สรุปความสอดคล้องระหว่างมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลยุทธ์โรงเรียน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเขียว
Advertisements

การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
องค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
มาตรฐานคุณภาพการสอน ของ คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู (The National Board for Professional Teaching Standards) วิกฤติอาชีพครู พัฒนาวิชาชีพครู
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
มาตรฐานครูสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทย
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต ๒.
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
โครงการ “ พัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา เรียนร่วมและเรียนรวม”
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 4 กับ มาตรฐานการอาชีวศึกษา พ. ศ
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทย บริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัด.
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
แผนยุทธศาสตร์ฯ ด้านทรัพยากรบุคคล ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ตราด.
ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน.
โครงการพัฒนา ศักยภาพบุคลากร เพื่อยกระดับการ บริหารจัดการเชิงกล ยุทธ์และพัฒนาอัต ลักษณ์ผู้เรียนภาค บังคับ สู่ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ๒๐ - ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๘.
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
โรงเรียน มาตรฐานสากล หมายถึง โรงเรียนที่พัฒนา หลักสูตรและจัดการเรียน การสอนอย่างมีคุณภาพ เทียบเคียงมาตรฐานสากล รวมทั้งมีการบริหารจัดการ ด้วยระบบคุณภาพ.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
๓ มุ่งหน้าสู่พื้นที่ “จุดเริ่มและเป้าหมายอยู่ที่พื้นที่”
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การบริหารหลักสูตร.
เครื่องมือการตรวจติดตามการประเมินผลการจัดการศึกษา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
ดร. วัฒนาพร ระงับทุกข์ รักษาการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานการศึกษา
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
การจัดสรรงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ 2561
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 14
แผนปฏิบัติการ กลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 8
การระดมความคิดเห็นโรงเรียนคุณภาพประจำตำบลของ กลุ่มที่ 9 ภาคเหนือตอนบน แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ เชียงราย พะเยา ลำปาง ลำพูน แพร่ น่าน.
กลุ่มที่ 7 กาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด นครราชสีมา.
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง (TOR) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม . . ฝ่ายวิชาการ . .
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
เอกสาร/หลักฐาน/ ร่องรอย เพื่อ จัดเก็บใน 13 แฟ้ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปความสอดคล้องระหว่างมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลยุทธ์โรงเรียน ตัวบ่งชี้ และโครงการ เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการโรงเรียนกันทรารมณ์ ปีงบประมาณ 2562

10. กลยุทธ์ระดับแผนงาน (10 โครงการ) โครงการส่งเสริมศักยภาพผู้เรียนให้มีทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 โครงการพัฒนาระเบียบวินัย ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โครงการพัฒนาครูสู่ความเป็นครูในศตวรรษที่ 21 โครงการพัฒนาศักยภาพและสมรรถนะครู โครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา โครงการพัฒนาสื่อและแหล่งเรียนรู้ โครงการพัฒนาระบบงานด้วยระบบคุณภาพ โครงการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โครงการสร้างเสริมความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน

กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริมศักยภาพผู้เรียนให้มีทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน โครงการส่งเสริมศักยภาพผู้เรียนให้มีทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสาร การแก้ปัญหา การคิดริเริ่มสร้างสรรค์ การทำงานและการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกที่เท่าทันการใช้สื่อเทคโนโลยี สารสนเทศ ตัวบ่งชี้ที่ 1 ผู้เรียนมีทักษะการคิดสร้างสรรค์ การสื่อสาร แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วยวิธีการที่หลากหลาย เพื่อสร้างองค์ความรู้ในการทำงานร่วมกัน นำไปสู่การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สินค้าและบริการเชิงนวัตกรรมเพื่อแก้ปัญหาสังคม ตัวบ่งชี้ที่ 2 ผู้เรียนมีทักษะการปรับตัว รู้เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก มีเป้าหมายการเรียนรู้ เป้าหมายชีวิตการทำงาน การประกอบอาชีพ และกำกับดูแลตนเองด้วยความรับผิดชอบเพื่อให้เกิดความสำเร็จตามเป้าหมาย ตัวบ่งชี้ที่ 3 ผู้เรียนมีผลงานการประดิษฐ์ สร้างสรรค์ การออกแบบ สื่อสาร นำเสนอ แลกเปลี่ยนผลงานตามความถนัดและความสนใจ เผยแพร่และนำไปใช้จริงตรงตามความต้องการของชุมชน ตัวบ่งชี้ที่ 4 ผู้เรียนมีทักษะการสื่อสาร อ่าน เขียน ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาต่างประเทศที่ 2 และความสามารถในการคิดคำนวณตามเกณฑ์ของแต่ละระดับชั้น ตัวบ่งชี้ที่ 5 ผู้เรียนมีพัฒนาการทางด้านร่างกาย จิตใจ มีสุนทรียภาพ และสามารถป้องกันตนเองจากภัยสังคม ตัวบ่งชี้ที่ 6 ผู้เรียนมีความเข้าใจ ใช้สื่อ เทคโนโลยี สารสนเทศ ในการเข้าถึงองค์ความรู้เพื่อการเรียนรู้ การสื่อสาร การดำเนินชีวิต และมีจริยธรรมในการใช้สื่อ

กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริมศักยภาพผู้เรียนให้มีทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน 2) โครงการพัฒนาระเบียบวินัย ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อพัฒนาคุณลักษณะด้านการเรียนรู้ การทำงานและด้านศีลธรรม เป็นไปตามคุณลักษณะตามหลักสูตรสถานศึกษาและค่านิยม 12 ประการ ตัวบ่งชี้ที่ 7 ผู้เรียนมีคุณลักษณะด้านการเรียนรู้ การทำงานและด้านศีลธรรม เป็นไปตามคุณลักษณะตามหลักสูตรตลอดจนค่านิยม 12 ประการ ตามที่สถานศึกษากำหนด ตัวบ่งชี้ที่ 8 ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นรูปธรรมและมีความภูมิใจในท้องถิ่นบนความแตกต่างกันของวัฒนธรรม เห็นคุณค่าเกี่ยวกับภูมิปัญญาไทย แสดงออกได้อย่างเหมาะสม

3) โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริมศักยภาพผู้เรียนให้มีทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน 3) โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและนำผลการประเมินระดับชาติมาปรับปรุงพัฒนาตามกลุ่มศักยภาพผู้เรียน ตัวบ่งชี้ที่ 9 ผู้เรียนมีความก้าวหน้าด้านความรู้ ความเข้าใจ และทักษะต่าง ๆ ตามหลักสูตร มีผลงานและความรับผิดชอบตรวจสอบได้ ตัวบ่งชี้ที่ 10 ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้นร้อยละ 3 และคะแนนเฉลี่ยผลการสอบวัดระดับชาติ (O-net) ระดับชั้นม.3 และระดับชั้น ม.6 ในสาระการเรียนรู้มีพัฒนาการสูงขึ้น

กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาศักยภาพและจรรยาบรรณวิชาชีพครู มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 4) โครงการพัฒนาครูสู่ความเป็นครูในศตวรรษที่ 21 เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้รองรับกระบวนการจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการ Active Learning ที่สอดคล้องกับมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร ตัวบ่งชี้ที่ 21 ครูมีแผนการจัดการเรียนรู้ที่มีกิจกรรมการเรียนรู้เป็นไปตามกระบวนการ Active Learning ที่สอดคล้องกับมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร ตัวบ่งชี้ที่ 22 ครูมีการจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการ Active Learning การศึกษาและสร้างองค์ความรู้ (IS) บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ (STEM) โดยยึดโยงกับบริบทของชุมชนและท้องถิ่น ตัวบ่งชี้ที่ 23 ครูมีเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้ตามสภาพจริงที่อิงมาตรฐานและตัวชี้วัด ตัวบ่งชี้ที่ 24 ครูมีบันทึกผลการเรียนรู้ และวิจัยในชั้นเรียนที่แสดงศักยภาพ ทักษะ ความรู้ และคุณลักษณะนิสัยเป็นไปตามเกณฑ์ของตัวชี้วัดรายวิชา ในแต่ละกลุ่มศักยภาพของผู้เรียนที่นำผลย้อนกลับไปปรับปรุงพัฒนาผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ 25 ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามกระบวนการ Project based Learning ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนผลิตงานอย่างสร้างสรรค์บนพื้นฐานความพอเพียง ตัวบ่งชี้ที่ 26 ครูมีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยี ในการดำเนินการตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรรายวิชา ตัวบ่งชี้ที่ 27 ครูสามารถใช้ภาษาต่างประเทศในการสื่อสาร และการจัดการเรียนการสอน

กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาศักยภาพและจรรยาบรรณวิชาชีพครู กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาศักยภาพและจรรยาบรรณวิชาชีพครู มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 5 ) โครงการพัฒนาศักยภาพและสมรรถนะครู เพื่อพัฒนาศักยภาพและจรรยาบรรณทางวิชาชีพครูโดยการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ ตัวบ่งชี้ที่ 28 ครูมีการปฏิบัติตนตามมาตรฐานวิชาชีพครูและจรรยาบรรณวิชาชีพครู มีแผนการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพครูเป็นรายบุคคล (ID PLAN) ผ่านกระบวนการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) กลยุทธ์ที่ 4 ยกระดับคุณภาพถานศึกษาสู่มาตรฐานสากล มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้ผู้บริหารสถานศึกษา เพื่อพัฒนาความก้าวหน้าสมรรถนะวิชาชีพครูและสนับสนุนสวัสดิการครูให้ตรงความต้องการเป็นรายบุคคล ตัวบ่งชี้ที่ 18 โรงเรียนมีแผนการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพครู สวัสดิการเป็นรายบุคคล และมีการบันทึกข้อมูลผลงานเชิงประจักษ์ที่เป็นไปตามมาตรฐานการปฏิบัติงานรายปี

กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาตามกลุ่มศักยภาพนักเรียน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้ผู้บริหารสถานศึกษา 6) โครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษารองรับกลุ่มศักยภาพผู้เรียน มีระบบงานแนะแนวและจัดวางเส้นทางศึกษาต่อสู่การประกอบอาชีพ ตัวบ่งชี้ที่ 11 โรงเรียนมีแผนการเรียนรองรับเป้าหมายชีวิตของกลุ่มศักยภาพผู้เรียนสู่เส้นทางการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ ตัวบ่งชี้ที่ 12 โรงเรียนมีระบบแนะแนวการศึกษา แนะแนวอาชีพ และแนะแนวทักษะชีวิต และจัดทำระเบียนสะสม และแฟ้มสะสมผลงานเส้นทางการศึกษาต่อสู่การประกอบอาชีพ (Career Path fort folios)

กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาตามกลุ่มศักยภาพนักเรียน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้ผู้บริหารสถานศึกษา 7) โครงการพัฒนาสื่อและแหล่งเรียนรู้ เพื่อจัดหาและพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ สื่อ แหล่งเรียนรู้ สิ่งอำนวยความสะดวก ในการเข้าถึงความรู้และแหล่งเรียนรู้ตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตัวบ่งชี้ที่ 13 โรงเรียนมีระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ สิ่งอำนวยความสะดวก รองรับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูและนักเรียน ตัวบ่งชี้ที่ 14 โรงเรียนมีห้องปฏิบัติการ ห้องสืบค้นความรู้ ที่มีระบบเทคโนโลยีการเข้าถึงความรู้ แหล่งเรียนรู้ และบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ตัวบ่งชี้ที่ 15 โรงเรียนจัดให้มีแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่ยึดโยงกับบริบทชุมชนและท้องถิ่น

กลยุทธ์ที่ 4 ยกระดับคุณภาพถานศึกษาสู่มาตรฐานสากล มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้ผู้บริหารสถานศึกษา 8) โครงการพัฒนาระบบงานด้วยระบบคุณภาพ เพื่อพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ การจัดการความรู้ (KM) การวางแผนพัฒนาการจัดการศึกษา และระบบประกันคุณภาพ ระบบการนิเทศ กำกับ ติดตาม ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ 16 โรงเรียนมีระบบข้อมูลสารสนเทศที่มีคุณภาพในการบริหารจัดการครอบคลุมภารกิจทุกด้าน และมีการจัดการความรู้ (KM) เพื่อพัฒนาการบริหารจัดการโรงเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวบ่งชี้ที่ 17 โรงเรียนมีแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา และมีระบบการกำกับติดตามการดำเนินงานตามแผนพัฒนาการศึกษา ที่สะท้อนความก้าวหน้าของพันธกิจ เป้าประสงค์

กลยุทธ์ที่ 4 ยกระดับคุณภาพสถานศึกษาสู่มาตรฐานสากล มาตรฐานที่ 4 ระบบประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผล 9) โครงการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา เพื่อพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ การจัดการความรู้ (KM) การวางแผนพัฒนาการจัดการศึกษา และระบบประกันคุณภาพ ระบบการนิเทศ กำกับ ติดตาม ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ 29 โรงเรียนใช้ระบบการประกันคุณภาพภายในเพื่อยกระดับการจัดการคุณภาพการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพและครบองค์ประกอบ

กลยุทธ์ที่ 5 ส่งเสริมความร่วมมือภาคีเครือข่ายในการจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา 10) โครงการสร้างเสริมความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน เพื่อพัฒนาภาคีเครือข่ายความร่วมมือสถาบันการศึกษา สถานประกอบการ กลุ่มอาชีพอิสระและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการกำหนดความต้องการและสนับสนุนการจัดการศึกษาเป็นแหล่งเรียนรู้ฝึกประสบการตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตัวบ่งชี้ที่ 19 โรงเรียนมีระบบข้อมูลการให้บริการสาธารณะกับบุคคลหน่วยงาน ชุมชน ท้องถิ่นที่แสดงความพึงพอใจในการเข้ามาเป็นภาคีเครือข่ายความร่วมมือ ตัวบ่งชี้ที่ 20 โรงเรียนมีความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา สถานประกอบการ กลุ่มอาชีพอิสระ และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการกำหนดความต้องการการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพและได้มาตรฐาน