นโยบาย การปฏิรูปกระทรวงสาธารณสุข เพื่อคุณภาพชีวิตประชาชนไทย นายแพทย์ประดิษฐ สินธวณรงค์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข 4 ตุลาคม 2556 1
นโยบายเร่งด่วน ปรับปรุงระบบบริการ มีตัวชี้วัดในการวัดผลงาน เพิ่มประสิทธิภาพของบริการในระบบ หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ การแพทย์ฉุกเฉินและระบบส่งต่อ การพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ ความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค การพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลาง บริการสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) 2 2
4 4
การเปลี่ยนแปลงการทำงานกระทรวงสาธารณสุข คณะกรรมการนโยบายระบบสาธารณสุข(PHSPB) กระทรวงสาธารณสุข สำนักงานรัฐมนตรี สำนักงานบริหารยุทธศาสตร์/ยกระดับ สนย. สำนักงานปลัด กระทรวงสาธารณสุข กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาการแพทย์ กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาการสาธารณสุข กลุ่มภารกิจด้าน สนับสนุนงานบริการสุขภาพ คณะกรรมการ เขตสุขภาพ(AHB) กรมการแพทย์ กรมสุขภาพจิต กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กรมอนามัย กรมควบคุมโรค กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา สำนักงานสาธารณสุขเขต ส่วนภูมิภาค - สสจ./สสอ. - รพศ./รพท. รพช./รพสต. หน่วยงานในกำกับ : สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข สำนักงานสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ องค์การมหาชน : โรงพยาบาลบ้านแพ้ว สถาบันรับรองคุณภาพ สถานพยาบาล รัฐวิสาหกิจ : องค์การเภสัชกรรม 5
โครงสร้างแบ่งส่วนราชการสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กลุ่มตรวจสอบภายใน 3 CLUSTER กลุ่มภารกิจด้านยุทธศาสตร์ กลุ่มภารกิจด้านสนับสนุน กลุ่มภารกิจด้านประสานบริการ สำนักตรวจและประเมินผล สำนักพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ (บทบาทระดับชาติ/กระทรวง/สป.) สำนักบริหารกลาง สำนักการพยาบาล IHPP , HITAP - กลุ่มบริหารทั่วไป - กลุ่มคลังและพัสดุ - กลุ่มเสริมสร้างวินัยและระบบคุณธรรม สำนักวิชาการ สำนักพัฒนานโยบายการคลังและเศรษฐกิจสุขภาพ (CFO กลาง) สำนักบริหารงานบุคคล สำนักสาธารณสุขฉุกเฉิน สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมพัฒนากฎหมายเพื่อสุขภาพ สำนักการคลังเขตสุขภาพ (CFO ระดับเขต) สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์กำลังคนด้านสุขภาพ สบช./วนส./แก้วกัลยา/สบพช. สำนักการสาธารณสุขระหว่างประเทศ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศฯ สำนักงานสาธารณสุขเขต 1-12 สำนักสารนิเทศ สำนักส่งเสริมและสนับสนุน อาหารปลอดภัย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด หน่วยงานที่ตั้งเป็นการภายใน สป. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ ศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ศูนย์ประสานการแก้ปัญหาข้อร้องเรียน - ศูนย์สันติวิธีสาธารณสุข - กลุ่มกระจายอำนาจ, อื่นๆ AREA HEALTH BOARD
โครงสร้างสำนักงานเขตสุขภาพ เป็น Back up Office ของ AHB สนง. ประสานงานเขต สตป/สป. สำนักงานเขตสุขภาพ 1-12+ กทม. งานพัฒนายุทธศาสตร์ งานพัฒนาระบบบริการ งานบริหารทรัพยากร งานบริหารทั่วไป งานแผนงาน งาน MIS/IT งาน M&E และ KPI งานพัฒนาและแก้ไข ปัญหาพื้นที่ Service Plan Referral System EMS & PHER งานคุณภาพมาตรฐานบริการ การเงินการคลัง การบริหารกำลังคน การลงทุน การบริหารงบประมาณ งานบริหารทั่วไป งานสนับสนุนเครือข่าย 7
สำนักงานเขตสุขภาพ CEO COO CCO CIO CSO CFO CHRO กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์ สบรส. COO CCO กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์ กลุ่มงานพัฒนาระบบบริการ กลุ่มงานบริหารทั่วไป กลุ่มงานบริหารทรัพยากร CIO CSO CFO CHRO COO= Chief Operational Officer เป็นเลขา ของทีม Service Provider Board
บทบาทของ Provider ในเขตสุขภาพ * จัดระบบบริการสุขภาพ 4 มิติ ได้แก่ ส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟู รวมทั้งงานคุ้มครองผู้บริโภค * บริหารจัดการให้เกิดผลลัพธ์ตามเป้าหมายของกระทรวง โดยมีแผนร่วม - แผนลงทุนร่วม - แผนเงินบำรุงและแผนการใช้งบประมาณ - แผนการจัดซื้อยาและวัสดุวิทยาศาสตร์ฯร่วม - ติดตาม ควบคุม กำกับงานและพัฒนา ปรับปรุง (M/E, Supervisor)
บทบาทของ Regulator ในเขตสุขภาพ * ติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามเป้าหมายของกสธ. - เขตบริการสุขภาพ - ท้องถิ่น - ภูมิภาค - เอกชน โดยติดตามดู ผลลัพธ์ (output/outcome) ที่เกิดกับปชช. - process ที่สำคัญ - การบริหารจัดการ ด้านการเงินการคลัง การพัสดุ - การบริหารบุคคล - ความโปร่งใส สุจริต
กลไกการขับเคลื่อนระบบบริการสุขภาพ ระดับเขต พัฒนาโครงสร้างการดำเนินงานในรูปคณะกรรมการระดับเขต * จัดทำแนวทางการจัดตั้งสนง.เขตสุขภาพ (องค์ประกอบด้านคน เช่น CIO CSO CFO และโครงสร้างงาน) * จัดตั้งคณะกก.พัฒนาระบบบริการสุขภาพระดับเขต ( Service Provider Board ) * มอบนโยบายการบริหารแผนงานและข้อมูลระดับเขต - พัฒนาระบบบริการสุขภาพ/ - บริหารการเงินการคลัง - บริหารทรัพยากร ฯลฯ
กลไกการขับเคลื่อนระบบบริการสุขภาพ ระดับเขต 2. การบริหารร่วม - บริหารแผน : มียุทธศาสตร์และแผนดำเนินงาน เพื่อบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัดระดับเขต - บริหารทรัพยากรบุคคล : วางแผนกำลังคน จัดสรรอัตรากำลัง พัฒนาศักยภาพและสมรรถนะบุคลากร การจ้างพนักงานกสธ. การกำหนดค่าตอบแทน แรงจูงใจให้ปฏิบัติงานอย่างเป็นธรรมและเหมาะสม - บริหารงบประมาณ : บริหารงบ UC / Non UC ในการปฏิบัติงานอย่างมี ประสิทธิภาพ คุ้มค่า (ส่วนกลางกำหนดวงเงินให้เขตบริหารเอง) - บริหารงบลงทุน : วางแผนการลงทุน/การใช้ทรัพยากรร่วมกันในเขต - บริหารการจัดซื้อจัดจ้าง : มีแผนการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามเป้าหมายของกสธ. โดยเฉพาะยา และวัสดุวิทยาศาสตร์ มีการดำเนินการร่วมกัน
กลไกการขับเคลื่อนระบบบริการสุขภาพ ระดับเขต 3. การจัดบริการร่วม * มีแผนการจัดบริการที่บูรณาการครอบคลุม 4 มิติ เพื่อ ตอบสนองเป้าหมายและตัวชี้วัดตามกลุ่มวัย * มีแผนการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการ 10 สาขาและ ยกระดับขีดความสามารถของสถานบริการในลักษณะ เครือข่ายเชื่อมโยงทุกระดับ (Service Plan) ทั้งในเขต และนอกเขต * ดำเนินการติดตามและบริหารผลการดำเนินงานตาม ระยะเวลา * ประเมินผลลัพธ์การดำเนินงานและการจัดบริการร่วม
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงของเขตสุขภาพ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข นพ.วชิระ เพ็งจันทร์ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข 4 พฤศจิกายน 2556
Service Provider Blueprint & Action Plan for change 2557 2558 2559 2560 1. การแต่งตั้งคณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ ที่มาจากหน่วยงานในกระทรวงสธ. 2. การจัดตั้งสำนักงานคณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ 3. การแต่งตั้งคณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ ที่มี Stakeholder จากนอกกระทรวงสธ. 4. การแต่งตั้งคณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ ที่มี Stakeholder ครอบคลุมทุกกลุ่ม 5. คณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ วางแผนยุทธศาสตร์การทำงานของเขตสุขภาพ(AHB) ร่วมกับPurchaser
Regulator Blueprint & Action Plan for change 2557 2558 2559 2560 2. กำหนดโครงสร้าง บทบาทหน้าที่ Regulator แยกจากสำนักงานเขตบริการสุขภาพ (ระดับเขต / จังหวัด / อำเภอ) 3. ดำเนินการตามบทบาท RO และเชื่อมโยงข้อมูลจากเขตสุขภาพ ไปยัง NHAO เพื่อจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายระดับชาติ
? Purchaser Blueprint & Action Plan for change 2557 2558 2559 2560 1.กำหนดกลไกการทำงานร่วมกันระหว่าง Purchaser และ Service Provider (กลไกเบื้องต้น) 2.กำหนดกลไกการทำงานร่วมกันระหว่าง Purchaser และ Service Provider (กลไกถาวร อาจเป็น AHB) 3. กำหนดกลไกการทำงานร่วมกันของ 3 กองทุน และกองทุนอื่นๆรวม อปท. ? 4. เริ่มการดำเนินงานของ 3 กองทุน รวมทั้งกองทุนอื่นๆ รวม อปท. ในเขตสุขภาพ
หน่วยบริการในเขตสุขภาพ Blueprint & Action Plan for change 2557 2558 2559 2560 วิเคราะห์ Existing & Gap Analysis เพื่อจัดทำแผนการเปลี่ยนแปลงให้สอดรับกับการทำงานเขตสุขภาพ ภายใต้แนวคิด 1. การกระจายอำนาจ 2. การบริหารทรัพยากรร่วม 3. การบริการแบบไร้รอยต่อ 4. การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน เป้าหมาย : เข้าถึง เท่าเทียม เป็นธรรม 1.หน่วยบริการของ สป. และกรมต่างๆในสังกัด สธ. 2.หน่วยบริการระดับเขต,จังหวัด,อำเภอ (บางส่วน) 3.หน่วยบริการระดับเขต,จังหวัด,อำเภอ(ทั้งหมด) 4.หน่วยบริการภาครัฐ อื่นๆ นอก สธ. 5.หน่วยบริการเอกชนและท้องถิ่นในเขต
Area Health Board จะเริ่มดำเนินการ ปี 2559 และเสร็จสมบูรณ์ ปี 2560
สวัสดี
บทบาทใหม่ของหน่วยงานระดับเขต
บทบาทใหม่ของหน่วยงานระดับเขต