4/8/2019 การประเมินผล สถานศึกษาแบบอย่างการจัดกระบวนการเรียนการสอนและการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง “สถานศึกษาพอเพียง” โดย รจนา สินที หัวหน้ากลุ่มโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สำนักกิจการพิเศษ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
“ยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา (๒๕๕๐-๒๕๕๔) เป้าหมาย ระยะที่ ๑ ปี ๒๕๕๐ กำหนดให้มีสถานศึกษาที่สามารถเป็นแบบอย่างในการจัดกระบวรการเรียนการสอนและการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไม่ต่ำกว่า ๘๐ แห่ง ผล ๑๓๕ แห่ง
ระยะที่ ๒ ปี ๒๕๕๑-๒๕๕๒ กำหนดให้มีสถานศึกษาที่สามารถเป็นแบบอย่างในการจัดกระบวรการเรียนการสอนและการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทุกจังหวัด ๘๐๐ แห่ง ผล ๑,๑๒๖ แห่ง ระยะที่ ๓ ปี ๒๕๕๓-๒๕๕๔ พัฒนาให้สถานศึกษาสามารถนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ ในการจัดกระบวรการเรียนการสอนและการบริหารจัดการที่เหมาะสมกับบริบทของแต่ละสถานศึกษาได้ครบทุกแห่งทั่วประเทศ
“ผลการประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ภาคการศึกษา เห็นชอบให้มีการขยายผลการประเมินสถานศึกษา เพื่อเป็นสถานศึกษาพอเพียง โดย ใช้เครื่องมือและเกณฑ์การประเมิน ๕ ด้าน ๒.ให้มีคณะกรรมการประเมินที่ผ่านการอบรมและได้รับแต่งตั้งจากกระทรวง จำนวน ๒ใน ๓
“๓. ให้มีการสุ่มตรวจผลการประเมินจากคณะกรรมการจากส่วนกลาง ๔. ศธ. ประกาศให้เป็นสถานศึกษาพอเพียง วิธีการ ศธ. อบรมผู้ที่จะเป็นกรรมการประเมินเป็นโดยให้แต่ละเขตส่งผู้ที่จะทำหน้าที่ประเมิน ศธ.แต่งตั้งผู้ผ่านการอบรมเป็นรายจังหวัด ๓. สถานศึกษาที่สมัครใจรับการประเมิน ประเมินตนเอง ให้สถานศึกษาที่จะขอรับการประเมิน ประเมินตนเอง ด้วยความสมัครใจ
“๔. แต่ละจังหวัดประเมินโดยไขว้เขตพื้นที่ ๕. ศธ. จัดทำประกาศสถานศึกษาพอเพียง รับเกียรติบัตร จัดทำป้าย “สถานศึกษาพอเพียง ....
www.moe.go.th subschool.net หน่วยประสานงาน 4/8/2019 ศูนย์ขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงศึกษาธิการ สำนักกิจการพิเศษ (อาคารเสมารักษ์ชั้น ๓) สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ถนนราชดำเนินนอก เขตดุสิต กทม. ๑๐๓๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๖๒๘ ๖๓๙๘-๙ ๐ ๘๙๙๖๕ ๖๕๔๖ โทรสาร ๐ ๒๖๒๘ ๖๔๐๐ ๐ ๒๖๒๘ ๖๓๙๖ www.moe.go.th subschool.net E-Mail:rotchsin@emisc.moe.go.th