และชุมชน แบบองค์รวมโดยผสมผสานศาสตร์ทางการพยาบาล สาธารณสุข สังคม ในการดูแลส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาพยาบาลเบื้องต้นแก่ประชาชนตามความสอดคล้อง กับบริบทของกลุ่ม / พื้นที่

4 Holistic Health Care (การดูแลสุขภาพองค์รวม)
การดูแลสุขภาพที่ครบองค์ประกอบ 4 มิติ ร่างกาย จิตใจ สังคม และ จิตวิญญาณ การดูแลสุขภาพครอบคลุม 4 ด้าน สร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาพยาบาล ฟื้นฟูสภาพ complete physical, mental and social well-being, and not merely the absence of disease"

5 Science and Art  promoting health
 education of the individual in personal health  disease prevention  control of communicable infections  sanitation of the environment  early diagnosis  medical and nursing services   prolonging life, well-being   standard of living  maintenance/improvement of health Population / Total system not only patient Community effort

6 บทบาทและหน้าที่ของพยาบาลนามัยชุมชน
หน้าที่ของพยาบาลอนามัยชุมชน (สภาการพยาบาล) บริการ : บุคคล ครอบครัว ชุมชน แบบผสมผสาน ครบ 4 มิติ กลุ่มปกติ เสี่ยง ป่วย อย่างต่อเนื่อง ใช้แนวคิด ทฤษฎีทางการพยาบาล บริหาร : ประสานความร่วมมือ วางแผน ทรัพยากร ดำเนินงาน วิชาการ : เผยแพร่ความรู้ ศึกษาข้อมูล วิจัย

7 Nursing Process (กระบวนการพยาบาล)

8 การสร้างเสริมสุขภาพ (Health Promotion)
สนับสนุนประขาชนให้มีความรู้ รอบรู้ด้านสุขภาพ มีทัศนคติ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้กับทุก กลุ่มพื้นที่ ผลักดันให้เกิดนโยบายด้านสุขภาพ กิจกรรมสร้าง เสริมสุขภาพ ร่วมมือกับชุมชนในการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพ ให้ความรู้ คำแนะนำปรึกษา และ สนับสนุนวิชาการ ให้บริการสร้างเสริมสุขภาพ ANC WBC FP PP

9 การป้องกัน ควบคุมโรค (และภัยสุขภาพ/อุบัติเหตุ )
1° prevention : prevent disease or injury before it ever occurs (ลดโรค) 2 ° prevention : reduce the impact of a disease or injury (ลดความรุนแรง) 3 ° prevention  : soften the impact of an ongoing illness or injury (ลดตาย/พิการ)  ให้วัคซีนป้องกันโรคกับกลุ่มอายุต่างๆ ให้ความรู้ คำแนะนำปรึกษา การปฏิบัติตัว ร่วมมือกับชุมชนในการควบคุมดูแลสุขาภิบาล (อาหาร น้ำดื่ม น้ำใช้ น้ำเสีย ขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูลในชุมชน ค้นหาและวินิจฉัยโรคตั้งแต่ระยะเริ่มแรก ฟื้นฟูสภาพผู้พิการ อัมพฤกษ์ อัมพาต

10 การป้องกันระดับปฐมภูมิ (Primary Prevention)
: กำจัดที่จุดตั้งต้นที่เป็นสาเหตุของโรค ตั้งแต่ยังไม่เกิดโรค จำนวนผู้ป่วยรายใหม่ลดลงกว่าเดิม(หรือลดอุบัติการณ์) เช่น การให้ วัคซีนเด็กที่ยังไม่ป่วยทำให้มีภูมิคุ้มกันโรค อัตราป่วยด้วยโรคลดลง การออกกฎหมาย/มาตรการ การให้สุขศึกษา (พฤติกรรม สิ่งแวดล้อม)   การป้องกันโรคระดับทุติยภูมิ (Secondary Prevention) : ตรวจวินิจฉัยโรคตั้งแต่ในระยะเกิดโรคแล้วแต่ยังไม่มีอาการ เพื่อให้การรักษา ก่อนที่การดำเนินโรคจะถึงขั้นรุนแรง เช่น การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (Pap Smear) –พบและให้การรักษาผู้ป่วยตั้งแต่โรคยังไม่รุนแรงหรือมี ภาวะแทรกซ้อน ทำให้ผู้ป่วยหายจากโรคมากขึ้น)และลดผลของโรค การป้องกันระดับตติยภูมิ (Tertiary Prevention) : เป็นการรักษาและฟื้นฟูสภาพผู้ป่วย (ร่างกาย จิตใจ สังคม) -ลดภาวะแทรกซ้อน ความพิการ การเสียชีวิตที่เกิดจากโรค

11 การรักษาพยาบาลเบื้องต้น
ตรวจคัดกรองโรคเพื่อการวินิจฉัยและรักษาตั้งแต่เริ่มแรก รักษาโรค ปฐมพยาบาลเบื้องต้น ส่งต่อผู้ป่วยและให้การดูแล ผู้ป่วยต่อเนื่องที่บ้าน สนับสนุนให้ผู้ป่วย ครอบครัว ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย ประสานความร่วมมือกับสหวิชาชีพ ให้ความรู้ คำแนะนำปรึกษาแก่ผู้ป่วย ญาติ และประสานกับ หน่วยงานต่างๆ การฟื้นฟูสภาพ ค้นหาวิธีการให้ผู้ป่วยได้รับการฟื้นฟูสภาพที่เหมาะสม  ให้ความรู้ คำแนะนำ และฝึกปฏิบัติทักษะที่จำเป็นแก่ ผู้ป่วยและผู้ดูแล  ประเมินติดตามความก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง

12 บทบาทของพยาบาลนามัยชุมชน
 Advocacy : ผลักดัน สนับสนุน พิทักษ์สิทธิ/ผลประโยชน์  Building Capacity : สร้างศักยภาพให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน  Building Networks : สร้างเครือข่าย  Care/Counseling : ให้บริการและการปรึกษาด้านสุขภาพ  Case Management : จัดการด้านการดูแลสุขภาพผู้ป่วย/ชุมชน  Communication : ติดต่อสื่อสาร กับบุคคล หน่วยงาน  Community Development : ช่วยพัฒนาชุมขน  Consultation : เป็นที่ปรึกษา  Facilitation : ผู้อำนวยความสะดวก  Health care provider : ผู้ให้บริการ

13 บทบาทของพยาบาลนามัยชุมชน
 Health Educator: ให้ความรู้ ด้านสุขภาพ  Leadership: ผู้นำ ชี้นำด้านสุขภาพ  Policy Development and Implementation : พัฒนโยบาย และนำสู่การปฏิบัติ  Referral and Follow-Up : ส่งต่อและติดตามดูแลผู้ป่วย  Research and Evaluation : วิจัยและประเมินผล  Resource Management, Planning, Coordination : วางแผนและจัดการทรัพยากร และประสานงาน  Screening: คัดกรองโรค Surveillance: สอบสวนโรค  Team Building : สร้างทีมงาน

14 คุณสมบัติของพยาบาลอนามัยชุมชน
 Knowledge : ความรู้ (เฉพาะด้าน : เวชปฏิบัติ เฉพาะ โรค ดูแลระยะสุดท้าย)  Communication : ทักษะการสื่อสาร  Coordination : ทักษะการติดต่อประสานงาน  Planning : การวางแผน  Negotation : ทักษะการเจรจาต่อรอง  Empowerment : ทักษะการเสริมพลัง  Team participation : การทำงานเป็นทีม

15 QUESTION ?

16 - การป้องกันโรคระคับปฐมภูมิ (Primary prevention)
- การส่งเสริมให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีความสุข ข้อใดมีความสำคัญน้อยที่สุด (มีสุขภาพแข็งแรง, มีความรู้ และการศึกษา, มีอาชีพ และมีรายได้, มีพวกพ้อง เพื่อนฝูง) - Holistic Health Care หมายถึง (บุคคล ครอบครัว ชุมชน, ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู, กาย จิต สังคม จิตวิญญาณ, ดูแลกลุ่มปกติ เสี่ยง ป่วย) - ลักษณะสำคัญงานพยาบาลอนามัยชุมชนที่ต่างจากพยาบาลสาขาอื่น (ดูแลแบบองค์รวม, ร่วมกับสหสาขา, ใช้กระบวนการพยาบาล, ให้การส่งเสริมป้องกันโรคมากกว่ารักษาพยาบาล) - การป้องกันโรคระคับปฐมภูมิ (Primary prevention) (ผู้ป่วยโรคไตกินอาหารจืด, แนะนำผู้สูงอายุไปฉัดวัคซีนไข้หวัดใหญ่, ผู้ป่วยเบาหวานฉีดอินซูลิน พี่เลี้ยงศูนย์ฯ ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก) - การป้องกันโรคระคับทุติยภูมิ (Secondary prevention) (อบรม อสม.ดูแลผู้ป่วยติดเตียง, รณรงค์ป้องกันไข้เลือดออก, คัดกรองมะเร็งเต้านม, สอนญาติพลิกตะแคงตัวผู้ป่วยติดเตียงทุก 2 ชม.) - จัดโครงการ “ออกกำลังกายวันละนิด จิตแจ่มใส” ให้พนักงานโรงงาน (การฟื้นฟูสภาพ การสร้างเสริมสุขภาพ การรักษาโรคเบื้องต้น การควบคุมป้องกันโรค) - ข้อใดเป็นการควบคุมป้องกันโรคและภัยสุขภาพ (อบรมแกนนำ นร.เรื่องปฐมพยาบาล อบรมผู้นำออกกำลังกายให้ไปนำในชุมชน รณรงค์ยาฝังคุมกำเนิด รณรงค์สวมหมวกนิรภัย) - ข้อใดเป็นบทบาทด้านการบริหาร (อบรมต้านยาเสพติด ทำป้ายประชาสัมพันธ์แยกขยะ เดินรณรงค์กำจัดลูกน้ำยุงลาย ขอสนับสนุนงบเทศบาลมาจัดอบรม อสม.) การเยี่ยมผู้ป่วยติดเตียงที่บ้าน และเปลี่ยนสาย NG tube ที่หลุดออกมา การแนะนำผู้พิการเรื่องการติดต่อขอทำบัตรผู้พิการ ( Leader, Counselor, Advocate, Health care provider)


ดาวน์โหลด ppt Public Health Nursing/Community Health Nursing

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google