การจัดเตรียมเครื่องมือและข้อมูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรมขึ้นทะเบียนเกษตรกร ผู้ปลูกข้าวนาปี ปี 2557/58
Advertisements

PhotoScape.
ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
เป็นการนำความรู้ด้าน Microsoft Excel ที่มีความพิเศษตรงที่สามารถ กำหนดสูตรการคำนวณในแต่ละเซลล์ ของ Sheet งานนั้นๆได้ โดยอาศัย ความแม่นยำในการคีย์ข้อมูลเข้าไป.
การพัฒนาระบบทะเบียน ของ โรงเรียนเมโทรเทคโนโลยี จังหวัดเชียงใหม่
ระบบฐานข้อมูลตรวจวัดคุณภาพน้ำ
การเพิ่ม ลบ จำกัดสิทธิ์ User จัดทำโดย 1. นายธัชนนท์ ต๊ะต้องใจ 1-B เลขที่ 4 2. นาย ไพบูรณ์ อินทะซาว 1-B เลขที่ 23.
การใช้งานโปรแกรม SPSS
ซอฟต์เเวร์ที่สนใจ.
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
พื้นฐานการใช้งานโปรแกรมAdobe Photoshop
LAB ตัวแปร : Variables ในการเขียนโปรแกรมเราต้องการให้โปรแกรม จดจำค่าต่างๆ ไว้ เช่นเมื่อรับค่าข้อมูลจาก ผู้ใช้ หรือค่าที่ได้จากการคำนวณใดๆ ค่า.
Computer in Business เรื่อง การใช้งาน Access เบื้องต้น.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 4 ลงมือพัฒนา โครงงานคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
การใช้งาน Microsoft Excel
ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
นางสาว ณัฐนิช อดิวัฒนสิทธิ์ วิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม
CD แผ่น ชื่อ File Program
การรักษาความปลอดภัยข้อมูลขั้นพื้นฐาน
เรื่อง การใช้งานโปรแกรม Microsoft office power point การใช้งาน โปรแกรม Microsoft Power Point.
การสร้างรายงานและ เอกสารอ้างอิง ด้วย Microsoft Word โดย.. อังคณา ปัญญา ฝ่ายบริการวิชาการและซ่อมบำรุง สำนักคอมพิวเตอร์และเครือข่าย.
เครื่องมือในการจัดการและ วิเคราะห์ข้อมูล นางสาว ชญานิษฐ์ เพ็ชรรัตน์ มูลนิธิสุขภาพภาคใต้ แผนงานระบบข้อมูลข่าวสารเพื่อความปลอดภัยทางถนน Road Safety Information.
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
แบบทดสอบ MICROSOFT EXCEL มีข้อมูลในแผ่นงานตั้งแต่แถวที่ 1 ถึงแถว 500 และคอลัมน์ A จนถึงคอลัมน์ M วิธีการเลือกช่วง ข้อมูลวิธีใด อย่างไร ที่อำนวยความสะดวกได้ดีและให้ผลรวดเร็ว.
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
วิธีการใ ช้ โปรแกรมคำนวณคะแนน กลุ่มเกษตรกรดีเด่น กองพัฒนาสหกรณ์ด้าน การเงินและร้านค้า กรมส่งเสริม สหกรณ์
MTH 261 File Management. File Management File Management จะอธิบายเกี่ยวกับการเขียน ส่วนจัดการแฟ้มข้อมูล เราสามารถที่จะเขียน โปรแกรมเพื่อเรียกใช้แฟ้มข้อมูลที่เรามี
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
การออกแบบโครงสร้างข้อมูล การออกแบบโครงสร้างข้อมูล หมายถึง กรณีสร้างตารางใหม่ด้วย ออกแบบตาราง (Table Design) เพื่อต้องการกำหนด โครงสร้างด้วยตนเอง โดยมีขั้นตอนการ.
งานวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ 4/3 เรื่อง INPUT และ OUTPUT จัดทำโดย นาย ชาญชัย ศรีน้อย เลขที่ 3 นาย ณัฐดนัย จันทมาศ เลขที่ 4 นาย อุดมศักดิ์ เกื้อนะ เลขที่
เทคนิคการสร้าง ภาพเคลื่อนไหว คอมพิวเตอร์ Computer Animation ง
คอมพิวเตอร์กราฟิกเพื่องานออกแบบ
เรื่อง กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
คอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบ (Computer-Aided Design)
"วิธีวิเคราะห์แบบสอบถาม หรือแบบประเมิน ด้วยโปรแกรม SPSS"
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
Microsoft Access 2007 การสร้างฟอร์ม
Introduction to VB2010 EXPRESS
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
หน่วยที่ 9 แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ระบบบริการประชาชน กรมทางหลวงชนบท
บทที่ 3 การสร้างเว็บไซต์ และการปรับคุณสมบัติของเว็บเพจ
การบันทึกแบบสอบถามผู้ผ่านการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน พ. ศ
Basic Input Output System
ใน Word 5 วิธีใหม่ๆ ในการทำงาน ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้จากทุกที่
บทที่ 8 การควบคุมระบบสารสนเทศทางการบัญชี : การควบคุมเฉพาะระบบงาน
การจัดการข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
Endnote V.X2 โปรแกรมจัดการบรรณานุกรม
เว็บเบราว์เซอร์และโปรแกรมค้นหา
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
SMS News Distribute Service
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
บทที่ 8 การใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ในการสร้างระบบการสอนบนเครือข่าย “Moodle” อาจารย์เทพยพงษ์ เศษคึมบง สาขาวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา pws.npru.ac.th/thepphayaphong.
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
การสรุปผลข้อมูล และ Action Query
เมนูหลัก ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดเตรียมเครื่องมือและข้อมูล 4 การจัดเตรียมเครื่องมือและข้อมูล สาระการเรียนรู้ การเตรียมเครื่องมือก่อนการประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูล การสร้างรหัสและการกำหนดชื่อตัวแปร การจัดทำคู่มือลงรหัส โปรแกรม SPSS การจัดเตรียมไฟล์ข้อมูล จุดประสงค์การเรียนรู้ สมรรถนะประจำหน่วย เตรียมเครื่องมือและข้อมูลให้มีความเหมาะสมกับการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ การจัดเตรียม เครื่องมือและข้อมูล บอกวิธีการเตรียมเครื่องมือก่อนการประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลได้ สร้างรหัสและกำหนดชื่อตัวแปรได้ อธิบายวิธีการจัดทำคู่มือลงรหัสได้ อธิบายวิธีการใช้โปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูลทางด้านสถิติได้ อธิบายวิธีการจัดเตรียมไฟล์ข้อมูลได้ กิจกรรมเตรียมความพร้อม สู่ประชาคมอาเซียน ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับข้อมูลการส่งออกข้าวตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552-2556 ของแต่ละประเทศในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนเพื่อจะได้นำเอาข้อมูลมาวิเคราะห์ทางสถิติ 38

การจัดเตรียมเครื่องมือและข้อมูล 4 การจัดเตรียมเครื่องมือและข้อมูล 1. การเตรียมเครื่องมือก่อนการประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูล 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล 2. การเปลี่ยนสภาพข้อมูล 2.1 การลงรหัส (Coding) 2.2 การแก้ไข (Editing) 2.3 การเปลี่ยนสภาพ (Transforming) 39

3. การประมวลผล (Data Processing) 4. การแสดงผลลัพธ์ (Output) 40

2. การสร้างรหัสและการกำหนดชื่อตัวแปร 4 2. การสร้างรหัสและการกำหนดชื่อตัวแปร มีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วจะต้องกำหนดตัวแปรหรือค่ารหัสของตัวแปร การกำหนดชื่อตัวแปรนั้นจะต้องกำหนดทั้งข้อมูลที่เป็นเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ส่วนการให้ค่ารหัสนั้นจะใช้กับตัวแปรเชิงคุณภาพ ส่วนตัวแปรเชิงปริมาณก็ใช้ค่าที่ได้จากการเก็บรวบรวมข้อมูลจริง 41

3. การจัดทำคู่มือลงรหัส 4 3. การจัดทำคู่มือลงรหัส การจัดทำคู่มือลงรหัสจะทำให้การลงข้อมูลได้ไม่ผิดพลาดโดยเฉพาะเมื่อตัวแปรมีจำนวนมาก อย่างไรก็ตามในบางครั้งจะนำข้อมูลที่ได้จากเครื่องมือการวิจัยไปเขียนลงในกระดาษลงรหัส (Paper Code) แล้วค่อยนำข้อมูลที่ลงรหัสในกระดาษลงรหัสไปลงในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 42

4 4. โปรแกรม SPSS 1. SPSSx เป็นโปรแกรมที่ใช้กับเครื่องขนาดใหญ่ที่เป็นประเภทเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) 2. SPSS/PC เป็นโปรแกรมที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer) ที่ทำงานบนระบบ DOS 3. SPSS for Windows เป็นโปรแกรมประเภทเดียวกับ SPSS/PC เพียงแต่ทำงานบนระบบ Windows 43

ภาพที่ 1 แสดงการสร้างไฟล์ข้อมูลใหม่ 4 5. การจัดเตรียมไฟล์ข้อมูล 1. การป้อนข้อมูลจากโปรแกรม SPSS โดยตรง 1.1 เปิดหน้าจอ SPSS Data Editor เลือกเมนู File -> New -> Data ภาพที่ 1 แสดงการสร้างไฟล์ข้อมูลใหม่ 44

ภาพที่ 2 แสดงการกำหนดข้อมูล Variable View 4 1.2 การกำหนดชื่อรายละเอียดของตัวแปร จากหน้าจอ Variable View ภาพที่ 2 แสดงการกำหนดข้อมูล Variable View 45

4 1) สิ่งที่จะต้องเตรียมในการกำหนดค่า Variable View คือ (1) การตั้งชื่อตัวแปร (Naming Variables) (2) ฉลากตัวแปร (Variable Labels) (3) ค่าฉลาก (Value Labels) (4) ค่าสูญหาย (Missing Values) (5) ชนิดตัวแปร (Variable Type) (6) รูปแบบสดมภ์ (Column Format) (7) ระดับการวัด (Measurement Level) 46

4 2) การกำหนดมาตราในการวัด (Measure) (1) Nominal เป็นมาตราวัดที่สามารถแบ่งค่าของกลุ่มตัวแปรที่แตกต่างกันได้เป็นส่วนๆ แต่ไม่สามารถทราบว่าค่าตัวแปรใดมากกว่ากันและมากกว่ากันเท่าไร (2) Ordinal เป็นมาตราวัดที่สามารถแบ่งค่าของกลุ่มตัวแปรที่แตกต่างกันได้เป็นส่วนๆ และสามารถทราบด้วยว่าค่าตัวแปรใดมากกว่ากันแต่ไม่ทราบว่ามากกว่ากันเท่าไร (3) Scale เป็นมาตราวัดที่สามารถแบ่งค่าของกลุ่มตัวแปรที่แตกต่างกันได้เป็นส่วนๆ สามารถทราบด้วยว่าค่าตัวแปรใดมากกว่ากันและทราบว่ามากกว่าค่าตัวแปรใดมากกว่ากันเท่าไร 46

ภาพที่ 3 การป้อนข้อมูลผ่านโปรแกรม SPSS 4 1.3 ป้อนข้อมูลจากหน้าจอ Data View ภาพที่ 3 การป้อนข้อมูลผ่านโปรแกรม SPSS 47

ภาพที่ 4 แสดงการบันทึกไฟล์ข้อมูล 1.4 บันทึกข้อมูล เลือกเมนู File -> Save ภาพที่ 4 แสดงการบันทึกไฟล์ข้อมูล 48

ภาพที่ 5 การป้อนข้อมูลโดยใช้โปรแกรม Microsoft Excel 4 2. การเตรียมข้อมูลในโปรแกรม Microsoft Excel ภาพที่ 5 การป้อนข้อมูลโดยใช้โปรแกรม Microsoft Excel 49

ภาพที่ 6 แสดงการบันทึกข้อมูล 4 ภาพที่ 6 แสดงการบันทึกข้อมูล 50

ภาพที่ 7 แสดงการเปิดไฟล์ข้อมูล 4 ภาพที่ 7 แสดงการเปิดไฟล์ข้อมูล 51

ภาพที่ 8 แสดงการเปิดไฟล์ข้อมูล 4 ภาพที่ 8 แสดงการเปิดไฟล์ข้อมูล 52

ภาพที่ 9 แสดงการเปิดไฟล์ข้อมูล 4 ภาพที่ 9 แสดงการเปิดไฟล์ข้อมูล 53

ภาพที่ 10 แสดงการเปิดไฟล์ข้อมูล 4 ภาพที่ 10 แสดงการเปิดไฟล์ข้อมูล 54

ภาพที่ 11 แสดงไฟล์ข้อมูลจากโปรแกรม Excel 4 ภาพที่ 11 แสดงไฟล์ข้อมูลจากโปรแกรม Excel 55