แผนยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุข จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปีงบประมาณ 2558-2560 (ปรับ พ.ย 59)
ประชาชนมีสุขภาพดีอย่างยั่งยืน ประเด็นที่ 1 การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ประเด็นที่ 2 คุณภาพบริการ ประเด็นที่ 3 พัฒนาเครือข่ายสุขภาพ ประเด็นที่ 4 ประชาชนดูแลสุขภาพตนเองได้ ประชาชนมีสุขภาพดีอย่างยั่งยืน เครือข่ายบริการสุขภาพเข้มแข็ง ประชาชนป่วย/ตายลดลง หน่วยงานมีทรัพยากรที่เหมาะสมเพียงพอ ระบบส่งต่อ ที่ไร้รอยต่อ ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม มีระบบสารสนเทศชั้นนำ การบริหารจัดการ อย่างมีธรรมาภิบาล มีชุดข้อมูลที่เพียงพอเพื่อการตัดสินใจ หน่วยบริการ ผ่านเกณฑ์คุณภาพ ชุมชนเข้มแข็ง เครือข่ายบริการมีคุณภาพ พัฒนาระบบ บริหารจัดการ ความเสี่ยงในองค์กร (บริหาร,บริการ) พัฒนาระบบพี่เลี้ยง ให้เข้มแข็ง ครอบคลุม พัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคลที่มีประสิทธิภาพ สร้างแกนนำสุขภาพครอบครัวในชุมชนเข้มแข็ง สร้างภาคีเครือข่ายต้นแบบ พัฒนาระบบDHS การสื่อสารข้อมูลสุขภาพสู่ชุมชน พัฒนาระบบติดตาม ประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาศักยภาพสถานบริการ,บุคลากร และระบบส่งต่อ ตาม Service Plan พัฒนาเครือข่ายบริการระดับโซน พัฒนาระบบข้อมูล เพื่อบริหารจัดการ (Data ware House) บุคลากรมีความรู้ความสามารถ ด้านสารสนเทศ พัฒนาความรู้และสมรรถนะ ในการทำงานของบุคลากร(ทั่วไป) สร้างขวัญกำลังใจ เสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม ในองค์กร การบริหารจัดการ การเงิน การคลังที่มีประสิทธิภาพ
ประเด็นยุทธศาสตร์ 4 ประเด็น ประเด็นยุทธศาสตร์ 4 ประเด็น การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ประเด็นที่ 1 ประเด็นที่ 2 ประเด็นที่ 3 ประเด็นที่ 4 การพัฒนาคุณภาพบริการ การพัฒนาเครือข่ายด้านสุขภาพ ประชาชนดูแลสุขภาพตนเองได้ ข้อมูลสรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดแผนยุทธศาสตร์ฯ (ตค 57-มิย 58) โดยเจ้าภาพ
มิติ 4 มิติ 27 เป้าประสงค์ มิติพัฒนาองค์กร มิติประสิทธิภาพ มิติคุณภาพ มิติ 4 มิติ 27 เป้าประสงค์ 5 เป้าประสงค์ ผ่าน 1 มิติพัฒนาองค์กร มิติประสิทธิภาพ มิติคุณภาพ มิติประสิทธิผล 11 เป้าประสงค์ ผ่าน 6 5 เป้าประสงค์ ไม่ผ่าน 6 เป้าประสงค์ ผ่าน 1
มิติพัฒนาองค์กร มิติประสิทธิภาพ คุณภาพ ประสิทธิผล สรุป 39 ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่1 การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์ที่2 การพัฒนาคุณภาพบริการ ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาเครือข่ายสุขภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 4 ประชาชนดูแลสุขภาพตนเองได้ 1.ร้อยละความพึงพอใจ ,ความผาสุกในการทำงานของบุคลากรและความผูกพันในองค์กร 2.ร้อยละขององค์กรผ่านเกณฑ์องค์กรคุณธรรมจริยธรรม 3.หน่วยบริการมีภาวะวิกฤติทางการเงินระดับ 7 ไม่เกินร้อยละ 10 4.ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายได้รับการพัฒนาความรู้ด้านสารสนเทศ 5.ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายได้รับการพัฒนาความรู้และสมรรถนะ 6. หน่วยงานมีการจัดทำแผนกำคนที่มีประสิทธิภาพ 7.หน่วยงานมีการบริหารจัดการความเสี่ยง 8.หน่วยบริการมีระบบบริหารจัดการความเสี่ยงที่มีคุณภาพ 9.หน่วยงานมีการกำกับติดตามประเมินผลการดำเนินงาน 10.มีระบบ Data warehouse ระดับจังหวัด 14.ระดับความสำเร็จขององค์กรในการปฎิบัติธรรมาภิบาล 6 ด้าน 11.หน่วยงานมีชุดข้อมูลเพื่อการตัดสินใจระดับจังหวัด 12.ระบบสารสนเทศมีประสิทธิภาพ 13. หน่วยงานมีการบริหารจัดการทรัพยากรที่เหมาะสม 15.ทุกโซนมีระบบพี่เลี้ยงที่เข้มแข็ง 16.หน่วยงานผ่านการพัฒนาคุณภาพหน่วยบริการของเครือข่ายระดับอำเภอ 17.อัตราป่วยของผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ลดลง 18.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานมีภาวะแทรกซ้อนลดลง 19.อัตราผู้ป่วยรายใหม่โรคความดันโลหิตสูงลดลง 20.ร้อยละผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงมีการเกิดภาวะแทรกซ้อนลดลง 21.อัตราตายด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจลด 22.อัตราตายด้วยโรคหลอดเลือดสมองลดลง 23.อัตราตายด้วยโรคมะเร็งลดลง 24.อัตราตายด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกลดลง 25.อัตราตายด้วยโรคปอดบวมในเด็ก 0-4 ปีลดลง 26.อัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงลดลงจากปีผ่านมา 27.อัตราตายจากอุบัติเหตุลดลง 28.ดัชนีผู้ป่วยใน (CMI) ของแต่ละระดับสถานบริการสุขภาพตาม SP ที่กำหนด 29.มีมาตรฐานระบบส่งต่อในโรคที่เป็นปัญหา 30.CUP มีการดำเนินเครือข่ายระดับอำเภอ DHS 31.ระดับความสำเร็จของการบริหารจัดการทรัพยากรร่วมกันระดับโซน 32.มีผลงานเด่นระดับโซน 33..การปฎิเสธเป็นศูนย์ในโรงพยาบาลศูนย์ 34. มีศูนย์ข้อมูลระดับโซน 35.เกิดแกนนำครอบครัว 1 แกนนำ 1 ครอบครัว 36.มีภาคีเครือข่ายต้นแบบด้านสุขภาพ เพิ่มขึ้นทุก CUP 37.หน่วยงานมีช่องทางถ่ายทอดข้อมูลสู่ชุมชนอย่างต่อเนื่องครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย 38.ร้อยละชุมชนมีความเข้มแข็ง (ครอบครัว,ชุมชน) 39.ร้อยละประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม มิติพัฒนาองค์กร มิติประสิทธิภาพ 5 ผ่าน 3 (60%) 7 ผ่าน 1(14%) สรุป 39 ตัวชี้วัด ผ่าน 15 ตัวชี้วัด (38.46%) -ไม่ผ่าน ( แบบเหลือง) 8 ตัวชี้วัด -ไม่ผ่าน ( แบบแดง) 16 ตัวชี้วัด คุณภาพ 13 ผ่าน 8(53%) ประสิทธิผล 14 ผ่าน 3(21%)
เป้าประสงค์/ตัวชี้วัดแต่ละมิติ มีความสัมพันธ์เชื่อมโยง ส่งผลต่อกันหรือไม่ KPI ไม่สามารถวัดได้ตามวัตถุประสงค์ (ไม่ชัดเจน,ไม่ครอบคลุม เช่นตัวชี้วัดที่3,4,5,6,7,9,12,15,23,24,29,31) 3.ไม่ได้นำแผนยุทธศาสตร์มาใช้เป็นแผนหลัก ในการดำเนินงาน/กำหนดพื้นที่เฉพาะ 4.ขาดกระบวนการติดตาม กำกับตามแผนยุทธศาสตร์ 5.ขาดการวิเคราะห์ปัญหากลุ่มวัย/ระบบสุขภาพ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ระบบควบคุมโรค/สวล./คบส.
กระบวนการทบทวน วิเคราะห์ผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์(25-27 ส.ค 58) ทบทวนเป้าประสงค์และตัวชี้วัดให้ชัดเจน และส่งผลต่อความสำเร็จตามวิสัยทัศน์ โดยผู้เกี่ยวข้อง 6 ครั้ง (ต.ค-พ.ย 58) 3. นำเสนอ นพ.สสจ. พิจารณา 4. ปรับเป้าประสงค์ ตัวชี้วัดตามข้อเสนอแนะ และเผยแพร่ (เว็บไซต์/ชี้แจง)
แผนยุทธศาสตร์ ปี 57-60 วิสัยทัศน์ เป้าประสงค์รวม ค่านิยม (ทบทวนปี 59) “เครือข่ายสุขภาพชั้นนำ ไร้รอยต่อ สารสนเทศก้าวล้ำ นำประชาชนสู่สุขภาวะที่ยั่งยืนในปี 2560” (คงเดิม) เป้าประสงค์รวม “ประชาชนมีสุขภาพดีอย่างยั่งยืน” (คงเดิม) ค่านิยม “สามัคคี มีวินัย ใส่ใจบริการ ผสานคุณธรรม” (คงเดิม)
ประชาชนมีสุขภาพดีอย่างยั่งยืน ประเด็นที่ 1 การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ประเด็นที่ 2 คุณภาพบริการ ประเด็นที่ 3 พัฒนาเครือข่ายสุขภาพ ประเด็นที่ 4 ประชาชนดูแลสุขภาพตนเองได้ ประชาชนมีสุขภาพดีอย่างยั่งยืน ประชาชนเข้าถึงบริการด้านสุขภาพที่มีคุณภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพ ชั้นนำ หน่วยงานมีการบริหารทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ ระบบส่งต่อ ที่ไร้รอยต่อ ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม มีระบบสารสนเทศ ชั้นนำ การบริหารจัดการ อย่างมีธรรมาภิบาล มีชุดข้อมูลที่เพียงพอเพื่อการตัดสินใจ หน่วยบริการ ผ่านเกณฑ์คุณภาพ เครือข่ายบริการ มีคุณภาพ ชุมชนเข้มแข็ง มีระบบนิเทศ กำกับประเมินผล อยางบูรณาการ ระบบบริหารทรัพยากรบุคคลที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาศักยภาพสถานบริการ,บุคลากร และระบบส่งต่อ ตาม Service Plan พัฒนาระบบ สุขภาพอำเภอ(DHS) การสื่อสารข้อมูลสุขภาพสู่ชุมชน สร้างแกนนำสุขภาพครอบครัวในชุมชน มีระบบ บริหารจัดการ ความเสี่ยงในองค์กร ที่มีประสิทธิภาพ(บริหาร, บริการ) พัฒนาเครือข่ายบริการระดับโซน พัฒนาระบบข้อมูลเพื่อบริหารจัดการ มีระบบพี่เลี้ยงที่เข้มแข็งและครอบคลุม สร้างภาคีเครือข่ายต้นแบบ สร้างขวัญกำลังใจ บุคลากรในองค์กรมีคุณธรรมจริยธรรม บุคลากรมีความรู้ความสามารถ ด้านสารสนเทศ การบริหารจัดการ การเงิน การคลังที่มีประสิทธิภาพ บุคลากรมีความรู้และสมรรถนะ ในการทำงาน (ทั่วไป)
แผนยุทธศาสตร์ ปี 57-60 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ วัตถุประสงค์ 36 ตัวชี้วัด (ทบทวนปี 59) 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ วัตถุประสงค์ 36 ตัวชี้วัด
รวม 35 ตัวชี้วัด 5 ตัวชี้วัด 5 ตัวชี้วัด 7 ตัวชี้วัด 18 ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่1 การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์ที่2 การพัฒนาคุณภาพบริการ ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาเครือข่ายสุขภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 4 ประชาชนดูแลสุขภาพตนเองได้ 1.ร้อยละความพึงพอต่อคุณภาพชีวิตในการทำงานของบุคลากร (ความพึงพอใจ,ความผูกพัน) 2.ร้อยละขององค์กรพัฒนาตามองค์กรคุณธรรมอย่างต่อเนื่อง 3.ร้อยละของทีม IM มีความรู้ในการใช้ฐานข้อมูล Spread Sheet 4.ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายได้รับการพัฒนาสมรรถนะ 5.หน่วยบริการมีภาวะวิกฤติทางการเงินระดับ 7 ไม่เกินร้อยละ 10 6.หน่วยงานมีการจัดทำแผนกำลังคนที่มีประสิทธิภาพ 7.เครือข่ายอำเภอมีบุคลากรสายพยาบาลตาม FTE ร้อยละ 80 8.หน่วยงานมีการบริหารจัดการความเสี่ยง 9.เครือข่ายบริการมีการบริหารจัดการความเสี่ยง 10.ทุกโซนได้รับการติดตาม ควบคุมกำกับ นิเทศงาน 11.ทุกคปสอ.ได้รับการประเมินผลปีละ 2 ครั้ง 12.ร้อยละของการเข้าถึงระบบสารสนเทศ 13. ระดับความสำเร็จของระบบข้อมูลสารสนเทศทีมีคุณภาพ 14. ร้อยละของชุดข้อมูลสำคัญฝนที่เข้าถึงได้ 15.ระบบสารสนเทศมีประสิทธิภาพและนำไปใช้ตัดสินใจ 16.หน่วยงานมีการจัดซื้อจัดจ้างตามหลักธรรมาภิบาล 17.ระดับความสำเร็จในการประเมินบุคคลโดยยึดหลักธรรมาภิบาล 18. หน่วยงานมีการบริหารจัดการทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ 19.ทุกโซนมีระบบพี่เลี้ยงที่เข้มแข็ง 20.ดัชนีผู้ป่วยใน (CMI) แต่ละระดับของสถานบริการผ่านเกณฑ์ 21.มีมาตรฐานส่งต่อโรคที่เป็นปัญหาสำคัญ 22. หน่วยงานผ่านการพัฒนาคุณภาพหน่วยบริการ (HA, PCA) 23. ความสำเร็จของการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ(Service Plan)สาขาหลัก 23.1 ทารกแรกเกิด 23.2 อุบัติเหตุ 23.3 หัวใจ 23.4 หลอดเลือดสมอง 23.5 ไต 23.6 มะเร็ง 23.7 ระยะเวลารอคอย 24.ร้อยละของอำเภอผ่านเกณฑ์ DHS อย่างน้อยระดับ 4 ทั้ง 5 ประเด็น 25. ระดับความสำเร็จของการบริหารจัดการทรัพยากรร่วมกันระดับโซน 26. ระดับความสำเร็จของกระบวนการจัดการปัญหาระดับอำเภอ อย่างน้อย 3 เรื่อง 27.ร้อยละของการให้บริการผู้ป่วย ()P visit) ในรพ.สต. ร้อยละ 80 28. การปฏิเสธการส่งต่อลดลง - Refer In - Refer Back 29. ร้อยละของครอบครัวมีแกนนำ (1 แกนนำ : 1 ครอบครัว) ภายในปี 60 30. มีภาคีเครือข่ายต้นแบบด้านสุขภาพ เพิ่มขึ้น CUP ละ 1 เครือข่าย/ปี 31.หน่วยงานมีช่องทางถ่ายทอดข้อมูลสุขภาพสู่ชุมชนอย่างน้อย 3 ช่องทางอย่างต่อเนื่อง 32.ร้อยละของตำบลต้นแบบ 3 อ. 2 ส.ผ่านเกณฑ์อย่างน้อยตำบลละ 1 หมู่บ้าน 33. ร้อยละของ ปชช. มีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่เหมาะสม 34.ปชช. ชายและหญิงอายุ 15 ปีขึ้นไป มีรอบเอวอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน 35. ปชช.อายุน้อยกว่า 15 ปี มีภาวะโภชนาการอยู่ในเกณฑ์ปกติ 5 ตัวชี้วัด 5 ตัวชี้วัด 7 ตัวชี้วัด รวม 35 ตัวชี้วัด 18 ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดเป้าประสงค์รวม “ปชช.มีสุขภาพดีอย่างยั่งยืน” ลดอัตราป่วย/ตาย จากปัญหาสุขภาพที่สำคัญ ของจังหวัดและพื้นที่ โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง : เบาหวาน ความดัน หัวใจ หลอดเลือด มะเร็ง โรคติดต่อ : ไข้หวัดใหญ่ ไข้เลือดออก อุจจาระร่วง ภัยสุขภาพ : อุบัติเหตุจราจร
Experience tells you what to do; Confidence allows you to do it. ประสบการณ์จะทำให้คุณรู้ว่าคุณควรทำอะไร แต่ความมั่นใจจะทำให้คุณกล้าลงมือทำ