การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเขียว
Advertisements

กองคลัง ประเด็นยุทธศาสตร์กรมฯ ยุทธศาสตร์กองคลัง
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ณ 31 พฤษภาคม
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2623 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4239 อัตราว่าง จำนวน 3 อัตรา ( ชำนาญการพิเศษ = 2 ชำนาญการ = 1) มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
แผนยุทธศาสตร์ฯ ด้านทรัพยากรบุคคล ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ตราด.
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบ บริหารจัดการ ประเด็น การพัฒนาบุคลากร ประเด็น ตรวจราชการ ขั้นต อน ที่ 1 ขั้นต อน ที่ 2 ขั้นต อน ที่ 3 ขั้นต อน ที่ 4 ขั้นต อน ที่
ที่มา : ศ. ดร. ชาญ ณรงค์ พรรุ่งโรจน์. 6 จุดเริ่มต้น ของการประกัน คุณภาพ การประกันคุณภาพ เริ่มต้นที่ความ พยายามของ ผู้บริหาร ครู และ ผู้เข้ารับการอบรม.
เสียงสะท้อนจากพื้นที่การ ดำเนินงานตามนโยบายกรม สุขภาพจิต : การพัฒนางาน ด้านวิกฤตสุขภาพจิต โดย ดร. นพ. พิทักษ์พล บุณยมาลิก ผู้อำนวยการสถาบันกัลยาณ์ราช นครินทร์
ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก เทศบาล ตำบลปัว ยินดี ต้อนรับ ยินดี ต้อนรับ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
KM WEBSITE กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข เสนอ อาจารย์ สุกัลยา ชาญสมร.
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภก.กิตติศักดิ์ ไท้ทอง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
รายงานผลการปฏิบัติงาน เดือนมกราคม 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
กำหนดการ Work shop การประเมินตนเอง
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 Service Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
โดย นางอัญธิกา ชัชวาลยางกูร ผู้อำนวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน
ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ของกองวิจัยและพัฒนาข้าว
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 จังหวัดตราด
กิจกรรมหลัก ภาคกลาง 12กันยายน 2560
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ งานพัฒนาคุณภาพการพยาบาล (QA)

องค์ประกอบที่ 1 การประเมินผลคุณภาพบริการ องค์ประกอบที่ 1 การประเมินผลคุณภาพบริการ จุดเด่น บุคลากรทางการพยาบาลทั้งระดับผู้บริหารและระดับปฏิบัติการได้รับการพัฒนาและปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพ /การบริหารทางการพยาบาล/การปฏิบัติการพยาบาลและการดูแลผู้ป่วย โอกาสการพัฒนา การติดตาม กำกับ ประเมินหน้างานบริการพยาบาลของแต่ละโรงพยาบาล แนวทางการพัฒนาต่อเนื่อง : จัดประชุมเชิงปฏิบัติการตามมาตรฐานแต่ละงานบริการพยาบาล พร้อมเยี่ยมประเมินตามมาตรฐานโดยคณะกรรมการ QA ระดับจังหวัด มาตรฐาน คุณภาพ เครื่องมือ - แบบประเมินตามมาตรฐานคุณภาพ QA - แบบประเมินตามประเด็นหลักการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล Text Text Text Text Text

แนวทางการพัฒนาต่อเนื่อง ความพึงพอใจ โอกาสการพัฒนา ควรมีการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการตามงานบริการพยาบาลแต่ละงานของโรงพยาบาลทุกแห่ง แนวทางการพัฒนาต่อเนื่อง จัดเก็บความพึงพอใจของผู้รับบริการแต่ละงานบริการพยาบาลโดยบูรณาการร่วมกับแบบประเมินความพึงพอใจของจังหวัด

การบรรลุผลสัมฤทธิ์ของ KPI ท้าทาย ผลการดำเนินงาน (ปีงบประมาณ) รหัสตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย (ปีงบประมาณ) ผลการดำเนินงาน (ปีงบประมาณ) R P U I 2556 2557 2558 R4 ระดับความสำเร็จในการบรรลุผลสัมฤทธิ์จังหวัดแห่งคุณภาพและความสุข   P2 U1 โรงพยาบาลชุมชนได้รับการประเมินและรับรองคุณภาพการพยาบาล (QA) ของสภาการพยาบาล จำนวน 2 แห่ง (ปี 2556) ไม่ได้ดำเนินการ - U2 โรงพยาบาลชุมชนได้รับการประเมินและรับรองคุณภาพการพยาบาล (QA) ของสำนักการพยาบาล ขั้น 3 จำนวน 2 แห่ง ( ปี 2556 ) 2 แห่ง โรงพยาบาลชุมชนได้รับการรับรองคุณภาพการบริการทางการพยาบาลตามมาตรฐานของสำนักการพยาบาล ขั้น 3 จำนวน 7 แห่ง ( ปี 2557 ) 7 แห่ง โรงพยาบาลชุมชนได้รับการรับรองการบริการการพยาบาลตามมาตรฐานของสำนักการพยาบาล ขั้น 3 จำนวน 5 แห่ง ( ปี 2558 ) 5 แห่ง U3 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลได้รับการรับรองมาตรฐานการบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์ระดับปฐมภูมิของสภาการพยาบาล จำนวน 13 แห่ง ( ปี 2557 ) ไม่ได้ดำเนินการ 13 แห่ง โรงพยาบาลชุมชนได้รับการพัฒนาต้นแบบงานบริการเยี่ยมบ้านคุณภาพของสำนักการพยาบาล จำนวน 7 แห่ง (ปี 2558) U4 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลได้รับการพัฒนาต้นแบบงานบริการเยี่ยมบ้านคุณภาพของสำนักการพยาบาล จำนวน 66 แห่ง และศสม. 1 แห่ง (ปี 2558) 67 แห่ง

การประเมินคุณภาพบริการพยาบาลภายในโรงพยาบาล scoring band ระดับคะแนน ระดับการพัฒนา 0-9 % No Evidence 50-69 % 3 Mature 10-29 % 1 Beginning 70-89 % 4 Advance 30-49 % 2 Basically Effectiveness 90-100 % 5 Role Model

ผลงาน/นวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล

แนวทางการพัฒนาต่อเนื่อง วิเคราะห์ส่วนที่เป็นข้อด้อยในแต่ละงานบริการพยาบาลของโรงพยาบาลทุกแห่ง และพัฒนาส่วนที่ขาดให้ได้ตามมาตรฐานคุณภาพการพยาบาล โดยจัดอบรมพัฒนาศักยภาพงานบริการพยาบาลแต่ละงาน ยกระดับโรงพยาบาลให้ได้รับรองคุณภาพการบริการทางการพยาบาลตามมาตรฐานของสำนักการพยาบาล ขั้น 3 โดยพัฒนาในส่วนของมิติกระบวนการและมิติผลลัพธ์ของงานบริการพยาบาลแต่ละงาน โดยเฉพาะการถ่ายทอดสู่การปฏิบัติให้ครอบคลุมทุกคนในหน่วยงานบริการพยาบาล โอกาสพัฒนา แนวทางการพัฒนาต่อเนื่อง

องค์ประกอบที่ 2 การประเมินผลศักยภาพของระบบสนับสนุน องค์ประกอบที่ 2 การประเมินผลศักยภาพของระบบสนับสนุน หัวข้อประเมิน เครื่องมือประเมิน จุดเด่น โอกาสการพัฒนา แนวทางการพัฒนาต่อเนื่อง 2.1) ด้านการวางแผน ข้อมูลจาก Action plan,RPUI มีการดำเนินงานตาม Action plan,RPUI   2.2) ด้านการบริหารบุคคล อัตรากำลังคนในการดำเนินงาน  ดำเนินการในรูปของคณะกรรมการ QA ระดับจังหวัด หาบุคลากรวิชาชีพพยาบาลเพิ่มที่กลุ่มงาน พคร 2.3) ด้านการฝึกอบรม แผนงานพัฒนาบุคลากรขององค์กรพยาบาล มีการจัดทำแผนเฉพาะขององค์กรพยาบาลตาม Service Plan วิเคราะห์ผลการดำเนินงานตามแผนงาน 2.4) ด้านการนิเทศ รายงานการประชุมคณะกรรมการ QA ระดับจังหวัด มีการประชุมคณะกรรมการ QA ระดับจังหวัด อย่างต่อเนื่อง จัดให้มีการติดตามนิเทศทางการพยาบาลระดับอำเภอ จัดทำแนวทางการติดตามนิเทศทางการพยาบาล

แนวทางการพัฒนาต่อเนื่อง หัวข้อประเมิน เครื่องมือประเมิน จุดเด่น โอกาสการพัฒนา แนวทางการพัฒนาต่อเนื่อง 2.5) ด้านการบริหารการเงิน รายงานผลการคุมงบประมาณโครงการ /แผนการใช้เงิน การเบิก-จ่าย ทันเวลา การเบิกจ่ายงบประมาณโครงการเป็นไปตามแผนที่กำหนด - 2.6) ด้านการบริหารวัสดุครุภัณฑ์ รายงานแผนการเบิก-จ่ายวัสดุครุภัณฑ์ ทันเวลาและความเพียงพอต่อการใช้ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ การเบิก-จ่ายวัสดุครุภัณฑ์ เป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดตามแผนทุกกิจกรรมโครงการ 2.7) ด้านการบริหารระบบสารสนเทศ รายงานสรุปผลการวิเคราะห์การประเมิน QAของโรงพยาบาล ถูกต้อง ทันเวลา รพ.ทุกแห่งมีการวิเคราะห์และรายงานประเมินผลถูกต้อง ทันตามเวลาที่กำหนดไว้   2.8) ด้านการเตรียมชุมชน -กำหนดจำนวนกลุ่มเป้าหมายครอบคลุมและชัดเจน -สอบถามกลุ่มเป้าหมายที่ร่วมกิจกรรมโครงการในการเตรียมตัวก่อนเข้าร่วมฯ -การประชุมชี้แจงผู้บริหารทางการพยาบาลทุกโรงพยาบาลเกี่ยวกับการดำเนินการตามแผนกิจกรรม

องค์ประกอบที่ 3 การประเมินผลต้นทุน องค์ประกอบที่ 3 การประเมินผลต้นทุน

องค์ประกอบที่ 4 การประเมินผลความยั่งยืนของโครงการ องค์ประกอบที่ 4 การประเมินผลความยั่งยืนของโครงการ หัวข้อประเมิน เครื่องมือประเมิน จุดเด่น โอกาสการพัฒนา แนวทางการพัฒนาต่อเนื่อง 4.1) ขนาดของประชากรกลุ่มเป้าหมาย จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมตามแผนงานโครงการ กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมตามแผนงานโครงการ เฉลี่ยร้อยละ 85   4.2) ระดับความรู้ ทัศนคติและ การปฏิบัติ แบบประเมิน KAP กลุ่มเป้าหมาย ยังไม่ได้มีการประเมิน สร้างแบบประเมิน KAP พร้อมวิเคราะห์ผลการประเมิน จัดให้มีการประเมิน KAP ทุกครั้งของกิจกรรมตามแผนงานโครงการ 4.3) ระบบสนับสนุนการให้บริการ ตาม 8 องค์ประกอบ - 4.4) ระดับความสามารถขององค์กร โครงสร้างการบริหารทางการพยาบาลของโรงพยาบาลและโครงสร้างงานบริการพยาบาลแต่ละงาน ขีดความสามารถของบุคลากรทางการพยาบาลในการจัดระบบการบริหารงาน โรงพยาบาลตราดซึ่งเป็นแม่ข่ายมีโครงสร้างการบริหารทางการพยาบาลที่ชัดเจนและงานบริการพยาบาลที่เป็นต้นแบบได้ โรงพยาบาลตราดเป็นที่ศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงสร้างงานบริหารทางการพยาบาลและงานบริการพยาบาลให้กับโรงพยาบาลชุมชน จัดให้มีการศึกษาแลกเรียนรู้ในหน้างานบริการพยาบาลของโรงพยาบาลต้นแบบ

องค์ประกอบที่ 4 การประเมินผลความยั่งยืนของโครงการ องค์ประกอบที่ 4 การประเมินผลความยั่งยืนของโครงการ หัวข้อประเมิน เครื่องมือประเมิน จุดเด่น โอกาสการพัฒนา แนวทางการพัฒนาต่อเนื่อง 4.5) ระบบสนับสนุนทางการเมือง (นโยบาย) นโยบายของกระทรวงฯ(สำนักการพยาบาล) ดำเนินงานสอดคล้องตามนโยบายของสำนักการพยาบาล   4.6) ทรัพยากรบุคคล ผู้บริหารทางการพยาบาลที่ผ่านการอบรมและมีประสบการณ์ มีคณะกรรมการQA ระดับจังหวัดที่มีความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ ให้มีการถ่ายทอดความรู้ความเชี่ยวชาญให้กับโรงพยาบาลแบบ Benchmark จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4.7) งบประมาณ รายรับ-รายจ่ายของโครงการ - 4.8) รายจ่ายโครงการ รายจ่ายต่ำหรือรายจ่ายสูง 4.9) ปัจจัยแวดล้อมภายนอก กิจกรรมที่ไม่สามารถดำเนินการได้