งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นโยบายแห่งชาติด้านยาของไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นโยบายแห่งชาติด้านยาของไทย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นโยบายแห่งชาติด้านยาของไทย

2 What is policy? Policy is what organization choose to do or not to do.
The authority of the organization endorse it. Policy has goal intention direction objective (things that want to achieved) Policy has means to achieve a goal (method how to achieve the goal)

3 What is National Drug Policy (NDP)?
A commitment to a goal and a guide for action. It expresses and prioritizes the medium- to long-term goals set by the government for the pharmaceutical sector & identifies the main strategies for attaining them. A framework within which the activities of the pharmaceutical sector can be coordinated.

4 Objectives of the National Drug Policy
1. Access – equitable availability & affordability of ED, including traditional medicine 2. Quality – quality, safety, efficacy of all medicines 3. Rational Drug Use – right drug, right time & duration, at the lowest cost to the patient & society

5 นโยบายแห่งชาติด้านยา ของไทย
ศิริตรี สุทธจิตต์ นโยบายแห่งชาติด้านยา ของไทย ฉ.1 (2524) ฉ.2 (2536) I. NDP development I.1 Agenda setting 2523 กระทรวงสาธารณสุข เป็นเจ้าภาพ - ตั้งคณะทำงาน > สำรวจปัญหาระบบยาโดยอย.และกองแผนงานสธ. > ระดมความคิดระดับประเทศ > 2526 คณะอนุกรรมการพัฒนานโยบายแห่งชาติด้านยา ภายใต้คณะกรรมการแห่งชาติทางด้านยา เป็นเจ้าภาพ > รวบรวมปัญหามาปรับแก้ I.2 Policy formulation คณะทำงานยกร่างเนื้อหา โดยมีโครงการและกิจกรรมรองรับแต่ละนโยบายเป็นรูปธรรม คณะทำงานยกร่างเนื้อหา โดยปรับปรัชญา สาระสำคัญเพิ่มเรื่องสมุนไพร บัญชียาหลักในภาคเอกชน และการปรับกฎหมาย โดยไม่มีโครงการรองรับ I.3 Policy adoption เสนอครม.อนุมัติ II. NDP Implementation 2524 ครม.เห็นชอบ กำหนดเป็นแผนงานภายใต้แผนพัฒนาการสาธารณสุข ฉ.5-7 ก.สธ.ดูแลเป็นหลัก 2536 ครม.เห็นชอบ กำหนดเป็นแผนงานบูรณาการในแผนพัฒนาศก.และสังคมแห่งชาติ ฉ.8-9 มีหน่วยงานอื่นนอกจากก.สธ. ร่วมรับผิดชอบ III. NDP Monitoring & Evaluation คณะทำงานติดตาม แต่ไม่มีตัวชี้วัดที่ชัดเจน และไม่มีการสรุปผลที่เป็นรูปธรรม มีคณะอนุกกประสาน กำกับ ติดตาม ประเมินผล แต่ไม่มีตัวชี้วัดและผลสรุปเป็นรูปธรรม การจัดการระบบยา (นโยบายแห่งชาติด้านยาของไทยและต่างประเทศ)

6 นโยบายแห่งชาติด้านยา ของไทย
ศิริตรี สุทธจิตต์ นโยบายแห่งชาติด้านยา ของไทย เนื้อหา ฉ.1 (2524) เนื้อหา ฉ.2 (2536) จัดให้มียาปลอดภัย คุณภาพดี ราคาพอควร กระจายทั่วถึง การใช้ยาอย่างเหมาะสม กำหนดการใช้ยาตามบัญชียาจำเป็น+ตำรับยาแห่งชาติ ควบคุมคุณภาพ ความปลอดภัยด้านยาโดยขยายเครือข่ายงานวิเคราะห์ยา สำรวจข้อมูลวัตถุดิบสำหรับการผลิตในประเทศ +ศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตเพื่อพึ่งตนเอง วิจัยและพัฒนาศักยภาพการบำบัดโรคของยาแผนโบราณ โดยเฉพาะสำหรับงานสม. การใช้ยาอย่างเหมาะสม การพัฒนาอุตสาหกรรมยาในประเทศให้พึ่งตนเอง+เพื่อส่งออก ส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตวัตถุดิบโดยใช้ทรัพยากรภายในประเทศ วิจัยและพัฒนาสมุนไพร ยาสมุนไพร ยาแผนโบราณ เพื่อป้องกัน สสส. และบำบัด สนับสนุนการใช้บัญชียาหลักในภาครัฐและเอกชน ปรับกฎหมายให้เอื้อต่อการคุ้มครองผู้บริโภคด้านยา ศิริตรี สุทธจิตต์, อุษาวดี มาลีวงศ์, สุรศักดิ์ ไชยสงค์, ชนัตถา พลอยเลื่อมแสง, ปภัชาภร กฤธนาพัฒน์. รายงานการทบทวนเอกสารวิชาการ นโยบายแห่งชาติด้านยา: บทเรียนจากประสบการณ์นานาชาติ และข้อเสนอแนะสำหรับประเทศไทย. รายงานวิจัยเสนอต่อ แผนงานสร้างกลไกเฝ้าระวังและพัฒนาระบบยา (กพย.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ; 2552. การจัดการระบบยา (นโยบายแห่งชาติด้านยาของไทยและต่างประเทศ)

7 คณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ 2551
ศิริตรี สุทธจิตต์ คณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ 2551 การจัดการระบบยา (นโยบายแห่งชาติด้านยาของไทยและต่างประเทศ)

8 ศิริตรี สุทธจิตต์ การจัดการระบบยา (นโยบายแห่งชาติด้านยาของไทยและต่างประเทศ)

9 ร่างนโยบายแห่งชาติด้านยา
ศิริตรี สุทธจิตต์ ร่างนโยบายแห่งชาติด้านยา เมื่อวันที่ 5 ก.ย. 53 นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต ปลัดกระทรวงสาธารณสุข เปิดเผยว่า คณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ ที่มี พล.ต.สนั่น ขจรประศาสน์ รองนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน ได้ประชุมติดตามความคืบหน้าการดำเนินงานของคณะอนุกรรมการ 4 คณะ ได้แก่ คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ คณะอนุกรรมการพิจารณากำหนดราคากลางยา คณะอนุกรรมการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล คณะอนุกรรมการพัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2553 และมีมติเห็นชอบในหลักการของร่างนโยบายแห่งชาติด้านยา และยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบยาแห่งชาติ การจัดการระบบยา (นโยบายแห่งชาติด้านยาของไทยและต่างประเทศ)

10 ร่างนโยบายแห่งชาติด้านยา
เมื่อวันที่ 5 ก.ย. 53 นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต ปลัดกระทรวงสาธารณสุข เปิดเผยว่า คณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ ที่มี พล.ต.สนั่น ขจรประศาสน์ รองนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน ได้ประชุมติดตามความคืบหน้าการดำเนินงานของคณะอนุกรรมการ 4 คณะ ... เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2553 และมีมติเห็นชอบในหลักการของร่างนโยบายแห่งชาติด้านยา พ.ศ. ... และยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบยาแห่งชาติ พ.ศ. ... ซึ่งประกอบด้วย 4 เรื่องหลัก ได้แก่ 1. การเข้าถึงยา 2. การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล 3. การพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตยา ชีววัตถุ และสมุนไพร เพื่อการพึ่งพาตนเอง 4. การพัฒนาระบบการควบคุมยาเพื่อประกันคุณภาพ ประสิทธิผล และความปลอดภัยของยา

11 ร่างนโยบายแห่งชาติด้านยา
ทั้งหมดนี้จะทำให้ระบบยาของประเทศไทยมีความมั่นคง ประชาชนเข้าถึงยาที่มีคุณภาพ ปลอดภัย และมีประสิทธิผลในการรักษาโรคอย่างเสมอภาค มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ประเทศพึ่งพาตนเองได้ โดยจะนำเสนอต่อที่ประชุมคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบในเร็วๆนี้ และมอบให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องไปดำเนินการให้เกิดผลเป็นรูปธรรมต่อไป ปัญหาการใช้ยาที่ต้องแก้ไขเร่งด่วนในขณะนี้ คือ  การใช้ยาอย่างไม่สมเหตุสมผล มีการใช้ยาเกินความจำเป็นทั้งในสถานพยาบาลของรัฐและเอกชน รวมทั้งการซื้อยามาใช้เอง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ยาปฏิชีวนะ ทำให้เชื่อโรคดื้อยาหลายชนิด ผู้ป่วยต้องนอนโรงพยาบาลนานขึ้น ทำให้ต้องใช้ยาที่มีประสิทธิภาพสูงกว่าและมีราคาแพงขึ้น

12 ภาพงานด้านการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของประเทศไทย
ศิริตรี สุทธจิตต์ สำนักงาน สช. มติ 2551: ยุทธศาสตร์การเข้าถึงยาถ้วนหน้าของประชากรไทย ยุทธ์ 1 สนับสนุนผู้ป่วย เข้าถึงยา & มีส่วนร่วม ยุทธ์ 2 ราคายาให้ สอดคล้องค่าครองชีพ ยุทธ์ 3 พัฒนาอุตสาห-กรรมยาใน ปท. ยุทธ์ 4 วิจัยและพัฒนายาใหม่ ยุทธ์ 5 ลดอุปสรรคและใช้ ปย.จาก กม. ยุทธ์ 6 RUD มติ 2552: ยุทธศาสตร์ยุติการส่งเสริมการขายยาที่ขาดจริยธรรม เป้าหมาย: แผนปฏิบัติการ ตามยุทธศาสตร์ ( )  คณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ (2552) สำนักงาน อย. คณะอนุฯ RUD (ประธาน: อ. ธีรวัฒน์) (เลขา: อย.) คณะอนุฯ NLEM คณะอนุฯพิจารณา ราคากลาง คณะอนุฯ พัฒนานโยบาย และยุทธศาสตร์ (ประธาน: ปลัด สธ.) คณะทำงานร่างนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ คณะทำงานร่างนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ RUD คณะทำงานร่างนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ด้านกฎหมาย และ regulation คณะทำงานร่างนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ด้านอุตสาหกรรมยา คณะทำงานคัด เลือกยา 17 สาขา คณะทำงาน P’coeconomics เป้าหมาย: นโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบยาแห่งชาติ  (การเข้าถึงยา และ RUD) เป้าหมาย: นโยบาย-วาระแห่งชาติด้าน RUD  นโยบาย ระบบ และกลไก RUD ของประเทศ ยาปฏิชีวนะ Antibiotics Smart Use (ASU) program (2550) ยุทธ์ 1 เชื่อมกับนโยบาย RUD และยาปฏิชีวนะ ยุทธ์ 2 พัฒนาศักยภาพเครือข่ายสถานพยาบาล ยุทธ์ 3 รณรงค์ภาคประชาชน เป้าหมาย: การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลเป็น common practice ในงานประจำ และบรรทัดฐานทางสังคม เครือข่ายนักวิจัย เครือข่าย R2R (สวรส.) เครือข่าย PTC (รพ.ใหญ่) (FP: สปสช. ... กพย.) เครือข่ายเภสัชกร รพ. ชุมชน 200 PCU (FP: กพย.) สมาคมเภสัชกรรมชุมชน และร้านยาคุณภาพ นิธิมา สุ่มประดิษฐ์ ทิศทางการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของประเทศ กับโครงการ Antibiotics Smart Use. เอกสารประกอบการนำเสนอในการประชุมหารือ เรื่อง แนวทางการเชื่อมโยงการดำเนินงานด้านการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลกับเกณฑ์การประเมินโรงพยาบาลของ HA. วันที่ 8 มิถุนายน 2553 ณ. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข การจัดการระบบยา (นโยบายแห่งชาติด้านยาของไทยและต่างประเทศ)

13


ดาวน์โหลด ppt นโยบายแห่งชาติด้านยาของไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google