กลุ่มงานพัฒนารูปแบบบริการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต คัดเลือกโรงเรียนนำร่องรุ่นที่ 1 จำนวน ร้อยละ 10 ของโรงเรียนในสังกัด (43 โรงเรียน ) จำนวน 4 โรงเรียน -
Advertisements

1 การดำเนินการ โครงการยกระดับคุณภาพการ ให้บริการประชาชน.
การพัฒนาและจัดระบบบริการฯ หัวข้อ : ระบบบริการปฐมภูมิ
ปฐมนิเทศนักศึกษาฝึกงานภายนอก 18 สิงหาคม 2558
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
นโยบายการดำเนินงาน ปี 2561
บริบทอำเภอเมือง ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ประชากร 131,091คน
การค้นหาเส้นทางและพิกัดตำแหน่งบ้านผู้ป่วย
การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 คพสอ
การดำเนินงาน คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ
สำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง
งานผู้สูงอายุ ตัวชี้วัดหลัก : ตำบลมีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสและการดูแลระยะยาวในชุมชน (Long Term Care) ผ่านเกณฑ์ ตัวชี้วัดรอง.
ด้านสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
การบริหารงานส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคตามกลุ่มวัย
รายงานความก้าวหน้า การพัฒนาศักยภาพบุคลากรและโจทย์วิจัย Cluster SALTH
รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) สู่ประชาชนสุขภาพดี
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์ ตัวชี้วัดปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ 1/61
ตำบลจัดการสุขภาพ.
สวนรุกขชาติและศูนย์วิจัยกีฏวิทยาป่าไม้
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา
อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
ประเด็นยุทธศาสตร์ : การสร้างระบบสุขภาพเพื่อประชาชนที่ทุกคนเป็นเจ้าของ
การขับเคลื่อน ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ
ผลการดำเนินงาน 6 เดือน กลุ่มวัยเรียน
รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ประจำปี พ.ศ. 2560
KPI กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
การดำเนินงาน คลินิกหมอครอบครัว
ของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน
การประชุมผู้บริหารโรงเรียน เรื่อง เกณฑ์ประเมินการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา โดยใช้กระบวนการ PLC ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๖๑.
คำขวัญอำเภอเมืองเชียงใหม่
การจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล
ลงพื้นที่ตรวจราชการจังหวัดสุโขทัย รอบที่ ๒/๒๕๖๑
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) จังหวัดเพชรบุรี ปี 2558
ผลการดำเนินงาน สิ่งที่ค้นพบ
ตอนที่ 3.2 กลยุทธ์การบริหารเจ้าหน้าที่
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2/2561
นพ.ทวีทรัพย์ ศิรประภาศิริ สำนักงานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
แผนงานปี 2561 กลุ่มงานพัฒนารูปแบบบริการ
สถานการณ์ ผลการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยรุ่น
คณะที่ 2:การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดเชียงใหม่
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดนครนายก
หัวข้อในการบรรยาย 1. จำนวนบุคลากรสายสนับสนุน 2. เส้นทางความก้าวหน้า 3. องค์ประกอบของคณะกรรมการประเมินค่างาน 4. ขั้นตอนการแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น.
แนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 การพัฒนาศักยภาพตามกลุ่มวัย
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองสมุทรสงคราม
NCD W E C A N D O Long term care (LTC) Watbot Health Team.
แนวทางการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข รอบที่ 3 ประจำปี 2561
โครงการบัตร SMART CARD อสม.
การดำเนินงานเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี
คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และการจัดการสุขภาพ
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
ครั้งที่ 6/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
การประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามเยี่ยมเสริมพลัง เพื่อรับฟังการวิเคราะห์แนวทางวางแผนปฏิบัติงาน และนำเสนอผลการดำเนินงานพื้นที่ดำเนินงาน ระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุ
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน
สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน
เก็บตกวันวาน “สานพลังสร้างมาตรการองค์กร เพื่อความปลอดภัยทางถนน”
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ข้อมูลการระดมความคิดเห็นต่อ การเปิดสอนหลักสูตรปริญญาโท แผน ข
แผนพัฒนาการเกษตรตำบลคำพราน ปีงบประมาณ 2560 พื้นที่เพาะปลูกพืช เศรษฐกิจ
แปลงใหญ่ทั่วไป (ข้าว) ตำบลสองห้อง อำเภอบ้านแพรก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
แปลงใหญ่ทั่วไป ข้าว ตำบลหันสัง อ.บางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ร้อยละ 80 ของโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุผล
ราชธานีเก่า อู่ข้าวอู่น้ำ เลิศล้ำกานต์กวี คนดีศรีอยุธยา
2 ปีแห่งการพัฒนาสหกรณ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มงานพัฒนารูปแบบบริการ การถ่ายระดับนโยบายงานสุขภาพภาคประชาชนสู่การปฏิบัติ จังหวัดเชียงใหม่ ประจำปี 2561 5 มีนาคม 2561 งานสุขภาพภาคประชาชน กลุ่มงานพัฒนารูปแบบบริการ

การขับเคลื่อนงาน สช. ระดับภาค 1.การบูรณาการ : -เชื่อมกับ พอช. -รพ.สต.ติดดาว -ตำบลจัดการเชิงประเด็น (LTC/สวล.) 2.ประเด็นท้าทาย : -1 ตำบล 1 ทะเบียนนวัตกรรม -ศูนย์เรียนรู้นวัตกรรมระดับตำบล -พัฒนาระบบ GPS ตำบลนวัตกรร -เชื่อมตำบลจัดการฯ สู่ รพ.สต. ติดดาว กลุ่มภาคเหนือ 3. การเชื่อมโยง พชอ.: เชื่อมทีมประเมิน การประเมินรับรองตำบลฯ ด้วยทีม พชอ 5.การพัฒนา อสม.นักจัดการฯ -กำหนดสมรรถนะ อสม.ฯ -จัดกลุ่ม อสม. เพื่อพัฒนา -อสม.นักจัดการ:>ทำแผน เชื่อมเครือข่าย -อสม.ปฏิบัติการ>เป็นพี่เลี้ยง อสค. 4.TPAR : -อปท.เป็นฐานดำเนินการ -คัดเลือกตำบลต้นแบบร่วมกัน-รัฐ ท้องถิ่น ชุมชน -สุ่มประเมินโดย ทีม สสจ./อปท./เขต 6. Smart อสม.: -อสม.รุ่นใหม่ มี smart phone -อสม.นักสื่อสารสุขภาพ/รพ.สต,ละ 1 -ขยายเครือข่ายแบบ down line 7. งบประมาณสนับสนุน: ตอบโจทย์กอง / จังหวัดจัดการตนเอง 8.พี่เลี้ยง: -กำหนดสมรรถนะพี่เลี้ยง เพิ่ม จนท.รพ/เทศบาล -หลักสูตร : เพิ่มบทบาทการทำงานให้ชัดเจน/สร้างปฏิสัมพันธ์ -รูปแบบ :สร้างความรู้จากพื้นที่ /ถอดบทเรียน/IT for Coaching -การเชื่อม พชอ. / การจัดการนวัตกรรม/ การนำนโยบายสู่การปฏิบัติ 9. IT -ข้อมูลตำบลฯ ลงแล้วหาย -การสรุปผลไม่ชัดเจน -เพิ่มการวิเคราะห์ให้เห็นส่วนขาด

วิเคราะห์งาน สช. ปี 60 สู่การขับเคลื่อนปี 61 สถานการณ์ -ตำบลจัดการสุขภาพ ระดับดีขึ้นไป 197 จาก 204 ตำบล -อสม. ปปช. 2,422 คน (ร้อยละ 98.45) -อสม. นจก. 1,934 คน (ร้อยละ 94.80) ประเมิน 610 คน (ร้อยละ 31.54) ผ่าน 597 คน (ร้อยละ 97.87) -อสค. 3,013 คน ประเมิน 2,397 คน ผ่าน 2,344 (ร้อยละ 97.99) -อสม. ดีเด่นจังหวัด 3 เขต 3 ภาค 3 และชาติ 1 / ตำบลจัดการ ชนะเลิศ เขต / องค์กร อสม. รองชนะเลิศ เขต GAP -ตำบลจัดการฯ / อบรม อสม. เขต ทน.ชม. -ไม่มีเวลาติดตามเชิงคุณภาพ -การดำเนินงาน รน.ช./รร.อสม. ไม่ต่อเนื่อง -การพัฒนา อสม. ล่าช้า / ไม่ประเมิน -อสค. ไม่ลงข้อมูลในเว็บ -กรรมการ อสม. ดีเด่นสาย มีปัญหา -ฐานข้อมูลไม่เป็นปัจจุบัน / ผิดเยอะ TASK 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน -เตรียมแผนงาน/โครงการ -ชี้แจงการดำเนินงาน -จัดสรรงบประมาณ -พัฒนาตำบลจัดการ (ต่อยอด) -ปรับปรุงฐานข้อมูล อสม. -ขึ้นทะเบียน อสค. -อบรม อสม. / อสค. -ประกวด อสม. เขต/ภาค/ชาติ -งานวัน อสม. -อบรม อสม. / อสค. (ต่อ) -เริ่มประเมินตำบลจัดการฯ -ประกวด อสม. สาย -รายงานผลงานผ่านเว็บไซด์ -ประกวด อสม. จังหวัด -ประเมินครอบครัว อสค. ดูแล -สรุปผลการดำเนินงาน

ประเด็นการขับเคลื่อนงาน เป้าหมาย 1. การพัฒนา อสม. 4.0 2. งานวัน อสม. แห่งชาติ 3. การคัดเลือก อสม. ดีเด่น 4. ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ 5. โครงการ 3 ล้าน 3 ปี เลิกบุหรี่ทั่วไทย 6. อาสาสมัครประจำครอบครัว 7. การรายงานข้อมูล อสม. 8. การจ่ายค่าป่วยการผ่าน e-payment 1. อสม. 8,724 คน 2. อสม.+พี่เลี้ยง 350 คน 3. อสม. 11/ตำบล 1/องค์กรฯ 1 4. นอกเขต 197 ตำบล 5. ปชช. 3 ล้านคน ทั่ว ปท. (ปี 62) 6. อสค. 15,127 คน 7. ตำบล 204 แห่งๆ ละ 300 บาท 8. อสม. 34,765 คน

ข้อบ่งชี้ อสม. 4.0 1. อสม. สามารถใช้เทคโนโลยีดิจิทัลได้ (Smart อสม./เว็บไซด์ อสค./AIS ฯลฯ) 2. อสม. มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ (พัฒนาศักยภาพ –อบรม/เว็บไซด์/สื่อต่างๆ) 3. อสม. มีจิตอาสา และเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพ (สมัครจิตอาสา/มีความรู้ปฐมพยาบาล+ฟื้นคืนชีพ/ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเอง/เป็นตัวอย่างที่ดีแก่ ปชช.) 4. อสม. สามารถใช้ยาได้สมเหตุสมผล (มีความรู้เรื่องการใช้ยาอย่างถูกต้อง/แนะนำกลุ่มเป้าหมายได้ เน้น... กลุ่มวัยทำงาน วัยสูงอายุ และ อสค.) ข้อบ่งชี้

APP. : SMART อสม.

การพัฒนาศักยภาพ อสม. เสร็จสิ้นไม่เกิน พ.ค. 61 1. อสม. นักจัดการสุขภาพชุมชน (5 คนต่อตำบล : 2 วัน) 2. อสม. ดูแลวัยทำงาน (3 คนต่อตำบล : 1 วัน) 3. อสม. ดูแลวัยสูงอายุ (2 คนต่อตำบล : 1 วัน) 4. พิเศษ : อสม. ปฐมพยาบาลเบื้องต้น (ทุกคน) / ฟื้นคืนชีพเบื้องต้น (15 คนต่อตำบล : บูรณาการกับ 1-3) 5. พิเศษ : อสม. ใช้ยาสมเหตุผล (10 คนต่อตำบล : บูรณาการกับ 1-3) เสร็จสิ้นไม่เกิน พ.ค. 61

อสม. ปฐมพยาบาล/ฟื้นคืนชีพ/RDU หลักสูตร วิธีการบูรณาการงาน บูรณาการกับ 3 หลักสูตรที่มีงบประมาณ เป้าหมาย: 24,463: 8,562) 1. ปฐมพยาบาล: ทุกคน (กำหนด 70%) 2. ฟื้นคืนชีพ: 15 คน/ตำบล (กำหนด 35% ของปฐมฯ) 3. RDU: 10 คน/ตำบล (กำหนด: -) ดูหลักสูตรในเอกสาร กลุ่มเป้าหมาย: อสม. ทุกคน ฟื้นฟูความรู้วันประชุมประจำเดือน / รร. อสม. วิทยากร: รพ.สต.+ อสม. กลุ่มเป้าหมาย: 5 คน อสม. นักจัดการฯ + 10 คน หน่วยก้านดี อายุไม่มาก วิทยากร: ทีม รพ.+กู้ชีพ กลุ่มเป้าหมาย: 10 คน จาก 3 หลักสูตรหลัก วิทยากร: เภสัชกรจาก รพ.

อสม. นักจัดการสุขภาพชุมชน หลักสูตร เวลา เนื้อหา หลักสูตร 2 วัน งบประมาณ 320 บาท ต่อคน เน้น: ทำงานตำบลจัดการสุขภาพ/วางแผน เพิ่ม: อสม. ฟื้นคืนชีพเบื้องต้นอีก 10 คน/ตำบล หรือมากกว่า วันที่ 1 เช้า -การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ -สถานการณ์ 5 กลุ่มวัย (4 กลุ่มวัย) -บทบาทของ อสม. ในตำบลจัดการฯ และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม บ่าย -วิเคราะห์สถานการณ์กลุ่มวัย (วางแผน) -การเขียนแผนและโครงการ วันที่ 2 -แนวทางการประเมินตำบลจัดการฯ -การใช้ยาอย่างเหมาะสม (เภสัช รพ.) การฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (CPR+AED) (ER รพช.)

อสม. ดูแลวันทำงาน+วัยสูงอายุ หลักสูตร เวลา เนื้อหา หลักสูตร 2 วัน งบประมาณ 190 บาท ต่อคน เน้น: การดูแลตามกลุ่มวัย ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และการใช้ยาสมเหตุผล 9-10 น. สถานการสุขภาพวัยทำงาน และวัยสูงอายุ 10-11 น. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 11-12 น. การใช้ยาอย่างเหมาะสมในชุมชน (เภสัชฯ รพ.) 13-16 น. แบ่งกลุ่ม (เรียนรู้เข้มข้น ไม่ใช่เวียนฐาน) 1. วัยทำงาน บทบาทของ อสม. ในการดูแลวัยทำงาน 2. วัยสูงอายุ บทบาทของ อสม. ในการดูแลวัยสูงอายุ

วัน อสม. แห่งชาติ 1. จังหวัด จัดวันที่ มี.ค. 61 เป้าหมาย 350 คน (อสม. ดีเด่นจัดบูธนิทรรศการ ) 2. งานวัน อสม. ชาติ กทม. 19-20 มี.ค. 61 ณ เซนทราศูนย์ราชการ อสม. ดีเด่น 11 คน / องค์กร อสม.ดีเด่นปี 59 1 คน/ ปี 60 1 คน / อสม.ชาติปี 60 1 คน 3. ธีมงาน: สมาร์ท อสม. 4.0 ชวนคนไทยออกกำลังกาย เลิกสูบบุหรี่ ลดเสี่ยงโรคหัวใจและหลอเลือด

อสม. /ตำบลจัดการ/องค์กร อสม. ดีเด่น 1. อสม. ดีเด่น 11 สาขา (คัดเลือกระดับสาย มิถุนายน / ประกวด ต้น กรกฎาคม) 2. ประกวดตำบลจัดการสุขภาพ หมู่บ้านปรับเปลี่ยน และโรงเรียนสุขบัญญัติ ร่วมด้วย 3. องค์กร อสม. ดีเด่น จะนัดหมายกับสมาคม อสม. ประกวดนอกรอบ

อสม. มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ 1. ยกระดับการศึกษา 2. ฝึกอบรม / ฝึกปฏิบัติ 3. เรียนรู้ผ่านสื่อดิจิทัล เช่น Smart อสม. / AIS 4. เรียนรู้จากสื่อสิ่งพิมพ์ 5. เรียนรู้จาก Best Practice / เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อย่าลืม: ประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพใน อสม. ตามแบบฟอร์มของกองสุขศึกษา

3 ล้าน 3 ปี เลิกบุหรี่ทั่วไทย เทิดไท้องค์ราชันย์ ปี 60: มีผู้เข้าร่วมโครงการฯ 620,716 คน (ถึง 3 ล้านปี 62) วิธีการ 1. อสม. สำรวจผู้สูบบุหรี่ในชุมชน 2. อสม. ชวนผู้สูบบุหรี่เข้าร่วม โครงการ 3. อสม. ติดตาม เสริมกำลังใจ ให้ เลิกบุหรี่ให้ได้ รายงานผลให้ สสจ. ทราบว่า ชวนไปกี่ คน มีมอบรางวัลให้ อสม. ที่ชวนเลิกได้ มาก (ประสานกลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ)

พัฒนาศักยภาพ อสค. (On the job training) 1. ขึ้นทะเบียน อสค. ผ่านเว็บไซด์ http://fv.phc.hss.moph.go.th 2. หรือผ่านเว็บ thaiphc.net เมนู อสค. หรือ อสค.com 3. ประเมินครอบครัวที่มีศักยภาพในการดูแลตนเองได้ตามเกณฑ์ 4. คัดเลือก อสค. ที่มีผลงานดีเด่น และนวัตกรรม 5. อย่าลืม ทุกตำบลต้องพัฒนาพระ/เณร ให้เป็น อสค. NCD (อนาคตอาจพัฒนาเป็น อสว. ปีต่อไป อย่างน้อย 1 รูป/รพ.สต.

จำนวน อสค. เปรียบเทียบเขต 1

จำนวน อสค. เปรียบเทียบจังหวัด

รายชื่อ อสค. ดีเด่น

ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ 1. ตำบลจัดการสุขภาพ 5 กลุ่มวัย เหมือนเดิม 2. เชื่อมโยงกับ DHS / พชอ. / PCC / LTC 3. เน้นค้นหานวัตกรรมสุขภาพชุมชน เชื่อมโยงสู่ รน.สช./รร.อสม. 4. ประเมินตนเองช่วง มิ.ย. – ก.ค. 61 5. เกณฑ์ประเมินใหม่ T-PAR สุขภาพดี ยั่งยืน ฉลาด มีตังค์

การจ่ายเงินค่าป่วยการ อสม. ผ่านระบบ e-payment เรื่องมันยาว รอภาคบ่าย เรื่องมันยาว รอภาคบ่าย