ทฤษฎีและหลักการของการวัดและการประเมินผลการศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

การประชุมสัมมนาเครือข่ายการจัดการความรู้
สรุปประเด็นสำคัญเรื่องเล่า
นายชิดชัย อังคะ ไวมงคล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ ผังเมือง นายมนัส ปรุง ทำนุ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ ร. อ. ปกรณ์เดช โลหิตหาญ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ.
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
การเขียนโครงร่างวิจัย
Entity-Relationship Model E-R Model
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา
กระบี่ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
ชลบุรี ว่าง นายชิดชัย อังคะไวมงคล
เทคนิคการตรวจสอบภายใน
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
กรณีศึกษาของเยาวชนที่กระทำความผิดคดีฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา : สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดสระบุรี ผู้วิจัย โยธิน จารุจุฑารัตน์ หลักสูตร ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
ศักยภาพและการมีส่วนร่วมของ ชุมชนในโครงการเส้นทางการ ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ในจังหวัด นครสวรรค์ พัชรี ดินฟ้า, ไชยา อู๋ชนะภัย, สุนันทา เทียมคำ สาขาภูมิศาสตร์
การต่อเวลาราชการ 65 ปี สังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น งานบริหารงานบุคคล กองการ เจ้าหน้าที่ สำนักงานอธิการบดี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.
การจัดกิจกรรม ชุมนุม Science Club. การจัดกิจกรรมชุมนุมสนองตอบ วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา ตามมาตรา ๒๔ ได้อย่างครบถ้วน.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
นำเสนอวิธีปฏิบัติที่ดี ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
หลักการของจริยธรรมทางกฎหมาย
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
การโฆษณา การประชาสัมพันธ์
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
บทที่ 9 งบประมาณการลงทุน
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
Supply Chain Management
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
การปกครองท้องถิ่น ในปัจจุบัน
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism)
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พลเมืองดี.
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
(Code of Ethics of Teaching Profession)
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทฤษฎีและหลักการของการวัดและการประเมินผลการศึกษา

จัดทำโดย 1.นายเกียรติศักดิ์ สมานมิตร 483050005-4 1.นายเกียรติศักดิ์ สมานมิตร 483050005-4 2.นางสาวจุฑารัตน์ สุระมณี 483050010-1 3.นางสาวปริญญา พันธ์วิไล 483050018-5 4.นางสาวพรรณวรินทร์ วงษ์หอม 483050021-6 5.นางสาวภัทธิรา นวลตา 483050022-4 6.นางสาวสมฤดี ใจเสือกุล 483050037-1 7.นายอนุชิต ผลภิญโญ 483050043-6 สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ทฤษฎีและหลักการของการวัดและการประเมินผลการศึกษา 1.การวัด (Measurement) ? หมายถึง กระบวนการกำหนดตัวเลขหรือสัญลักษณ์ให้กับ บุคคล สิ่งของ หรือเหตุการณ์อย่างมีกฎเกณฑ์ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่แทนปริมาณหรือคุณภาพของลักษณะที่จะวัด

องค์ประกอบของการวัดผล การวัดผลมีองค์ประกอบ 3 ประการ ดังต่อไปนี้ 1. ปัญหาหรือสิ่งที่จะวัด 2. เครื่องมือวัดหรือเทคนิควิธีในการรวบรวมข้อมูล 3. ข้อมูลเชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพ

2. การประเมินผล (Evaluation) ? หมายถึง การตัดสินคุณค่า หรือคุณภาพของผลที่ได้จากการวัดโดยเปรียบเทียบกับผลการวัดอื่นๆ หรือเกณฑ์ที่ตั้งไว้

องค์ประกอบของการประเมินผล การประเมินผลมีองค์ประกอบ 3 ประการ ดังต่อไปนี้ 1. ข้อมูล 2. เกณฑ์ 3. การตัดสินคุณค่าหรือการตัดสินใจ

ความสัมพันธ์ระหว่างการวัดผลการศึกษาและการประเมินทางการศึกษา การประเมินผล = การวัดผล + การตัดสินคุณค่า (Evaluation) (Measurement) + (Judgement)

เขียนสรุปเป็นแผนภาพได้ดังนี้ พฤติกรรมหรือ คุณลักษณะ วิธีการหรือ เครื่องมือในการวัด ผลการวัด การตัดสินใจ เกณฑ์หรือมาตรฐาน

ทฤษฎีของการวัดและการประเมิน 1)ทฤษฎีการกำหนดคุณค่า 2) ทฤษฎีเกณฑ์การประเมิน 3) ทฤษฎีรูปแบบการประเมิน

1) ทฤษฎีการกำหนดคุณค่า โมเดล 1.1) เอกมิติของการกำหนดคุณค่า Intrinsic Extrinsic Criteria Indicators Empirical MERIT VALUE OR WORTH C1 C2 I2 D2 Dk Ik Ck D1 I1 D3 I3 C3

1.2) พหุมิติของการกำหนดคุณค่า Intrinsic Extrinsic Criteria Indicator Empirical MERIT VALUE 1 C11_1 C12 I12 D12 D11 I11 D13 I13 C13 2 D21 I21 C21 D22 I22 C22 D23 I23 C23 3 D31 I31 C31 D32 I32 C32 D33 I33 C33 CONTEXT

2) ทฤษฎีเกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การประเมินด้วยการตัดสินใจ ชนิดการประเมิน ก่อนการปฏิบัติ เกณฑ์ เกณฑ์สัมบูรณ์ ตัวบ่งชี้หลัก ความจำเป็นที่เป็นไปได้ วัตถุประสงค์ของการประเมิน การกำหนดคุณค่ากำหนดคุณ การวางแผน เกณฑ์สัมบูรณ์ ประชาการ งบประมาณ ระหว่างลงมือปฏิบัติ ปัจจัยป้อนเข้า ประสิทธิผล - ประสิทธิภาพ หลังการปฏิบัติ เกณฑ์สัมพัทธ์ ผลผลิต ผลที่ตามมา

3) ทฤษฎีรูปแบบการประเมิน มิติของรูปแบบการประเมิน มี 2 มิติ คือ 1. มิติวัตถุประสงค์ : Decision – oriented V.S. Value oriented Evaluation 2) มิติวิธีการ: Systematic V.S. Naturalistic Approaches

1. มิติวัตถุประสงค์ (Decision – oriented V. S 1.มิติวัตถุประสงค์ (Decision – oriented V.S. Value oriented Evaluation) 1.1 การประเมินเน้นการตัดสินใจ (Decision – orented Evaluation) เป็นการประเมินที่เน้นการเสนอสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจทางการบริหารซึ่งบทบาทสำคัญของนักประเมินคือ การตอบสนองความต้องการสารสนเทศของผู้บริหารโดยขึ้นอยู่กับผู้บริหารในการกำหนกบริบทของการตัดสินใจและเกณฑ์การตัดสินความสำเร็จของโครงการ นักประเมินไม่ควรเข้าไปมีส่วนในกระบวนการตัดสินใจทางการบริหาร เพราะจะทำให้เสียความเป็นกลางในการประเมิน

1.2 การประเมินเน้นการตัดสินคุณค่า (Value – orented Evaluation) เป็นการประเมินที่เน้นการตัดสินคุณค่าของสิ่งที่ประเมิน โดยบทบาทของนักประเมินคือ การตัดสินคุณค่า ถ้านักประเมินไม่ได้มีส่วนในกระบวนการตัดสินคุณค่าของสิ่งที่มุ่งประเมิน ถือว่ายังไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่อย่างสมบูรณ์และนักประเมินต้องตัดสินคุณค่าที่แท้จริงทั้งหมดไม่เพียงแต่คุณค่าของผลที่คาดหวังไว้เท่านั้นแต่จะต้องครอบคลุมถึงคุณค่าของผลที่มิได้คาดหวังด้วย

2) มิติวิธีการ: Systematic V.S. Naturalistic Approaches 2.1 วิธีเชิงระบบ (Systematic Approach) 2.2 วิธีเชิงธรรมชาติ (Naturalistic Approach)

ความแตกต่างที่สำคัญระหว่างการประเมินด้วยวิธีเชิงระบบ และวิธีเชิงธรรมชาติ สามารถสรุปได้ดังนี้

รายการ วิธีเชิงระบบ วิธีเชิงธรรมชาติ 1.ที่มาของวิธีการ 2.รูปแบบ 3.กาจัดและทำ 4.การมองคุณค่า 5.วิธีการ 6.เครื่องมือที่นิยมใช้ 7.การเก็บรวบรวมข้อมูล 8.การวิเคราะห์ข้อมูล 9.ผู้ใช้ผลการประเมิน วิทยาศาสตร์ เศรษฐศาสตร์จิตวิทยาเชิงทดลอง เป็นทางการ (formall) สูง(high structured) คุณค่าเชิงเดียว(singular) ปรนัย(objectivism) เครื่องมือมาตรฐาน อาศัยความร่วมมือจากกลุ่มตัวอย่าง การวิเคราะห์ทางสถิติ นักวิชาการ ศิลปะศาสตร์ มนุษยศาสตร์วารสารศาสตร์ ไม่เป็นทางการ (informall) ต่ำ(low structured) คุณค่าเชิงพหุ(pluralistic) อัตนัย(subjectivism) การสังเกต/การสัมภาษณ์การจดบันทึกเหตุการณ์ตามธรรมชาติ การเชื่อมโยงเหตุผล บุคคลทั่วๆไป

4. หลักการวัดผลและประเมินผลการศึกษา 1) การวัดและประเมินผลการศึกษา เป็นกระบวนการตรวจสอบว่าการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ได้จัดให้กับผู้เรียนนั้น ผู้เรียนสามารถบรรลุตามจุดมุ่งหมายมากน้อยเพียงใด ความผิดพลาดที่ทำให้การวัดได้ไม่ตรงกับจุดมุ่งหมายมีดังนี้ 1.1) ไม่ศึกษาหรือนิยามคุณลักษณะที่ต้องการจะวัดให้ชัดเจน 1.2) ใช้เครื่องมือไม่สอดคล้องกับสิ่งที่ต้องการจะวัด 1.3) วัดได้ไม่ครบถ้วน 1.4) เลือกกลุ่มตัวอย่างที่จะวัดไม่เหมาะสม

2) ใช้เครื่องมือที่มีคุณภาพ 3) คำนึงถึงความยุติธรรม 4) การแปลผลให้ถูกต้อง 5) ใช้ผลของการวัดและการประเมินให้คุ้มค่า

หนังสืออ้างอิง พิชิต ฤทธิ์จรูญ. หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : เฮ้า ออฟ เคอร์มีสท์, 2545 ศิริชัย กาญจนวาสี. ทฤษฎีการประเมิน. พิมพ์ครั้งที่2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2537 สมบูรณ์ ตันยะ. การประเมินทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น, 2545

จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ/ครับ