การจัดทำแผนระดับสถานศึกษา
แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา......... แผนพัฒนาการศึกษา ระยะกลาง (๓-๕ ปี)
การวางแผน กระบวนการของเตรียมการตัดสินใจล่วงหน้าที่จะ กำหนดแนวปฏิบัติในอนาคต เพื่อให้บรรลุ ผลสำเร็จตามเป้าหมาย โดยใช้วิธีที่ดีที่สุด
ประเภทของแผน แผนระยะยาว (Long Term Plan) (10-20 ปี) 2. แผนระยะปานกลาง (Medium Term Plan) (3-5 ปี) 3. แผนระยะสั้น (Short Term Plan) (1 ปี)
เปรียบเทียบแผน 3 ประเภท เวลา ความเป็นรูปธรรม เกี่ยวกับผู้บริหาร แผนระยะยาว > 10 ปี น้อย ระดับสูง แผนระยะปานกลาง 3-5 ปี ปานกลาง ระดับสูง-กลาง แผนระยะสั้น 1 ปี มาก ระดับปฏิบัติ
การบริหารเชิงกลยุทธ์ 1.การวางแผนกลยุทธ์ 3.การควบคุมและประเมินผลกลยุทธ์ ศึกษานโยบาย สภาพปัจจุบัน ความต้องการของผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย Feedback ผลงาน /ผลสัมฤทธิ์ Result /Performance SWOT Analysis สภาพแวดล้อมภายใน สภาพแวดล้อมภายนอก ประเมินผล แผนที่กลยุทธ์ ปัจจัยจาก 7 S มิติประสิทธิผล จุดแข็ง ปัจจัยจาก CPEST BSC / KPI หน่วยงาน KPI รายบุคคล มิติคุณภาพ จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค มิติประสิทธิภาพ ประเด็นกลยุทธ์ มิติพัฒนาองค์กร วิสัยทัศน์ ประเมินสถานภาพ *เป้าประสงค์เชิงกลยุทธ์ พันธกิจ Star Question Mark *ตัวชี้วัด เป้าประสงค์ *ค่าเป้าหมาย ปรับกระบวนการ ปฏิบัติงาน Cash Cow Dog *กลยุทธ์ *โครงการ /กิจกรรม แผนปฏิบัติการ ประจำปี (1ปี) *งบประมาณ แบบประเพณีนิยม (Conventional Method) 2.การนำกลยุทธ์ ไปสู่การปฏิบัติ จัดทำโครงการ แบบเหตุผลสัมพันธ์ (Logical Framework)
> > > > ^ ^ ^ ^ ^ คำถามเชิงกลยุทธ์ Where are we now? 1 2 3 4 5 Where are we now? Where do we want to go? How do we get there? What do we have to do or Change in order to get there? How do we measure Our progress and Know have gotten there ? สภาพ แวดล้อม ใน+นอก (SWOT) วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ การควบคุมและ ประเมิน กลยุทธ์ การกำหนดกลยุทธ์ การปฏิบัติ งานตาม กลยุทธ์ > > > > ^ ^ ^ ^ ^
1.Where are we now? ขณะนี้เราอยู่ที่ไหน
สิ่งที่ต้องศึกษาในการวางแผน 2.ศึกษาผลการ ดำเนินงานที่ผ่านมา 1.ศึกษานโยบายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.ศึกษาความต้องการ ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โรงเรียน 4.ศึกษาสภาพแวดล้อม ภายนอกภายใน
1. การศึกษานโยบายต่างๆที่เกี่ยวข้อง
แผนระดับโรงเรียนต้องศึกษาอะไรบ้าง รัฐธรรมนูญ/นโยบายรัฐบาล นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายและจุดเน้น สพฐ. นโยบายสพป.ระยอง เขต 1 ยุทธศาสตร์จังหวัด
มาตรา ๕๔ รัฐต้อง ดำเนินการให้เด็กทุกคนได้รับ การศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี ตั้งแต่ก่อนวัยเรียน จนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมี คุณภาพโดย ไม่เก็บค่าใช้จ่าย
นโยบายของรัฐบาล ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา ข้อ ๑ การปกป้องและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ ข้อ ๓ การลดความเหลื่อมล้ำของสังคม และการสร้าง โอกาสการเข้าถึงบริการของรัฐ ข้อ ๔ การศึกษาและการเรียนรู้ การทำนุบำรุง ศาสนาศิลปะและวัฒนธรรม ข้อ ๕ การยกระดับคุณภาพบริการด้านสาธารณสุข และสุขภาพของประชาชน ข้อ ๖ การเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ ข้อ ๑๐ การส่งเสริมการบริหารราชการแผ่นดินที่มี ธรรมาภิบาล และการป้องกันปราบปรามการทุจริตและ ประพฤติมิชอบในภาครัฐ
นโยบายและจุดเน้นเชิงนโยบาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ๑. น้อมนำแนวพระราชดำริ สืบสานพระ ราชปณิธานและ พระบรมราโชบายด้านการศึกษา ๒. การดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี (๖ ยุทธศาสตร์ : มั่นคง/แข่งขัน/พัฒนา ศักยภาพคน/ สร้างโอกาสและลดความเหลื่อมล้ำ/ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม/ ระบบการบริหาร จัดการ)
จุดเน้นสพฐ. ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ด้านหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา ด้านพัฒนากำลังคนและงานวิจัยที่สอดคล้องกับความต้องการของ ประเทศ ๔. ด้านการทดสอบ การประเมิน การประกันคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ๕. ด้าน ICT เพื่อการศึกษา ๖. ด้านการบริหารจัดการ
นโยบาย สพป.ระยอง เขต ๑ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ หลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอน ๑๕ ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การพัฒนาครู ๕ ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การทดสอบ การประเมิน การประกันคุณภาพ และการพัฒนามาตรฐานการศึกษา ๖ ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ ๔ งานวิจัยที่สอดคล้องกับความต้องการ ๓ ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ ๕ ICT เพื่อการศึกษา ๓ ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ ๖ การบริหารจัดการ
ยุทธศาสตร์จังหวัดระยอง วิสัยทัศน์จังหวัดระยอง “เมืองแห่งความสมดุล เพื่อชีวิตพอเพียง” ยุทธศาสตร์ ส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตรและเกษตรแปรรูปให้มีคุณภาพมาตรฐานปลอดภัยตอบสนองความต้องการของตลาดทั้งภายในและต่างประเทศ ๒. ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวให้เติบโต ควบคู้กับภาคเกษตรและอุตสาหกรรมอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน ๓. ส่งเสริมการพัฒนาภาคอุตสาหกรรมเข้าสู่อุตสาหกรรมเชิงนิเวศน์และสนับสนุนการดำเนินการที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม ๔. อนุรักษ์ ฟื้นฟูและควบคุมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมบนพื้นฐานของการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ๕. เสริมสร้างมาตรฐานการดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการมีส่วนร่วมของประชาชน ๖. เชื่อมโยงและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันภาคพาณิชยกรรมและภาคบริการสู่สากล
จุดมุ่งหมายในการจัดการศึกษา พัฒนา คนไทย ให้สมบูรณ์ พัฒนา คนไทย ให้สมบูรณ์ ร่างกายแข็งแรง มีความรู้ มีอาชีพ พึ่งตนเอง รักษ์สิ่งแวดล้อม ริเริ่มสร้างสรรค์ จิตใจดี คุณธรรม ความรู้สากล ประชาธิปไตย ทรัพยากรธรรมชาติ
2. การศึกษาผลการดำเนินงานที่ผ่านมา
ข้อมูลโรงเรียนที่ต้องรวบรวม 1. จำนวนนักเรียน ครู ผู้บริหารห้องเรียน อาคารเรียน 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา 3. ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน(LocalAssessment System) 4. ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับชาติ (O-Net) 5. รายงานการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา (SAR) 6. นักเรียนจำแนกประเภท 7. อัตราการมาเรียน และอัตราผู้เรียนออกกลางคัน 8. สุขภาพผู้เรียน ....
3.ศึกษาความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมายถึง ผู้ได้ผลกระทบทั้งทางบวก และทางลบทั้งทางตรง และทางอ้อมจากการดำเนิน งานของหน่วยงาน
ประเภทผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผอ.โรงเรียน รองผอ.โรงเรียน *ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายในหน่วยงาน บุคลากรทางการศึกษา ลูกจ้าง * ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยตรงในการรับบริการ นักเรียน ผู้ปกครอง * ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในสังคมแต่อยู่นอกหน่วยงาน อปท. สื่อมวลชน ชุมชน องค์คณะบุคคล
ความคาดหวังที่สถานศึกษาต้องการจาก ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย วิเคราะห์ความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความคาดหวังที่สถานศึกษาต้องการจาก ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความคาดหวังที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต้องการจากสถานศึกษา
ตารางที่ 1 ตารางวิเคราะห์กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต้องการจากหน่วยงาน กลุ่ม ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ความคาดหวังที่หน่วยงาน ต้องการจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย แนวทาง การดำเนินงาน ผอ.รร. ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ มีภาวะผู้นำสูง มีคุณธรรมและ ยุติธรรม 1. ผู้บริหารเป็นผู้นำในการพัฒนา เป็นโรงเรียนมีคุณภาพตาม มาตรฐาน 2. พัฒนาบุคลากรใน รร.ให้มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงาน 3. ผอ.รร.ติดตาม นิเทศอย่างสม่ำเสมอ
ครู ตารางที่ 2 ตารางวิเคราะห์กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต้องการจาก หน่วยงาน ความคาดหวังที่ หน่วยงานต้องการจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย แนวทาง การดำเนินงาน กลุ่ม ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ครู 1.ต้องการสื่อการสอนที่ใช้ในการปฏิบัติการสอนเพียงพอและมีคุณภาพ 2. ต้องการได้รับการพัฒนาเพื่อเพิ่มพูนประสบการณ์ 3. สวัสดิการที่ดี 1. ดูแลเอาใจใส่เด็กเสมือนลูกหลานตนเอง 2. ปฏิบัติงานเต็มความ สามารถเต็มเวลา 1.จัดหาสื่อการเรียนการสอนที่ทันสมัย 2.ส่งบุคลากรไปอบรมศึกษาดูงาน พัฒนาความรู้ 3. จัดสวัสดิการให้เหมาะสมและตรงกับความต้องการ
ตารางที่ 4 ตารางวิเคราะห์กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต้องการจาก หน่วยงาน ความคาดหวังที่ หน่วยงานต้องการจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย แนวทาง การดำเนินงาน กลุ่ม ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย นักเรียน 1.ต้องการครูผู้สอนที่สอนเก่ง สนุก มีสื่อการสอนหลากหลาย 2. ต้องการไปร่วมการแข่งขันประกวดทางวิชาการบ่อยๆ 1.นักเรียนตั้งใจศึกษาเล่าเรียน มีระเบียบวินัย เป็นคนเก่งคนดี 2.ต้องการให้นักเรียนไปสอบเข้ามหาวิทยาลัยหรือไปทำงานได้ 1.เน้นโรงเรียนจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตร เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 2.จัดการแข่งขันทางวิชาการทุกภาคเรียน 3.จัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
อปท. ตารางที่ 5 ตารางวิเคราะห์กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต้องการจาก หน่วยงาน ความคาดหวังที่ หน่วยงานต้องการจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย แนวทาง การดำเนินงาน กลุ่ม ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย อปท. 1. กทม.เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา 2. สนับสนุนปัจจัยการศึกษาให้กับ สพม.และโรงเรียน 1.ต้องการให้โรงเรียนในพื้นที่รับผิดชอบมีมาตรฐาน 2.ต้องการให้นักเรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพ 3. ต้องการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา 1. สนับสนุนการมีส่วนร่วมของ กทม. 2. กทม.สนับสนุนงบประมาณในการบริการจัดการของโรงเรียน
ภาพนี้สะท้อนให้เห็นถึงการบริหารในสถานศึกษาอย่างไร