งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข จังหวัดเชียงใหม่

2 งานอนามัยแม่และเด็ก ตัวชี้วัดหลัก : มารดาตายไม่เกิน 20 ต่อแสนการเกิดมีชีพ ตัวชี้วัดรอง 1. ลดภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ไม่เกินร้อยละ โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์การบริการ ANC คุณภาพ 3. โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ ห้องคลอดคุณภาพ 4. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ตำบลพัฒนาการเด็กดีเริ่มที่นมแม่ผ่านเกณฑ์เพิ่มขึ้น 1 ตำบล/อำเภอ

3 Template 1. อัตราส่วนการตายมารดาไทยไม่เกิน 15 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2
Template 1. อัตราส่วนการตายมารดาไทยไม่เกิน 15 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2. ลดภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ไม่เกินร้อยละ โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์การบริการ ANC คุณภาพ 4. โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์การบริการห้องคลอดคุณภาพ 5. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60

4 อัตราส่วนมารดาตาย ไม่เกิน 15 / แสนการเกิดมีชีพ
สาเหตุกรณีแม่ตาย 15 ราย ปี 2559 (ไม่ใช่สัญชาติไทย 3 ราย) - PPH 6 ราย(รพ.ฝาง , รพ.ส่งเสริมฯ 2 ราย , รพ.สะเมิง , ศูนย์ศรีพัฒน์ฯ, อ.อมก๋อย) - PIH 3 ราย (รพ.ฝาง , รพ.ส่งเสริมฯ , รพ.นครพิงค์) - Sepsis 2 ราย (รพ.เทพปัญญา , รพ.ราชเวช) - Acute fatty liver 1 ราย (ศูนย์ศรีพัฒน์ฯ) - Medical complication อื่นๆ 3 ราย (อ.ฮอด , อ.แม่แจ่ม , รพ.นครพิงค์)

5 หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์ต่ำกว่า 12 สัปดาห์ (ร้อยละ 60)

6 หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์(ร้อยละ 60)

7 หญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์

8 อัตราหญิงตั้งครรภ์ที่พบภาวะโลหิตจางครั้งที่1 และครั้งที่ 2 ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ ไม่เกินร้อยละ 18

9 โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์มาตรฐานอนามัยแม่และเด็ก
โรงพยาบาลที่ได้รับการประเมิน ผ่านมาตรฐาน ANC คุณภาพ ผ่านมาตรฐาน ห้องคลอดคุณภาพ 24 แห่ง 15 แห่ง จำนวนตำบลทั้งหมด ตำบลพัฒนาการเด็กดีเริ่มที่นมแม่ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 204 6 2.94

10 สภาพปัญหา การบริหารจัดการและการควบคุมกำกับการดำเนินงานของ MCH Board ยังไม่มีประสิทธิภาพ Early ANC และ ANC 5 ครั้ง ยังไม่ครบตามเกณฑ์และมีคุณภาพ คุณภาพห้องคลอด ยังไม่ได้ดำเนินการตามแนวทางที่ MCH เขตสุขภาพที่ 1 กำหนด การประสานส่งต่อผู้ป่วยแม่และเด็กระหว่างโรงพยาบาลภายในจังหวัดและภายในเขตสุขภาพที่ 1 โดยเฉพาะแม่หลังคลอดที่อาศัยอยู่ระหว่างรอยต่อของจังหวัดยังพบว่ามีปัญหา ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ยังสูงอยู่(โดยเฉพาะครั้งที่ 2)ถึงแม้จะต่ำกว่าเป้าหมายที่กระทรวงกำหนด ตำบลผ่านเกณฑ์ตำบลพัฒนาการเด็กดีเริ่มที่นมแม่ จำนวน 6 แห่ง

11

12 เป้าหมายการพัฒนาในระดับอำเภอ ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ
ประเด็นที่กำกับติดตาม ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1.การดำเนินงานของคณะทำงาน MCH Board ระดับอำเภอ 1. มีคำสั่งแต่งตั้ง MCH Board ระดับอำเภอ 2. รายงานการประชุมของ MCH Board ระดับอำเภอ อย่างน้อย 1 ครั้ง 3.ข้อมูลการวิเคราะห์สภาพปัญหาการดำเนินงาน (GAPs) และแผนการพัฒนา การฝากครรภ์คุณภาพ/ การคลอดตามมาตรฐาน/การดูแลหลังคลอด  1.ผลการดำเนินงานตามแผน 1. ผลการติดตามการดำเนินงานของ รพสต.ทุกแห่ง โดยทีม MCH Board ระดับอำเภอ 1. รายงาน การประชุม ของ MCH Board ระดับ อำเภอ อย่าง น้อย 1 ครั้ง 2. ข้อมูล นำเสนอผล การ ดำเนินงาน แม่และเด็ก ในเวที ประชุม MCH Board ระดับ จังหวัด 1. คำสั่งแต่งตั้ง MCH Board ระดับอำเภอ 2. ข้อมูลวิเคราะห์สภาพปัญหาและแผนแก้ไขปัญหา 3.รายงานการประชุมของ MCH Board ระดับอำเภอ 4. รายงานการติดตามการดำเนินงานระดับตำบล

13 ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ
ประเด็นที่กำกับติดตาม ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 2. การดำเนินงานฝากครรภ์คุณภาพตามแนวทางที่กำหนดใน รพ.และ รพสต. 1. รพ/รพสต.รับทราบนโยบายและแนวทางการดำเนินงาน 2. ข้อมูลวิเคราะห์สภาพปัญหาการดำเนินงานANC ที่ผ่านมาและแผนการดำเนินงาน 3.มีการกำหนดรูปแบบการดำเนินงานฝากครรภ์คุณภาพในระดับอำเภอ 1. มีการกำหนดกิจกรรมและวันในการให้บริการANC ใน รพสต.ทุกแห่ง 2.แผนและผลการดำเนินงานประชาสัมพันธ์การดำเนินงานคลินิกฝากครรภ์ 3.รายชื่อหญิงตั้งครรภ์ได้รับการค้นหาการตั้งครรภ์โดยอสม. 4.แผนที่เดินดินของหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่ระดับตำบล 1.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ และฝากครรภ์คุณภาพ 5 ครั้ง ทุกคน 2.หญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงได้รับการส่งต่อ รพ.ทุกราย 3.หญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเสริมธาตุเหล็กและยาเสริมไอโอดีนทุกเดือนและทุกราย 4.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการเยี่ยมบ้านโดย อสม.ทุกราย 1.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝาก ก่อน 12 สัปดาห์และฝากครรภ์คุณภาพจาก รพ./รพสต. อย่างน้อยร้อยละ 60 2.หญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงได้รับการดูแลตามแนวทางที่กำหนดร้อยละ 100 3.หญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเสริมธาตุเหล็กและยาเสริมไอโอดีนทุกเดือนร้อยละ 100 4. รพ./รพสต.มีการดำเนินงานฝากครรภ์คุณภาพตามแนวทางที่กำหนด 3. รพ.มีการดำเนินงานห้องคลอดคุณภาพ 1. ข้อมูลวิเคราะห์ ปัญหาการ ดำเนินงานและ ข้อมูลการปะเมิน ตนเอง ตามแนวทาง ห้องคลอดคุณภาพ 2.แผนการแก้ไข ปัญหา 1. ผลการดำเนินงานตามแผน 2. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการประเมินความ เสี่ยง ดูแล และส่งต่อตามแนวทางที่กำหนด ทุกราย 3.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจ Hct. ก่อน คลอดทุกราย 4. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลในห้องคลอด ตามมาตรฐานการคลอดของกรมการ แพทย์/LABOR /PPH / PIH ของเขตสุขภาพ ที่ หญิงคลอดมีการใช้ถุงตวงเลือดในการ คลอดทุกราย 6.มีแผนในการจัด จนท.ที่ปฏิบัติงานในระยะ คลอดอย่างน้อย 3 คน ตามแนวทางที่ กำหนด 7.มีรายงานการทบทวนกรณี แม่ตาย ลูก ตาย BA/ PPH/ PIH และปัญหาอุปสรรค การดำเนินงาน 8. หญิงหลังคลอด 1. หญิงคลอดได้รับการ แก้ไขปัญหาเพื่อลด ความรุนแรงจากการ ตกเลือดและมีการส่ง ต่อตามเกณฑ์ที่กำหนด 2. ลดการตายของ มารดาจากการคลอด (PPH / Medical complication/ฯลฯ) 3. ลดอัตราการเกิด BA ไม่เกิน 25ต่อพันการ เกิดมีชีพ 4. ลดอัตราทารกตาย จากการคลอด 5.ห้องคลอดผ่านเกณฑ์ ห้องคลอดคุณภาพ

14 ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ
ประเด็นที่กำกับติดตาม ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 4. รพ./รพสต. มีการดูแลหญิงหลังคลอดคุณภาพ 1. ข้อมูลวิเคราะห์ ปัญหาการ ดำเนินงานหลัง คลอดและแผน แก้ไขปัญหา 2.ข้อมูลหญิง ตั้งครรภ์ /หญิงหลัง คลอดทุกราย(ส่ง ต่อจากรพ.หรือ สำรวจจาก อสม.) 3.แผนที่เดินดิน ของหญิงตั้งครรภ์/ หญิงหลังคลอดใน พื้นที่ระดับตำบล 1.หญิงหลังคลอดได้รับการดูแลหลังคลอดตามแนวทางที่กำหนด 3 ครั้งตามเกณฑ์ ทุกราย 2.หญิงหลังคลอดได้รับการเยี่ยมบ้านโดย อสม.อย่างน้อย 1 ครั้ง 3.หญิงหลังคลอดได้รับยาเสริมธาตุเหล็กและยาเสริมไอโอดีน อย่างน้อย 6 เดือนทุกคน 4.หญิงหลังคลอดที่มีความผิดปกติได้รับการส่งต่อทุกราย 1.หญิงหลังคลอด ได้รับการดูแล ตามแนวทางที่ กำหนด ร้อยละ ลดการตาย มารดาหลังคลอด 1.รายงานก1ก2 2.รายงาน 43 แฟ้ม 3. แผนการดูแลหญิงหลังคลอด 4. รายงานการเยี่ยมบ้านตามเกณฑ์ 5. ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ (ครั้งที่ 2) ลดลง 1. คพสอ.มีข้อมูล วิเคราะห์ปัญหา และวางแผนแก้ไข ปัญหาภาวะซีดใน หญิงตั้งครรภ์ 2.จนท. มีความรู้ใน การคัดกรอง ดูแล และรักษาภาวะซีด ในหญิงตั้งครรภ์ 1. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการคัด กรองภาวะซีด(CBC, Thalassemia)ทุกราย 2. หญิงตั้งครรภ์ที่พบภาวะ ซีดได้รับการดูแลรักษาตาม แนวทางที่กำหนด และมีการ ตรวจเลือดซ้ำ 1 เดือน หลังจากได้รับยาทุกราย 3.หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด ได้รับการส่งต่อจาก โรงพยาบาลให้ รพสต. ทุก ราย 4. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการ เยี่ยมบ้านเพื่อติดตามการ รับประทานยาและการปฏิบัติ ตัว ทุกราย 1. หญิงตั้งครรภ์ ได้รับคัดกรอง ภาวะซีดร้อยละ 100 2. หญิงตั้งครรภ์ที่ มีภาวะซีดได้รับ การดูแลรักษา ตามแนวทางที่ กำหนดร้อยละ หญิงตั้งครรภ์ ได้รับยาเสริมธาตุ เหล็กและไอโอดีน ร้อยละ อัตราภาวะซีด ในหญิงตั้งครรภ์ จากการตรวจ เลือดครั้งที่ 2 ลดลงจากปีที่ผ่าน มา 3. ข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด 4. ข้อมูลรายงานการเยี่ยมบ้าน 5. ข้อมูลยาเสริมธาตุเหล็กและยาเสริมไอโอดีน

15 ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ
ประเด็นที่กำกับติดตาม ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 6. การดำเนินงานตำบลพัฒนาการเด็กดีเริ่มที่นมแม่ ( ตำบลที่ได้รับการคัดเลือก) 1.มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการตำบลนมแม่ฯ 2.มีแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ / แผนชุมชนตำบลนมแม่และแผนปฏิบัติการ 3. มีมาตรการสังคมตำบลนมแม่1แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานและที่ปรึกษา 4. ประชุมชี้แจง นโยบายแก่ ภาคีตำบลนม แม่ 1. มีข้อมูลประเมินตนเอง ตามมาตรฐาน รพสต. งานอนามัยแม่และเด็กและมีแผนการพัฒนา 2. มีข้อมูลประเมินศูนย์เด็กเล็ก ตามเกณฑ์มาตรฐานศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ และมีแผนการพัฒนา 3.มีผลการดำเนินงานกิจกรรมรณรงค์การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ / การส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย 4. ไม่มีการจำหน่ายนมผง (สำหรับเด็กอายุต่ำกว่า 6 เดือน)ในชุมชน 5. มีแม่ตัวอย่าง/ปราชญ์นมแม่/อสม.เชี่ยวชาญสาขานมแม่และ ครอบครัวต้นแบบนมแม่ 6. เด็ก9,18,30,42 เดือนได้รับการคัดกรองพัฒนาการเด็ก ร้อยละ เด็กปฐมวัย ได้รับการเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กโดย อสม/ ศพด/โรงเรียน ร้อยละ เด็กปฐมวัยที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า ได้รับการกระตุ้น ร้อยละ 100 1. ฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ >ร้อยละ ฝากครรภ์คุณภาพ 5 ครั้งตามเกณฑ์ > ร้อยละ เด็กแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัม <ร้อยละ 7 4. อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 6 เดือน >ร้อยละ รพ.สต. ผ่านเกณฑ์ รพ.คุณภาพแม่และเด็ก 6. ศูนย์เด็กเล็กผ่านเกณฑ์มาตรฐานศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ 7. ตำบลผ่านเกณฑ์ตำบลพัฒนาการเด็กดีเริ่มที่นมแม่ 1. แบบรายงานประเมินตนเอง รพสต.อนามัยแม่และเด็ก/ศพด.คุณภาพ 2. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์/แผนชุมชน 3. คำสั่งแต่งตั้งกรรมการ 4. มาตรการทางสังคม 5. ผลการคัดเลือกแม่ตัวอย่าง/ปราชญ์นมแม่/อสม.เชี่ยวชาญ/ครอบครัวต้นแบบ 6. ข้อมูลผลการดำเนินงาน

16 เด็กปฐมวัย ตัวชี้วัดหลัก 1. เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 85
ตัวชี้วัดหลัก 1. เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 85 (เด็ก 9,18,30,42 เดือนที่ประเมินพบพัฒนาการสมวัย + เด็กที่พัฒนาการสงสัยล่าช้ากระตุ้นแล้วสมวัย หาร เด็ก 9,18,30,42 เดือนที่ได้รับการประเมินทั้งหมด ) 2. เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ร้อยละ และส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี ชาย 113 ซม. หญิง 112 ซม. (ปี 2564 )

17 เด็กปฐมวัย ตัวชี้วัดรอง 1. เด็ก 9 ,18, 30, 42 เดือน ได้รับการคัดกรองพัฒนาการเด็ก ร้อยละ เด็กที่สงสัยล่าช้าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ ร้อยละ เด็ก 0-5 ปี ได้รับการประเมินภาวะโภชนาการ ร้อยละ 100

18 Template 1. ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย 2

19 การดำเนินงานตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัย จ.เชียงใหม่ ปี 2559
83.08 92.38 แหล่งข้อมูล : HDC ณ วันที่ 16 ตุลาคม 59

20 การติดตามเด็กที่สงสัยล่าช้าได้รับการกระตุ้น จ.เชียงใหม่ ปี 2559
การติดตามเด็กที่สงสัยล่าช้าได้รับการกระตุ้น จ.เชียงใหม่ ปี 2559 33.40 แหล่งข้อมูล : HDC ณ วันที่ 16 ตุลาคม 59

21 การดำเนินงานรณรงค์ตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัย จ.เชียงใหม่ 4-8 กค. 59
การดำเนินงานรณรงค์ตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัย จ.เชียงใหม่ 4-8 กค. 59 89.83 แหล่งข้อมูล : HDC ณ วันที่ 16 ตุลาคม 59

22 การดำเนินงานรณรงค์ตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัย จ.เชียงใหม่ ปี 2559
48.72 แหล่งข้อมูล : HDC ณ วันที่ 16 ตุลาคม 59

23 การดำเนินงานโภชนาการเด็กปฐมวัย จ.เชียงใหม่ ปี 2559
89.83 51 41.99 แหล่งข้อมูล : HDC ณ วันที่ 16 ตุลาคม 59

24 สภาพปัญหาที่พบจากการดำเนินงาน
เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลในฐาน 43 แฟ้ม ไม่ถูกต้องตามระยะเวลาที่กำหนด ( โดยเฉพาะช่วงรณรงค์ฯ) การคัดกรองพัฒนาการเด็ก 4 ช่วงวัย ยังไม่ครอบคลุม ร้อยละ 100 และมีการติดตามกระตุ้นเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้าได้น้อยมาก เพียง ร้อยละ 33 3. ผลการคัดกรองพัฒนาการเด็กที่สมวัย แตกต่างกันระหว่างช่วงรณรงค์ฯ และช่วงการ ดำเนินงานแต่ละเดือน ซึ่งบ่งบอกถึงคุณภาพการตรวจ ประเมินพัฒนาการเด็กของ เจ้าหน้าที่ 4. ขาดความร่วมมือในการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ของ รร. อนุบาล/ศพด./อสม/ผู้ปกครอง 5. การดำเนินงานโรงเรียนพ่อแม่ ในหน่วยบริการ ANC หลังคลอดและในคลินิกเด็กดี WCC ยังไม่มีคุณภาพ 6. คณะอนุกรรมการพัฒนาการเด็กระดับอำเภอ ซึ่งมี CPM ระดับอำเภอ เป็นเลขาฯ ดำเนินงานไม่เป็นไปตามบทบาทหน้าที่ที่กำหนด

25 งานพัฒนาการเด็ก การส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
ตค.-ธค.59 เมย.-กย.59 มค.-มีค.60 กค-กย. เด็กที่ล่าช้าได้รับ การกระตุ้นใน WCC ของ รพ./สถาบัน พัฒนาการเด็กฯ มีข้อมูลการนิเทศ/ติดตามการบันทึกข้อมูลพัฒนาการเด็ก ข้อมูลพัฒนาการเด็กได้รับการบันทึกอย่างถูกต้อง เด็กสงสัย ล่าช้าได้รับ การกระตุ้น ร้อยละ100 จนท. ระดับตำบล/อำเภอ มีความรู้/ทักษะในการบันทึกข้อมูล ฐาน 43 แฟ้ม การนิเทศ ส่งต่อ การพัฒนาระบบข้อมูล การตรวจสอบจากระบบ IT อบรม พัฒนา เด็กอายุ 9,18,30,42 ด. ได้รับการคัดกรองทุกเดือน ใน Wcc ร้อยละ 80 กระตุ้น WCC คุณภาพ เด็กสมวัย ได้รับการ ส่งเสริม พัฒนาการ ช่วงอายุถัดไป จนท.รพ./รพ.สต.ได้รับการพัฒนาศักยภาพเพิ่มขึ้น คัดกรอง ส่งเสริม พัฒนา มีข้อมูลการรณรงค์คัดกรองพัฒนาการเด็กเดือน กค.60 มีข้อมูลการรณรงค์คัดกรองพัฒนาการเด็กเดือน มค.60 ประชุมคณะกรรมการฯ เด็กสงสัย ล่าช้าได้ส่ง ต่อรพ.สต. อบรม เด็กปฐมวัยมี พัฒนาการ สมวัยร้อยละ 80 ปี 2560 พัฒนา ประชุมชี้แจง ประ ชุม ศพด. คุณภาพ การส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย มีแผนการส่งเสริมพัฒนาการเด็กระดับอำเภอ ภาคีเครือข่าย (ศพด./รร / สถานรับเลี้ยง เด็กได้รับการ พัฒนาศักยภาพ เด็กอายุครบ ช่วงได้รับการ ประเมินทุก เดือนร้อยละ 100 ส่งต่อ มีแนวทางการดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการเด็ก จ.เชียงใหม่ เด็ก ปฐมวัยมี พัฒนาการ สมวัย ร้อยละ 80 ในปี 2560 คณะอนุกรรมการพัฒนาการเด็กระดับอำเภอรับทราบนโยบาย ประเมิน อบรม เด็กที่สมวัย ได้รับการ ส่งเสริมใน ข่วงต่อไป ส่งเสริม พัฒนา โรงเรียนพ่อแม่ ผู้ปกครอง ได้รับความรู้ใน การส่งเสริม พัฒนาการเด็ก เด็ก ได้รับ การส่งเสริม พัฒนาการ ตามช่วงอายุ ส่งเสริม สมุดบันทึกได้รับ การตรวจ/ แนะนำแก่ ผู้ปกครองใน wcc ทุกครั้ง อบรม บันทึก มีการ บันทึก ข้อมูล ประจำตัว ตรวจสอบ การพัฒนาระบบกำกับติดตาม แนะนำ อสมช. ได้รับ ความรู้ในการ ส่งเสริม พัฒนาการเด็ก ประชุมระดับโซน ประเมิน เด็กในเขตรับผิดชอบได้รับการประเมินพัฒนาการทุกเดือน ตืดตาม จังหวัดทราบแนวทางการดำเนินงานระดับอำเภอ มีรายงานผลการดำเนินงานทุกเดือน ประ ชุม ส่งรายงาน มีแผนการนิเทศ/ติดตาม ให้รพ.สต. มีข้อมูลการนิเทศติดตาม CPM อำเภอ/สุ่มตำบล

26 เป้าหมายการพัฒนาในระดับอำเภอ ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ
ประเด็นที่กำกับติดตาม ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1.การดำเนินงานของคณะทำงาน CPM ระดับอำเภอ 1.มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบูรณาการส่งเสริมพัฒนาการเด็กระดับอำเภอ 2.มีข้อมูลการวิเคราะห์สภาพปัญหาและแผนการดำเนินงานพัฒนาการเด็ก (GAPs)ปีที่ผ่านมา และมีแผนการพัฒนาระดับอำเภอ 3. รายงานการประชุมของ คณะกรรมการบูรณาการระดับอำเภอ อย่างน้อย 1 ครั้ง 1.มีรายงานผลการผลการดำเนินงานตามแผน 2.รายงานการประชุมของ คณะกรรมการบูรณาการระดับอำเภอ อย่างน้อย 1 ครั้ง 1.มีรายงานการติดตามการดำเนินงานของ รพสต.ทุกแห่ง โดย CPM ระดับอำเภอ 2.รายงานการประชุมของ คณะกรรมการบูรณาการ ระดับอำเภอ อย่างน้อย 1 ครั้ง 1.คณะทำงาน CPM ระดับอำเภอ นำเสนอการดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ให้กับคณะกรรมการบูรณาการส่งเสริมพัฒนาการเด็กระดับอำเภอ 2.รายงานการประชุมของ คณะกรรมการฯ ระดับอำเภอ อย่างน้อย 1 ครั้ง 1.คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการฯ 2.ข้อมูลสภาพปัญหาและแผนการแก้ไขปัญหา 3.รายงานการติดตามการดำเนินงานของ รพ.สต. 4.รายงานการประชุมคณะกรรมการบูรณาการ 2.การบันทึกข้อมูลพัฒนาการและโภชนาการ เด็ก 0-5 ปี มีสภาพปัญหาที่ทำให้การบันทึกข้อมูลพัฒนาการเด็ก ในฐานข้อมูล 43 แฟ้ม ไม่มีคุณภาพ ไม่ครบถ้วน และไม่เป็นปัจจุบัน 1.ข้อมูลการรณรงค์คัดกรองพัฒนาการเด็ก รอบที่ 1 เดือน มค. 60 ครบถ้วน ถูกต้อง 2.มีข้อมูลการติดตามการดำเนินงานในฐานข้อมูล 43 แฟ้ม / HDC ทุกเดือน 1.รพ.มีการบันทึกข้อมูลพัฒนาการและโภชนาการเด็ก 0-5 ปี อย่างถูกต้อง 2.รพสต./PCU มีการบันทึกข้อมูลพัฒนาการและโภชนาการเด็ก 0-5 ปี อย่างถูกต้อง ร้อยละ ข้อมูลการรณรงค์คัดกรองพัฒนาการเด็ก รอบที่ 2 เดือน ก.ค. 60 ครบถ้วน ถูกต้อง 1.ข้อมูลประเมินพัฒนาการเด็กรายเดือน 2.ข้อมูลผลการรณรงค์ครั้งที่1 และ 2 3.ข้อมูลใน HDC/CMBIS

27 ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง
ประเด็นที่กำกับติดตาม ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 3.การให้บริการคัดกรองพัฒนาการเด็กในสถานบริการ CPM ระดับอำเภอมีข้อมูลสภาพปัญหาการดำเนินงานของ รพสต.แต่ละแห่งและมีแผนแก้ไขปัญหาร่วมกันในระดับอำเภอ ( แผนการคัดกรอง แผนการติดตามเด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าและแผนโภชนาการเด็ก) 1. มีรูปแบบการให้บริการส่งเสริมพัฒนาการเด็กของ รพสต.และ รพ. ที่มีประสิทธิภาพ 2. เด็กอายุ 9,18,30,42 เดือนได้รับการรณรงค์คัดกรองพัฒนาการเด็ก ครั้งที่ 1 ในช่วงเดือน มค. 60 ร้อยละ 100 และเด็กที่สงสัยล่าช้าได้รับการกระตุ้น ร้อยละ เด็กอายุ 9,18,30,42 เดือนได้รับการ คัดกรองพัฒนาการเด็กทุกเดือน ร้อยละ 100 และเด็กที่สงสัยล่าช้าได้รับการกระตุ้น ร้อยละ เด็กที่ล่าช้าได้รับการส่งต่อแพทย์ทุกราย 5 เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการประเมินภาวะโภชนาการ ร้อยละ 100 1.เด็กอายุ 9,18,30,42 เดือนได้รับการรณรงค์คัดกรองพัฒนาการเด็ก ครั้งที่ 2 ในช่วงเดือน กค. 60 ร้อยละ 100 และเด็กที่สงสัยล่าช้าได้รับการกระตุ้น ร้อยละ เด็กอายุ 9,18,30,42 เดือนมีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ร้อยละ 51 1.ข้อมูลประเมินพัฒนาการเด็กรายเดือน 2.ข้อมูลเด็กที่สงสัยล่าช้าได้รับการกระตุ้น 3.ข้อมูลการรณรงค์ 4.ข้อมูลการประเมินภาวะโภชนาการรายไตรมาส 4. การดำเนินงานWCC คุณภาพใน รพ/ รพสต. รพ/รพสต . มีข้อมูลการวิเคราะห์สภาพปัญหาการดำเนินงาน WCC/โรงเรียนพ่อแม่ (GAPs) และ มีแผนการแก้ไขปัญหาทุกแห่ง 1. มีข้อมูลการพัฒนา WCC 2. มีการดำเนินงานโรงเรียนพ่อแม่ตามที่กำหนดและมีผลการดำเนินงาน CPM ระดับอำเภอมีรายงานการติดตามการดำเนินงานของ รพสต.ทุกแห่ง 1. รพ. ทั้งห้องคลอดและWCC ผ่านเกณฑ์คลินิกเด็กดีคุณภาพ ร้อยละ รพสต. ผ่านเกณฑ์คลินิกเด็กดีคุณภาพ WCC ร้อยละ ผู้ปกครองได้เข้าร่วมกิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่ ร้อยละ 80 1.ข้อมูลประเมินWCC คุณภาพ 2.แผนการแก้ไขปัญหาและผลการดำเนินงาน 3.ตารางการให้บริการโรงเรียนพ่อแม่และผลการดำเนินงาน 4.รายงานการติดตามการดำเนินงานของ รพสต.

28 ประเด็นที่กำกับติดตาม ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ
ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 5. การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 1 . ศพด./รร/สถานรับเลี้ยงเด็ก/ อสม. เชี่ยวชาญได้รับการอบรมความรู้และทักษะในการส่งเสริมและเฝ้าระวังพัฒนาการเด็ก โดยเครื่องมือ DSPM ร้อยละ รพสต.มีข้อมูล ประเมินมาตรฐาน ศพด.คุณภาพ 3.มีข้อมูลวิเคราะห์ส่วนขาดและแผนแก้ไขปัญหา 1. มีข้อมูลการติดตามการดำเนินงานเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กของ . ศพด./รร/สถานรับเลี้ยงเด็ก/อสม. เชี่ยวชาญ โดยทีม รพสต. 2. รพสต.มีข้อมูลการพัฒนา ศพด. 3. สนับสนุนกิจกรรมจัดมุมเรียนรู้ หรือ Child Development center ในสถานบริการ ศพด. โรงเรียน หรือ ในชุมชน 1. มีรายงานผลการเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กของภาคีเครือข่ายตามแบบรายงานทุกเดือน 2. เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้าได้รับการส่งต่อไปยัง รพสต / รพ. 3. มีรายงานการประชุมเพื่อสรุปผลการดำเนินงานของศพด./รร/อสม. และผู้ที่เกี่ยวข้องพร้อมทั้งวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงาน เพื่อหาทางแก้ไขปัญหา 1. ศพด. ผ่านเกณฑ์คุณภาพ ร้อยละ 60 ( ยกเว้นด้านอัตรากำลังและด้านโครงสร้าง) 2. เด็กปฐมวัยได้รับการเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กโดยภาคีเครือข่าย ร้อยละ เด็กที่สงสัยล่าช้าได้รับการส่งต่อไป รพสต. ร้อยละ 100 1.ข้อมูลรายงานการอบรมและรายชื่อผู้เข้าร่วมอบรม 2.ข้อมูลการประเมินศพด.คุณภาพ แผนและผลการแก้ไขการดำเนินงาน 3.รายงานการประเมินและเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กของ . ศพด./รร/สถานรับเลี้ยงเด็ก/อสม. เชี่ยวชาญ รายเดือน 4.ข้อมูลการประชุมของภาคีเครือข่ายและปัญหาอุปสรรคการดำเนินงาน 6. การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กโดยใช้กระบวนการกิน กอด เล่น เล่า 1.ผู้ปกครองได้รับการชี้แจงถึงความสำคัญในการดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการเด็กและทักษะการส่งเสริมพัฒนาการเด็กผ่านทาง โรงเรียนพ่อแม่ / ศพด/รร./อสม.เชี่ยวชาญ 2. เด็กปฐมวัยได้รับสมุดบันทึกพัฒนาการเด็กสำหรับผู้ปกครองทุกคน มีรายงานการเยี่ยมบ้านติดตามการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ของปกครองที่บ้าน โดย อสม.ทุกเดือน มีการรวบรวมข้อมูลการตรวจเช็คการประเมินเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กของผู้ปกครองในสมุดเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กสำหรับผู้ปกครองทุกครั้งที่มารับบริการในคลินิกเด็กดี ผู้ปกครองมีการบันทึกข้อมูลเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กในสมุดเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กโดยผู้ปกครอง ร้อยละ 80 1.ตารางการดำเนินงาน รร.พ่อแม่ 2.ทะเบียนรายชื่อผู้ปกครองที่เข้าร่วมกิจกรรม รร.พ่อแม่ 3.ข้อมูลการตรวจสอบการบันทึกข้อมูลเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กของผู้ปกครองในสมุดเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กสำหรับผู้ปกครอง

29 วัยเรียน ตัวชี้วัดหลัก : เด็ก 6-14 ปี มีรูปร่างสมส่วน ร้อยละ 66 ตัวชี้วัดรอง 1.เด็ก 6-14 ปี ได้รับการคัดกรองภาวะโภชนาการ ร้อยละ เด็กกลุ่มเสี่ยงเข้าถึงบริการคลินิกDPAC ร้อยละ 80 3.โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชรเพิ่มขึ้นอำเภอละ 1 แห่ง

30 Template 1. ร้อยละของเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน

31 ภาวะเริ่มอ้วน/อ้วน นร.อายุ 6-14 ปี แยกตามโซน กลาง เหนือ ใต้
ภาวะเริ่มอ้วน/อ้วน นร.อายุ 6-14 ปี แยกตามโซน กลาง เหนือ ใต้ เป้าหมาย <ร้อยละ10

32 นร.อายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน แยกตามโซน กลาง เหนือ ใต้
นร.อายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน แยกตามโซน กลาง เหนือ ใต้ เป้าหมาย > ร้อยละ66(ปี60) แหล่งที่มา: รง.HDC ณ 30 กย 2559

33 PERT : ร้อยละของนร.อายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน ร้อยละ66
การเฝ้า ระวัง การอ้วน เตี้ยใน กลุ่ม นร.อายุ 6-14 ปี จนท.สธ รพ/สสอ รับทราบ นโยบาย และแน งทาง การ ทำงานปี 2560 รพ. รับทราบ แนว ทางการ ทำงาน จนท.สธ. รพสต. รับทราบ แนว ทางการ ทำงาน รร. รับทรา บ นโยบา ยและ แนว ทางกา ร ทำงาน มีการ พัฒนา ระบบ ข้อมูล มี คลินิก DPAC คุณภาพ มี คลินิก DPAC มีข้อตกลง ในการส่ง ต่อเด็กกลุ่ม อ้วนเตี้ย ระหว่าง รร./รพ.สต รร.มี ทีม SKC/S KL จนท.ได้ร รับก่าร พัฒนา เรื่อง ระบบ ข้อมูล เด็กกลุ่มที่มี โรคอ้วน ได้รับการ ดูแล/รักษา โดยแพทย์ ร้อยละ100 เด็กกลุ่ม อ้วน ได้รับการ ลดความ อ้วนจาก จนท.ร้อย ละ100 นร.6- 14ปี ได้รับ การคัด กรอง Obesit y sign ร้อยละ100 มีข้อมูล เด็ก ผอม/ เตี้ยมี มีข้อมูล เด็ก อ้วนเริ่ม อ้วน มีข้อมูล เด็ก รูปร่าง สมส่วน นร.ที่ได้รับ การดูแล ได้รับการ จัด กิจกรรม ลดความ อ้วนจาก รร.อย่าง ต่อเนื่อง ร้อยละ 100 นร.6-14 ปีรูปร่าง สมส่วน ร้อยละ66 จนท.มีการ ลงข้อมูลร้ คัดกรอง/ส่ง ต่อ/รักษา ในDPAC/ กิจกรรม รร. รพ/รพ. สต/รร ได้รับการ ติดตาม โดยทีม นิเทศ อำเภอ/ จังหวัดใน ไตรมาส3 ต.ค-ธ.ค.2559. ม.ค-มี.ค.2560. เม.ย - มิ.ย.2560. ก.ค - ก.ย.2560. PERT : ร้อยละของนร.อายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน ร้อยละ66 

34 เป้าหมายการพัฒนาในระดับอำเภอ ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ
ประเด็นที่กำกับติดตาม ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1. การพัฒนาขีดความสามารถ ของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข/ครูและSKC ผู้รับผิดชอบงานอนามัยโรงเรียนและผู้เกี่ยวข้อง ได้รับ นโยบาย เป้าหมาย แนวทางแก้ไข องค์ความรู้ SKC ครอบคลุมทั้งหมด 25 อำเภอ จนท.รพ.สต.ทุกแห่ง/ ครู และแกนนำนักเรียน(smart kids leader) ในโรงเรียนทุกสังกัด ได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้ แนวทาง SKC จากทีม SKC ระดับอำเภอ (ครู ข.) รพ.สต. และครูอนามัยโรงเรียนทุกสังกัด ได้รับการถ่ายทอดนโยบายและความรู้ร้อยละ 100 1.แผนการอบรม 2.ทะเบียนรายชื่อผู้เข้าอบรม ครูอนามัยโรงเรียนที่ผ่านและยังไม่ผ่านการอบรม 2. ระบบรายงาน 43 แฟ้ม 1.บุคลากรที่เกี่ยวข้อง ระดับตำบลได้รับการเสริมศักยภาพเรื่องระบบรายงาน43 แฟ้มและรายงานแปลผล(1ครั้ง) 2.มีข้อมูลผลการคัดกรองภาวะโภชนาการเทอม 2/2559 จำแนกตามกลุ่มเป้าหมายครอบคลุม ร้อยละ 60 1.มีรายงานสถานการณ์ภาวะโภชนาการ(ผอม อ้วน เตี้ย สูงสมส่วน) เทอม 2/2559 ครอบคลุม ครบถ้วนและ ทันเวลา 2.มีข้อมูลผลการคัดกรองภาวะโภชนาการเทอม 2/2559 จำแนกตามกลุ่มเป้าหมายครอบคลุมร้อยละ 80 1.มีรายงานการติดตาม การบันทึกรายงาน 43 แฟ้ม คัดกรอง เฝ้าระวัง/ตรวจสุขภาพ นร. เทอม1/ มีข้อมูลผลการคัดกรองภาวะโภชนาการเทอม 1/2560จำแนกตามกลุ่มเป้าหมายครอบคลุมร้อยละ 60 1. มีรายงานสถานการณ์ภาวะโภชนาการ(ผอม อ้วน เตี้ย สูงสมส่วน) เทอม1/2560ครอบคลุม ครบถ้วนและ ทันเวลา 2. มีข้อมูลผลการคัดกรองภาวะโภชนาการเทอม 1/2560จำแนกตามกลุ่มเป้าหมายครอบคลุม ร้อยละ80 1.ข้อมูลการคัดกรองภาวะโภชนาการ 2.ระบบรายงาน 43 แฟ้ม/HDC/CMBIS 3.รายงานการติดตามการบันทึกข้อมูลของทีมระดับอำเภอ

35 ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ
ประเด็นที่กำกับติดตาม ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 3.การคัดกรอง นักเรียนObesity sign 1. เด็กนักเรียน เทอม 2/2559 ได้รับการคัดกรองภาวะโภชนาการ ร้อยละ เด็กนักเรียน เทอม 2/2559 ได้รับการคัดกรอง obesity sign ร้อยละ 60 1. เด็กนักเรียน เทอม 2/2559 ได้รับการคัดกรองภาวะโภชนาการ ร้อยละ เด็กนักเรียน เทอม 2/2559 ได้รับการคัดกรอง obesity sign ร้อยละ 100 1. เด็กนักเรียน เทอม 1/2560ได้รับการคัดกรองภาวะโภชนาการ ร้อยละ เด็กนักเรียน เทอม 1/2560 ได้รับการคัดกรอง obesity sign ร้อยละ 60 1. เด็กนักเรียน เทอม 2/2560ได้รับการคัดกรองภาวะโภชนาการ ร้อยละ เด็กนักเรียน เทอม 2/2560 ได้รับการคัดกรอง obesity sign ร้อยละ 60 1. ทะเบียนคัดกรองเด็กอ้วนแต่ละรพ.สต./อำเถอ 2. แบบรายงานการจำแนกกลุ่มปกติ เริ่มอ้วน อ้วน 4. การดำเนินงาน คลินิกDPACใน รพสต./รพ. 1.มีการจัดตั้งคลินิกDPAC รพ./รพ.สต.ทุกแห่ง 2.มีการแต่งตั้งคณะกรรมการแก้ไขปัญหา ดูแล ส่งต่อ เด็กวัยเรียนทุพโภชนาการร่วมกับ รร. และภาคีเครือข่าย 3.มีข้อตกลงร่วมกันจัดระบบดูแล ส่งต่อ คลินิกDPAC) 4.เด็กอ้วนเสี่ยง obesity เทอม 2/2559 เข้ารับบริการที่คลินิก DPACร้อยละ 5๐ 5.นร.ผอม เตี๊ย เริ่มอ้วน และอ้วนเทอม 2/2559 ได้รับการจัดการน้ำหนัก ในด้านโภชนาการ (Food For Fun )และการออกกำลังกาย(Fun For Fit) ร้อยละ 50 1.นักเรียนอ้วนเสี่ยง obesityเทอม 2/2559 ได้เข้าสู่ระบบบริการ/ระบบการดูแลแก้ไขปัญหา ในคลินิกDPACร้อยละ100 2.นร.ผอม เตี๊ย เริ่มอ้วน และอ้วนเทอม 2/2559ร้อยละ100 ได้รับการจัดการน้ำหนัก ในด้านโภชนาการ (Food For Fun )และการออกกำลังกาย(Fun For Fit) 3.มีรายงานผลการจัดการน้ำหนักนักเรียนทั้งด้านกิจกรรม และผลลัพธ์ 1.นร.ผอม เตี๊ย เริ่มอ้วน และอ้วนรายใหม่เทอม 1/2560 ได้รับการจัดการน้ำหนัก ในด้านโภชนาการ (Food For Fun )และการออกกำลังกาย(Fun For Fit)อย่างน้อยร้อยละ 50 2.มีรายงานผลการจัดการน้ำหนักนักเรียนทั้งด้านกิจกรรม และผลลัพธ์ 1.นร.ผอม เตี๊ย เริ่มอ้วน และอ้วนเทอม 1/2560รายใหม่ทุกราย ได้รับการจัดการน้ำหนัก ในด้านโภชนาการ (Food For Fun )และการออกกำลังกาย(Fun For Fit) ร้อยละ100 2.มีรายงานผลการจัดการน้ำหนักนักเรียนทั้งด้านกิจกรรม และผลลัพธ์ 1.ทะเบียนจำนวนคลินิก DPACของ รพ/รพ.สต. 2. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการคลินิก DPACระดับ อำเภอ Flow chartระบบส่งต่อคลินิก DPAC 3.แผนการให้บริการคลินิก DPAC 4.จำนวนเด็กอ้วนที่เข้ารับบริการคลินิก DPAC 5.แบบประเมินตนเองคลินิก DPAC คุณภาพของรพ./รพ.สต

36 ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ
ประเด็นที่กำกับติดตาม ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 5. การจัด กิจกรรมแก้ไข ปัญหาภาวะอ้วน ในโรงเรียน/ใน ชุมชน 1.อำเภอมีข้อมูลการดำเนินงาน - คัดกรอง obesity sign - รง.ผลการวิเคราะห์ปัญหา 2.มีแผนงานแก้ไขปัญหาร่วมกับโรงเรียน /อปท./ผู้ปกครอง/คณะกรรมการสถานศึกษาและภาคีเครือข่ายในพื้นที่ 1.ตำบลมีแผนการดำเนินงานแก้ไขปัญหาร่วมกับโรงเรียน/ภาคีเครือข่าย 2.มีผลการดำเนินงานตามแผนที่วางไว้ 1.มีรายงานผลการติดตามการดำเนินงานของคณะทำงานอำเภอ 2.มีผลการดำเนินกิจกรรมต่อในโรงเรียน 1.ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรม 2.เด็กกลุ่มเสี่ยงเข้าร่วมกิจกรรมอย่างต่อเนื่องร้อยละ 100 3. เด็กกลุ่มปกติเข้าร่วมกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 50 1.แบบสรุปผลการพัฒนารูปแบบแก้ไขปัญหาเด็ก นักเรียนที่พบปัญหาภาวะโภชนาการขาด(ผอม/เตี้ย)และเกิน(เริ่มอ้วน/อ้วน) ของอำเภอ 2.ผลการดำเนินงานนวัตกรรม อย่างน้อย 2 โรงเรียน /อำเภอ 6. การ ดำเนินงาน โรงเรียนส่งเสริม สุขภาพ 1. มีการแต่งตั้งคณะทำงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับอำเภอ 2.มีข้อมูลโรงเรียนที่ได้รับการคัดเลือกการดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร 1.ผู้บริหาร/บุคลากรครูทุกคนในโรงเรียน(ที่เข้าร่วมพัฒนาโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง ก้าวสู่ระดับเพชร) ได้รับการเสริมสร้างศักยภาพ แนวทาง กระบวนการ ดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง ก้าวสู่ระดับเพชร จากคณะกรรมการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับอำเภอ ตำบล 2.โรงเรียนได้ประเมินตนเอง และมีแผนพัฒนาแก้ไขปัญหา 3.มีผลการดำเนินงานตามแผน 1. โรงเรียนมีรายงานส่งข้อมูลการประเมิน 19 ตัวชี้วัด ให้รพ.สต. คพ.สอ. และ สพป.เขต 2.มีรายงานการประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชรโดยทีมคณะทำงานระดับอำเภอ 3.โรงเรียนมีข้อมูลผลการแก้ไขตามคำแนะนำประเมินผล 19 ตัวชี้วัด และเตรียมพร้อมขอรับรองเบื้องต้น ระดับอำเภอ/โซน ก่อนส่งเข้าสู่ระดับจังหวัด 1.มีรายงานผลการประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร โดยทีมระดับจังหวัด 2.โรงเรียนผ่านเกณฑ์โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพเพิ่มขึ้น อำเภอละ 1โรงเรียน 1.ทะเบียนโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทองสู่ระดับเพชร 2.รายงานการประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชรครั้งที่1 และ 2 3.แผนการพัฒนาสู่โรงเรียนระดับเพชร

37 วัยรุ่น ตัวชี้วัดหลัก : อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ15-19ปี (ไม่เกิน 50 ต่อประชากรหญิงอายุ15-19ปี 1,000 คน ) ตัวชี้วัดรอง 1.ร้อยละของการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่นอายุ 15-19ปี (ไม่เกินร้อยละ 10) 2.อัตราการคุมกำเนิดทุกชนิดในมารดาหลังคลอดอายุ 15-19ปี (ร้อยละ 80) 3.อัตราการคุมกำเนิดกึ่งถาวรในมารดาหลังคลอดอายุ 15-19ปี (ร้อยละ 80)

38 Template อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ ปี (ไม่เกิน 50 ต่อประชากรหญิงอายุ15-19ปี 1,000 คน )

39 สถานการณ์ สถานการณ์จังหวัดเชียงใหม่ ปี 2559 จากรายงาน มีอัตราการคลอดในหญิงอายุ ปี เปรียบเทียบกับจำนวนประชากรหญิงอายุ ปี (ข้อมูลประชากรกลางปี 2558) จำนวนทั้งหมด 57,363 คน พบว่า มีอัตราการคลอดในหญิงอายุ ปี เท่ากับ 1,156 คน คิดเป็นอัตรา 20.15 จำแนกเป็นสัญชาติไทย ร้อยละ และ จำแนกเป็นชนเผ่า/ชาติพันธุ์ ร้อยละ 38.76 โดยอำเภออมก๋อย มีอัตราคลอดสูงสุด (81.27) รองลงมาคืออำเภอฝาง (52.94) และอำเภอสันป่าตอง (38.69) รายงานข้อมูลการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น อายุ ปี เท่ากับ 198 คน คิดเป็นร้อยละ 11.41 จำแนกเป็นสัญชาติไทย ร้อยละ และจำแนกเป็นชนเผ่า/ชาติพันธุ์ ร้อยละ 53.78 โดยอำเภอแม่ริม มีอัตราตั้งครรภ์ซ้ำสูงสุด (23.42) รองลงมาคืออำเภอสารภี (20.51) และอำเภอแม่อาย (18.49)

40 50 กราฟแสดงข้อมูลอัตราคลอดมีชีพในหญิงอายุ15-19ปี ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 30 กย.59 50

41 กราฟแสดงร้อยละของการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุ 15-19 ปี : ข้อมูลจากรายงาน HDC ณ วันที่ 30 กย.2559

42 Program Evauation and Review Technique (PERT) :
ชื่อตัวชี้วัด...อัตราคลอดมีชีพในหญิงอายุ ปี ไม่เกิน 50 ต่อจำนวนหญิงอายุ ปี 1,000 คน ตค.- ธค มค.-มีค เมย.-กค สค.-กย 60 กลุ่มเสี่ยงได้รับบริการ ในคลินิกวัยรุ่น ในรพ./รพสต. มีข้อมูล GAPและแผนแก้ไขปัญหาเชิงรุก/เชิงรับ มีระบบการให้บริการเชิงรุก และเชิงรับ มีข้อมูลรายงาน การนิเทศ ติดตาม ของอำเภอ มีข้อมูลหญิงอายุ 15-19ปี ที่ยังไม่ตั้งครรภ์ ที่รพ./รพสต. มีการติดตามระดับโซนบริการ /ระดับจังหวัด กลุ่มเสียงได้รับการค้นหาในรร. /ชุมชน -ประชุม key man วัยรุ่น -จัดทำมาตรฐาน /แผนปฏิบัติการ คลินิกวัยรุ่น ผ่านเกณฑ์ อำเภออนามัยเจริญพันธุ์ ผ่านเกณฑ์ กลุ่มเสียงได้รับบริการ ช่วยเหลือ แก้ไขปัญหา ได้รับการส่งต่อตามระบบ 1.มีแนวทางการดำเนินงานเชิงรุก/เชิงรับ ที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน 2.มีพรบ.ป้องกันแก้ไขปัญหาตั้งครรภ์วัยรุ่น พ.ศ.2559 3.มีระบบติดตามรายงาน (รายเดือน) เจ้าหน้าที่ระดับอำเภอ/ตำบลรับทราบ แนวทาง การดำเนินงาน หญิงอายุ ปี มีระบบรายงานการให้บริการช่วยเหลือทุกเดือน มีคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน มีรายงานการประชุมติดตามการดำเนินงาน เป้าหมาย อัตราคลอดมีชีพ ในหญิง อายุ ปี ไม่เกิน 50 ต่อ 1,000 คน หญิงอายุ15-19ปี ที่มา ANC ได้รับบริการให้คำปรึกษาร้อยละ100 ประชุมเชิงปฎิบัติการ ผู้บริหารชี้แจงให้เกิด มีระบบการให้บริการเชิงรุก เชิงรับ ตามแผนปฏิบัติ ที่กำหนด มีโครงสร้างการประสานการทำงานระหว่างทีมสหวิชาชีพ หญิงอายุ15-19ปี ที่มาคลอดได้รับบริการให้คำปรึกษาวางแผนคุมกำเนิดร้อยละ100 มีข้อมูลหญิงอายุ15-19ปีที่ANCคลอด/แท้ง ที่รพ./รพสต. หญิงอายุ15-19ปี ได้รับการเยี่ยมบ้านและติดตงามในชุมชน ร้อยละ100 มีแผนแก้ไขปัญหา มีแนวทางกำหนดบทบาท ระดับอำเภอ หญิงอายุ15-19ปี หลังคลอด/แท้ง ได้รับการคุมกำเนิดร้อยละ100

43 เป้าหมายการพัฒนาในระดับอำเภอ ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ
ประเด็นที่กำกับติดตาม ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1.การ ป้องกันการ ตั้งครรภ์ใน เยาวชน 1.มีข้อมูลจำนวนหญิงอายุ15-19 ปี ที่คลอด จำแนกอายุ สัญชาติ อยู่ในหรือนอกระบบโรงเรียน ความพร้อมในการตั้งครรภ์ การวางแผนการคุมกำเนิด ฯลฯ 2.มีการวิเคราะห์ปัญหาการดำเนินงานคลินิกวัยรุ่นและมีแผนการแก้ไขปัญหา 1.มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการและรายงานการประชุมการป้องกันการตั้งครรภ์ในเยาวชนระดับอำเภอ 2.มีแผนการแก้ไขปัญหาทั้งเชิงรุกและเชิงรับ 3.มีข้อมูลกลุ่มเยาวชนที่เสี่ยงในโรงเรียนและชุมชน 4.กลุ่มเสี่ยงได้รับการบริการในคลินิกวัยรุ่น ใน รพและ รพ.สต. ร้อยละ 50 5.กลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้และทักษะชีวิตในการป้องกันการตั้งครรภ์ร้อยละ 50 1.กลุ่มเสี่ยงได้รับการบริการในคลินิกวัยรุ่น ใน รพและ รพ.สต.ร้อยละ กลุ่มเสี่ยงได้รับการส่งต่อตามระบบการให้บริการร้อยละ กลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้และทักษะชีวิตในการป้องกันการตั้งครรภ์ร้อยละ 100 1.อำเภออนามัยเจริญพันธ์ผ่านเกณฑ์ 2.คลินิกวัยรุ่นผ่านเกณฑ์ 3.การตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่นอายุ 15-19ปี ลดลง 1.ข้อมูลจำนวนหญิงอายุ15-19 ปี ที่คลอด จำแนกอายุ สัญชาติ อยู่ในหรือนอกระบบโรงเรียน ความพร้อมในการตั้งครรภ์ การวางแผนการคุมกำเนิด ฯลฯ 2.คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการและรายงานการประชุม 3.แผนการแก้ไขปัญหาทั้งเชิกรุกและเชิงรับ 4.ข้อมูลกลุ่มเสี่ยง 5.ข้อมูลการให้บริการทั้งเชิกรุกและเชิงรับ

44 ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ
ประเด็นที่กำกับติดตาม ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 2.การตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น (จัดทำแนวทางการดำเนินงานระดับจังหวัด) 1.มีข้อมูลจำนวนหญิงอายุ15-19 ปี ที่คลอด จำแนกอายุ สัญชาติ อยู่ในหรือนอกระบบโรงเรียน ความพร้อมในการตั้งครรภ์ การวางแผนการคุมกำเนิด ฯลฯ 2.มีระบบการประสานการดำเนินงานระหว่าง สหวิชาชีพ(ANC ห้องคลอด รพ/รพ.สต) 3.มีแผนการแก้ไขปัญหา 1.มีระบบการให้บริการเชิงรุกและรับตามแผนที่กำหนด 2.หญิงอายุ 15-19ปีที่มารับบริการ ANCได้รับบริการให้คำปรึกษาวางแผนการคุมกำเนิดร้อยละ หญิงอายุ 15-19ปี ที่มาคลอดได้รับบริการให้คำปรึกษาวางแผนครอบครัวร้อยละ100 4. .หญิงอายุ 15-19ปีหลังคลอด/แท้งบุตรได้รับการคุมกำเนิดร้อยละ หญิงอายุ 15-19ปีหลังคลอดได้รับการเยี่ยมบ้านและติดตามในชุมชนร้อยละ 100 อัตราการตั้งครรภ์ซ้ำลดลง 1.ข้อมูลหญิงตั้งครรภ์/หญิงคลอด/หญิงแท้งบุตรที่มารับบริการ 2.แผนการแก้ไขปัญหา 3.ข้อมูลการให้คำปรึกษา 4.ข้อมูลผู้รับบริการคุมกำเนิด 5.ข้อมูลการเยี่ยมบ้าน

45 วัยทำงาน ตัวชี้วัดหลัก : ประชาชนอายุ ปีดัชนีมวลกายปกติ (BMI ) ร้อยละ 36 ตัวชี้วัดรอง : ประชากรไทยอายุตั้งแต่ 15 ปี ขึ้นไป มีกิจกรรมทางกายเพียงพอต่อสุขภาพ(การมีกิจกรรมทางกายระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาที/สัปดาห์ และ/หรือ กิจกรรมทางกายระดับหนัก อย่างน้อย 75 นาที/สัปดาห์ หรือรวมกัน

46 Template - ร้อยละของประชาชนวัยทำงาน มีค่าดัชนีมวลกายปกติ

47 ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ค่า BMI > 25 เป็นประชาชนที่มีภาวะอ้วน (ตามเกณฑ์ตัวชี้วัดกรมอนามัยต้องไม่เกิน ร้อยละ 10) จากข้อมูล HDC 32.51

48 ในปีที่ผ่านมาเกณฑ์มาตรฐานกรมอนามัย ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปมีค่า BMI > 25 ไม่เกินร้อยละ 10 จากข้อมูล HDC

49 GAP จากการนิเทศติดตามงาน - เจ้าหน้าที่ระดับอำเภอและตำบล มีการคัดกรองและบันทึกข้อมูลกลุ่มวัยทำงานและมีการดำเนินงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. แต่ไม่มีการวิเคราะห์ข้อมูลในการนำมาใช้ ในการแก้ปัญหา - ประชาชนที่มีค่า BMI > 22.9 ขึ้นไปในอายุ 18 – 59 ปี ยังไม่มีการรายงานใน HDC(ตัวชี้วัดอายุใหม่กรมอนามัย) - ข้อมูลเดิม จาก HDC เป็นประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ค่า BMI > 25 เป็นประชาชนภาวะอ้วน - ไม่มีช่องทางการรายงานผู้รับบริการการดำเนินงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. ในระบบ IT - พื้นที่มีการสร้างนวัตกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแต่ไม่ได้นำมาใช้แบบต่อเนื่องหรือขยายต่อให้แพร่หลาย

50 Program Evaluation and Review Technique(PERT) :
ชื่อตัวชี้วัด..1.ประชากรอายุ 18 – 59 ปี มีค่า BMI ไม่น้อยกว่าร้อยละ 36 ในปี ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปมีกิจกรรมเคลื่อนไหวทางกาย ร้อยละ 84 ในปี 2564 ตค- ธค.5๙ มค. - มิย กค. – กย. 60 รพ.รับนโยบายและแนวทางดำเนินงาน DPAC บุคลากรมีทักษะในการดำเนินงานงาน DPAC ปชช.ที่อ้วนละมีโรคได้รับบริการDPAC+NCD -กิจกรรม 3 อ.ทีมงาน DPAC -lส่งรายงาน ประชาชนอายุ 15 ปี – 59 ปี มีค่า BMI ปกติ ร้อยละ 36 รพ.สต.รับนโยบายและแนวทางดำเนินงาน DPAC บุคลากรมีทักษะในการดำเนินงานงาน DPAC กลุ่มเสี่ยงได้รับบริการ ร้อยละ50DPAC/NCD ประชาชนอายุ 15 ปี – 59 ปี มีแนวทางการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพลดอ้วน/นน.เกิน(SOP) กลุ่มเสี่ยง/ปกติ เข้าร่วมชมรมกลุ่มส่งเสริมสุขภาพ ปชช.ได้รับการประเมิน BMI ร้อยละ 80 มีคณะกรรมการ นิเทศ ติดตาม บูรณาการทั้ง อำเภอ,จังหวัด -กิจกรรม 3 อ.ทีมงาน DPAC -ประชุมเชิงปฏิบัติการถอดบทเรียน มีข้อมูลนิเทศ รพ./รพ.สต./ชมรม โดยทีม อำเภอ/จังหวัด ประชุมพัฒนาทีมร่วมกับ DPC NCD LTC DHS ตำบลจัดการสุขภาพ มีแบบรายงาน ประเมิน/นิเทศติดตาม ทีมนิเทศได้รับการพัฒนาคุณภาพ มีแผนการนิเทศ

51 เป้าหมายการพัฒนาในระดับอำเภอ ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ
ประเด็นที่กำกับติดตาม ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1. คัดกรองค่า BMI ของ ประชาชนอายุ ปี ร้อยละ 30 ร้อยละ 60 ร้อยละ 70 ร้อยละ 80 1. โปรแกรมJHCIS ส่งออก 43 แฟ้ม ส่งเป็นข้อมูล HDC 2. ทะเบียนการคัดกรอง BMI 3.มีข้อมูล จำนวน และทะเบียนรายชื่อการแยกกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย 2.การ ดำเนินงาน คลินิกDPAC 2.1 คลินิก DPAC ใน รพ. 1.รพ.มีข้อมุลการประเมินคลินิกDPAC คุณภาพ 2.มีการวิเคราะห์ปัญหาทีทำให้ไม่ผ่านเกณฑ์คลินิกDPAC คุณภาพ 3.มีแผนงาน/โครงการแก้ไขปัญหา 1.มีคณะทำงานงานDPACที่บูรณาการกับงานอื่นๆ 2.มีการกำหนดกิจกรรมการให้บริการและตารางการให้บริการที่ชัดเจนตามSOPในรพ. และ/หรือชุมชน 3.มีจำนวนผู้รับบริการในคลินิกDPAC (กลุ่มเสี่ยงอย่างน้อยร้อยละ 30/กลุ่มป่วยอย่างน้อยร้อยละ 50) 1.มีจำนวนผู้รับบริการในคลินิกDPAC (กลุ่มเสี่ยงอย่างน้อยร้อยละ 50/กลุ่มป่วยอย่างน้อยร้อยละ 80) 2.มีข้อมูลสรุปผลการดำเนินงานเปรียบเทียบกับเป้าหมายที่กำหนดไว้ 3.มีรายงานการประชุมคณะทำงานที่จะพัฒนางาน DPAC คุณภาพ 4.มีผลการประเมินคลินิกDPAC ซ้ำ 2.มีคลินิก DPACผ่านเกณฑ์คุณภาพระดับดีมาก ขึ้นไป (คะแนน 80 ขึ้นไป) 1.ผลการประเมินตนเองครั้งที่1 และครั้งที่ 2 2. แผนการแก้ไขปัญหา 3. รายชื่อคณะทำงาน กิจกรรมและตารางการให้บริการคลินิกDPAC 4. ทะเบียนผู้รับบริการคลินิกDPAC 5.รายงานการประชุมการแก้ไขปัญหา

52 ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ
ประเด็นที่กำกับติดตาม ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 2.2 การ ดำเนินงาน คลินิก DPAC ใน รพ.สต. 1.มีการจัดตั้งคลินิกDPACใน รพ.สต.ทุกแห่ง 2.รพ.สต.มีข้อมุลการประเมินคลินิกDPACคุณภาพ 3.มีการวิเคราะห์ปัญหาทีทำให้ไม่ผ่านเกณฑ์คลินิกDPAC คุณภาพ 4.มีแผนงาน/โครงการแก้ไขปัญหา 1.มีการกำหนดผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน 2.มีการกำหนดกิจกรรมการให้บริการและตารางการในรพ.สต.และชุมชน 3.มีจำนวนผู้รับบริการในคลินิกDPAC (กลุ่มเสี่ยงอย่างน้อยร้อยละ 20/กลุ่มป่วยอย่างน้อยร้อยละ 30) 1.มีจำนวนผู้รับบริการในคลินิกDPAC (กลุ่มเสี่ยงอย่างน้อยร้อยละ 50/กลุ่มป่วยอย่างน้อยร้อยละ 80) 2.มีข้อมูลสรุปผลการดำเนินงานเปรียบเทียบกับเป้าหมายที่กำหนดไว้ 3.มีรายงานการประชุมคณะทำงานที่จะพัฒนางาน DPAC คุณภาพ 4.มีผลการประเมินคลินิกDPAC ซ้ำ 2.มีคลินิก DPACผ่านเกณฑ์คุณภาพระดับดีมาก ขึ้นไป (คะแนน 80 ขึ้นไป) 1.ผลการประเมินตนเองครั้งที่1 และครั้งที่ 2 2. แผนการแก้ไขปัญหา 3. รายชื่อคณะทำงาน กิจกรรมและตารางการให้บริการคลินิกDPAC 4. ทะเบียนผู้รับบริการคลินิกDPAC 5.รายงานการประชุมการแก้ไขปัญหา

53 ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ
ประเด็นที่กำกับติดตาม ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 3. การจัด กิจกรรม ปรับเปลี่ยน พฤติกรรม สุขภาพใน ชุมชน 1.มีข้อมูลชมรม/กลุ่ม ส่งเสริมสุขภาพในชุมชน(ออกกำลังกาย/อาหาร/ผักปลอดสารพิษ/กลุ่มส่งเสริมสุขภาพจิตใจ อื่นๆ) และจำนวนสมาชิกในระดับหมู่บ้าน 2.มีข้อมูลการดำเนินงานของชมรมต่างๆในชุมชนเป็นไปตามแนวทางการส่งเสริมสุขภาพตลอดจนปัญหาอุปสรรค 1.ในกรณีที่ไม่มีชมรม/กลุ่มส่งเสริมสุขภาพในชุมชนให้มีการจัดตั้งอย่างน้อย 1 ชมรม/กลุ่ม ต่อ 1 หมู่บ้าน 2.มีข้อมูลการพัฒนาการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพการดำเนินงานในชุมชน 3.มีข้อมูลผลการดำเนินงานกิจกรรมในแต่ละชมรม/กลุ่ม 4.กลุ่มเสี่ยงเข้าร่วมกิจกรรมในชมรม/กลุ่ม ร้อยละ 30 กลุ่มป่วยร้อยละ 30 กลุ่มปกติ ร้อยละ 30 5.มีผลการประเมินการตรวจสุขภาพเบื้องต้น นำหนัก ส่วนสูง รอบเอว ความดันโลหิต BMI ของสมาชิกในชมรม/กลุ่ม ทุกเดือน 6.มีผลการวิเคราะห์การดำเดินงานของชมรม/กลุ่มในการลดความเสี่ยงของสมาชิกในชมรม/กลุ่ม 1.กลุ่มเสี่ยงเข้าร่วมกิจกรรมในชมรม/กลุ่ม ร้อยละ 50 กลุ่มป่วยร้อยละ 50 กลุ่มปกติ ร้อยละ 50 2.ผลการประเมินการตรวจสุขภาพเบื้องต้น นำหนัก ส่วนสูง รอบเอว ความดันโลหิต BMI ของสมาชิกในชมรม/กลุ่มทุกเดือน 3.มีผลการวิเคราะห์การดำเดินงานของชมรม/กลุ่มในการลดความเสี่ยงของสมาชิกในชมรม/กลุ่ม 1.กลุ่มเสี่ยงเข้าร่วมกิจกรรมในชมรม/กลุ่ม ร้อยละ 60 กลุ่มป่วยร้อยละ 60 กลุ่มปกติ ร้อยละ 60 2.ผลการประเมินการตรวจสุขภาพเบื้องต้น น้ำหนัก ส่วนสูง รอบเอว ความดันโลหิต BMI ของสมาชิกในชมรม/กลุ่มทุกเดือน 3.มีผลการวิเคราะห์การดำเนินงานของชมรม/กลุ่มในการลดความเสี่ยงของสมาชิกในชมรม/กลุ่ม 4.มีการสรุปผลการดำเนินงาน การลดความเสี่ยง ของชมรม/กลุ่ม 1.ทะเบียนชมรม/กลุ่มส่งเสริมสุขภาพและรายชื่อสมาชิกชมรม/กลุ่ม 2.ข้อมูลรูปแบบการจัดการกิจกรรมและจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 3.ข้อมูลการตรวจร่างกายเบื้องต้นทุกเดือน 4.ข้อมูลการวิเคราะห์การดำเนินงานของชมรม/กลุ่มในการลดความเสี่ยง 5.รายงานการประชุมการดำเนินงานของชมรม/กลุ่มในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

54 ผู้สูงอายุ ตัวชี้วัดหลัก : ร้อยละของตำบลที่มีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสและการดูแลระยะยาวในชุมชน (Long Term Care) ผ่านเกณฑ์ ตัวชี้วัดรอง 1.ตำบล Long Term Care ในชุมชนผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 50 2.ร้อยละของผู้สูงอายุติดสังคม Aging Society เพิ่มขึ้นหรือคงที่ เทียบกับปี 2559 (ร้อยละ 91.84)

55 Template : ร้อยละของตำบลที่มีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสและการดูแลระยะยาวในชุมชน LTC ผ่านเกณฑ์ : ร้อยละของ Healthy Ageing

56 สถานการณ์ ปี 2559 ผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ คิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 18
สถานการณ์ ปี 2559 ผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ คิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 18.85

57 ระบบการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงระยะยาวได้ดำเนินการในพื้นที่นำร่อง LTC ปี 2559
- เข้าร่วมโครงการ 38 แห่ง - มีการอบรม Care manager จำนวน ราย - มีการอบรม Care giver จำนวน ราย - ได้ดำเนินการประเมินสมรรถนะ ADL ในกลุ่มพึ่งพิง 4 กลุ่ม มีจำนวน 1,647 ราย จากทั้งหมด 38 ตำบล (Phase 1 & Phase 2) - ได้จัดทำ Care plan 30 ตำบล

58 สภาพปัญหา ประเมินผู้สูงอายุยังไม่ครอบคลุมกลุ่มผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุได้รับบริการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคยังไม่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายและครบตามเกณฑ์ที่กำหนด การดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงยังไม่ครอบคลุมและมีคุณภาพ ไม่มีการบูรณาการร่วมกันระหว่างตำบลจัดการสุขภาพและตำบล LTC ผู้สูงอายุระยะยาว โดยใช้ค่ากลาง ยังไม่มีคลินิกบริการผู้สูงอายุในโรงพยาบาลที่เป็นรูปธรรมและมีคุณภาพ เชื่อมโยงกับการส่งต่อในชุมชน ท้องถิ่นและภาคีเครือข่ายยังไม่มีส่วนร่วมในการดำเนินงานส่งเสริมผู้สูงอายุอย่างจริงจังและต่อเนื่อง

59 PERT ผู้สูงอายุ LTC/Aging Society
มีคณะกรรมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระดับจังหวัด LTCผ่านเกณฑ์คุณภาพ มีรายงานการดำเนินงานภายในจังหวัด ผู้สูงอายุได้รับการดูแลต่อเนื่องในชุมชน มีข้อมูลผู้สูงอายุติดบ้าน ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองADL,GSร้อยละ80 รพ.สต.รับนโยบายการดำเนินงาน มีแนวทางการดำเนินงานดูแลผู้สูงอายุ มีคลินิกบริการผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุที่ส่งต่อเข้ารับบริการสุขภาพทุกราย CM/CGได้รับการอบรม 70 ชม.การอบรม ผู้สูงอายุเข้าร่วมชมรมร้อยละ80 มีข้อมูลผู้สูงอายุติดสังคม ผู้สูงอายุได้รับบริการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคตามเกณฑ์ที่กำหนด .ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ ผู้สูงอายุในรร./ชมรมได้รับบริการตามแนวทางกำหนด ผู้สูงอายุในชุมชนได้รับบริการทันต กรรมตามแนวทางกำหนด งานทันตกรรมในชุมชนผ่านเกณฑ์คุณภาพ ทีมนิเทศได้รับการพัฒนาคุณภาพ มีทีมนิเทศติดตามระดับจังหวัด/อำเภอ มีแผนการนิเทศ มีรายงานการนิเทศระดับอำเภอ/โซน มีแนวทางในการในการพัฒนาปรับปรุง/นิเทศให้ดีขึ้น มีข้อมูลผู้สูงอายุติดเตียง รพ.รับนโยบายการดำเนินงาน มีคณะกรรมการดูแลผู้สูงอายุระดับอำเภอ คลินิกบริการผู้สูงอายุคุณภาพ จนท.ทันตะฯ รับนโยบายการดำเนินงาน PERT ผู้สูงอายุ LTC/Aging Society ประชุมชี้แจง แต่งตั้ง จัดตั้ง ให้บริการ พัฒนา ส่งต่อ สมัคร เข้าร่วมกิจกรรม ส่งต่อCOC นิเทศ บริการ อบรม นิเทศรอบ1 วิเคราะห์ นิเทศรอบ2

60 เป้าหมายการพัฒนาในระดับอำเภอ ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ
ประเด็นที่กำกับติดตาม ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1. การคัดกรอง ADL, โรคผู้สูงอายุ(Geriatric syndrome) ,โรคเรื้อรังผู้สูงอายุ ร้อยละ 20 ร้อยละ 40 ร้อยละ 60 ร้อยละ 80 1.มีทะเบียนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองADL,โรคเรื้อรัง,โรคผู้สูงอายุ 2.มีทะเบียนแยกกลุ่มผู้สูงอายุจำแนกรายหมู่บ้าน/ตำบล 2.ชมรมผู้สูงอายุ ผ่านเกณฑ์คุณภาพ มีข้อมูลประเมินตนเองตามเกณฑ์ของชมรมผู้สูงอายุ ระดับตำบลทุกแห่งและมีข้อมูลวิเคราะห์สภาพปัญหา 1.ชมรมผ่านเกณฑ์ประเมินข้อมูลทั่วไป(ชมรม/สถานที่ตั้ง) ร้อยละ80 2.ชมรมผ่านเกณฑ์กรรมการของชมรม/กฎกติการ้อยละ 80 1.ชมรมผ่านเกณฑ์การระดมทุนที่ชมรมดำเนินการ ร้อยละ 70 2.ชมรมผ่านเกณฑ์กิจกรรมที่ชมรมดำเนินการร้อยละ 70 ชมรมผู้สูงอายุ ผ่านเกณฑ์คุณภาพ ร้อยละ 50 1.รายงานการประเมินชมรมผู้สูงอายุ 2.แผนการแก้ไขปัญหาข้อตกเกณฑ์ 3.รายงานการพัฒนาชมรมผู้สูงอายุ 3.การดำเนินงานโรงเรียนผู้สูงอายุ /ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิต 1.ข้อมูลประเมินตนเองตามเกณฑ์ของโรงเรียนผู้สูงอายุ 2.มีแผนแก้ไขปัญหาข้อที่ตกเกณฑ์ โรงเรียนผู้สูงอายุพัฒนาคุณภาพผ่านเกณฑ์ข้อ1-4และ 7 ร้อยละ 80 โรงเรียนผู้สูงอายุพัฒนาคุณภาพให้ผ่านเกณฑ์ข้อ5-6ร้อยละ 70 โรงเรียนผู้สูงอายุ ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดครบ 8ข้อร้อยละ 50 1.รายงานการประเมินโรงเรียนผู้สูงอายุ 2.แผนการแก้ไขปัญหาข้อตกเกณฑ์ 3.รายงานการพัฒนาโรงเรียนผู้สูงอายุ

61 ประเด็นที่กำกับติดตาม ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ
ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 4. ระบบทันตสาธารณสุขในตำบล 1.มีข้อมูลการสำรวจสุขภาพฟันของผู้สูงอายุ มีฟันใช้งาน 20 ซี่ หรือ 4 คู่ สบ 1.มีข้อมูลการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ ครั้งที่ 1 2.ชมรมผู้สูงอายุมีการจัดสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก 1.ชมรมผู้สูงอายุได้เข้าร่วมเรียนรู้ด้านสุขภาพช่องปาก(ศึกษาดูงานหรือเข้าร่วมกิจกรรม) 2.มีข้อมูลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุที่เป็นปัจจุบัน 1.มีข้อมูลการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ ครั้งที่ 2 1.ข้อมูลการสำรวจสุขภาพฟันของผู้สูงอายุ 2.รายงานการประเมินการบริการส่งเสริมป้องกันทัตสุขภาพระดับตำบล 3.แผนการแก้ไขปัญหา 4.รายงานการพัฒนา 5.ข้อมูลการตรวจสุขภาพ 4.1.ผู้สูงอายุในชุมชนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและได้รับคำแนะนำ ร้อยละ 25 ร้อยละ 50 ร้อยละ 75 ร้อยละ 90 4.2ผู้สูงอายุได้รับการฝึกทักษะการควบคุมคราบจุลินทรีย์ 4.3ผู้สูงอายุได้รับการใช้ฟลูออไรด์วานิชป้องกันหรือยับยั้งรากฟันผุ 4.4.ผู้สูงอายุได้รับการขูดขัดทำความสะอาดฟันป้องกันปริทันต์อักเสบ

62 ประเด็นที่กำกับติดตาม ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ
ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 5.ระบบการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงปี2560 1.care giver/ care manager ได้รับการอบรมครบทุกตำบลเป้าหมาย 2. มี care plan ผู้สูงอายุในตำบลเป้าหมายร้อยละ 100 1. Care Plan ได้รับการอนุมัติโดยคณะอนุกรรมการ 2.มีรายงานการดูแลผู้สูงอายุโดย care giver และ care manager เป็นรายเดือน 1.มีรายงานการประชุม case conference ในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ทุก 3 เดือน มีการเบิกจ่าย งบประมาณในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงร้อยละ100 1.ทะเบียนรายชื่อผู้สูงอายุระยะพึ่งพิง 2.ทะเบียนข้อมูล.care giver/ care manager 3.Care plan 4.รายงานการเบิกจ่ายงบประมาณ 6.การให้บริการคลินิกผู้สูงอายุ ใน รพ.ผ่านเกณฑ์หน่วยบริการผู้สูงอายุ 1. มีข้อมูลการประเมินตนเองของโรงพยาบาลตามเกณฑ์ 2. มีแผนการพัฒนา 3.มีคณะทำงาน 4. มีสถานที่ชัดเจนเป็นสัดส่วนร้อยละ100 4. มีสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมร้อยละ100 มีคลินิกผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ ข้อ 3, 4, 5, 6 ,7, 8 9 และ10 มีคลินิกผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ ข้อ ผ่านเกณฑ์ 11 คลินิกผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ ทุกข้อ 1.ข้อมูลการประเมินตนเองของโรงพยาบาล 2.แผนการพัฒนา 3.รายชื่อคณะทำงาน 4.ตารางการให้บริการในคลินิก 5.ทะเบียนผู้สูงอายุที่เข้ารับบริการ 6.รายงานสรุปผลการดำเนินงานรายเดือน 7.การมีส่วนร่วมของท้องถิ่น ท้องที่และภาคีเครือข่าย คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการผู้สูงอายุระดับตำบลและกำหนดบทบาทหน้าที่ มีรายงานการประชุมคณะกรรมการผู้สูงอายุเพื่อติดตามการดำเนินงานอย่างน้อย 1 ครั้ง มีรายงานการเข้าร่วมกิจกรรมของคณะกรรมการตำบล LTC 1.มีผลการประเมินตำบลที่มีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุผ่าน เกณฑ์ 2.คณะกรรมการมีข้อมูลนำเสนอผลการดำเนินงานแก่คณะทีมนิเทศระดับจังหวัด 1.คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการผู้สูงอายุ 2.รายงานการประชุมคณะกรรมการผู้สูงอายุ 3.ข้อมูลกิจกรรมของการเข้าร่วมกิจกรรมของคณะกรรมการตำบล LTC

63 การดูแลที่บ้าน COC และการดูแลระยะยาว
กลุ่มผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง กลุ่มเป้าหมาย ที่ดูแล จำนวนที่ได้รับการดูแล ร้อยละ ผู้สูงอายุติดเตียง 2,550 2,303 90.31 ผู้สูงอายุติดบ้าน 14,041 12,753 89.19 ผู้พิการ 7,671 6,990 91.12 ผู้ป่วยประคับประคอง 1,858 1,619 87.41 ตามตัวชี้วัด:ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง ต้องได้รับการดูแลไม่น้อยกว่าร้อยละ 60

64

65 ประเด็นติดตาม Essential Task ปี 2560 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1. ข้อมูลงานดูแลผู้ป่วยที่บ้านและการดูแลระยะยาว/ Palliative care ให้ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน -มีแนวทางการลงข้อมูล /การเก็บข้อมูล -นำเสนอข้อมูลในที่ประชุมทุกเดือน -ผู้รับผิดชอบงาน COC ระดับอำเภอและตำบลมีความเข้าใจและทักษะในการจัดทำข้อมูล -มีรายงานการตรวจสอบการบันทึกข้อมูลในฐานข้อมูล 43 แฟ้มทุกเดือน -มีรายงานข้อมูลจากศูนย์ COC ระดับอำเภอ/ตำบลทุกเดือน -มีรายงานการเยี่ยมติดตามการดำเนินงานการบันทึกข้อมูลของ รพ.สต. โดยทีม COC อำเภอ และมีแผนแก้ไขปัญหา -มีข้อมูลการสุ่มเยี่ยม ติดตามการดำเนินงานของทีมนิเทศระดับโซน/ระดับจังหวัด -มีรายงานผลการบันทึกข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้องใน 43 แฟ้ม -มีรายงานที่เป็นรูปแบบเอกสารที่ถูกต้อง ครบถ้วน

66 ประเด็นติดตาม Essential Task ปี 2560 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 2.การดูแลต่อเนื่องที่บ้านในกลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะพึ่งพิงให้ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด โดย Chart Home Ward (แฟ้มผู้ป่วยที่ดูแลต่อเนื่องที่บ้าน) และมีศูนย์ฟื้นฟูในชุมชน -มีทะเบียนผู้ป่วยที่ต้องดูแลต่อเนื่องที่ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน -มีแผนการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยแต่ละราย care plan -มีทะเบียนศูนย์ฟื้นฟูที่เป็นปัจจุบัน -มีแผนการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยแต่ละราย -มี Chart Home Ward ทุกรายตามแนวทางที่กำหนด -มีข้อมูลการวางแผนการดูแลและการให้บริการทุกราย -มีการดำเนินงานของศูนย์ฟื้นฟูอย่างต่อเนื่องมีปันทึกตรวจสอบได้ -มีรายงานผลการติดตามการเยี่ยมการดำเนินงานของตำบล โดยทีม COC อำเภอทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ -มีศูนย์ฟื้นฟูครบทุกอำเภอ -มีรายงานการสุ่มประเมินของทีมโซน และจังหวัด -ผู้สูงอายุ/ผู้พิการ/ผู้ป่วย COC ที่มี ภาวะพึ่งพิง ได้รับการดูแลตามแนวทางที่กำหนดไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

67 ประเด็นติดตาม Essential Task ปี 2560 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 3. ระบบการดูแล Palliative care ในชุมชน ให้ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด โดยเน้นตำบลนำร่อง 1.มีตำบลได้รับการ คัดเลือกในการดำเนินงาน Palliative care อย่างน้อย 1 ตำบล 2.มีทะเบียนผู้ป่วย Palliative care ในชุมชนที่เป็นปัจจุบัน 3.มีคณะทำงานการดูแลผู้ป่วยประคับประคองระยะท้ายในชุมชน 4.มีแผนการดูแลผู้ป่วยต่อเนื่องร่วมกันระหว่าง รพ.กับชุมชนอย่างไร้รอยต่อ 1.มีทะเบียนผู้ป่วย Palliative care ในชุมชนที่เป็นปัจจุบัน 2.มีรายงานการติดตามการดำเนินงานของทีม Palliative care อำเภอ 3.มีรายงานการดำเนินงาน Palliative care ในชุมชนทุก 3 เดือน 2.มีรายงานการติดตามการดำเนินงานของ Palliative care ในชุมชนโดยทีมนิเทศ หรือพี่เลี้ยงระดับจังหวัดหรือโซน 2.มีตำบลต้นแบบในการดูแล Palliative care ในชุมชนอย่างน้อยอำเภอละ 1 ตำบล

68 งานคนพิการ

69 สถิติคนพิการจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2559
: จำแนกตามประเภทความพิการ แหล่งข้อมูล : 43 แฟ้ม

70 ผลงานการเข้าถึงบริการสุขภาพคนพิการจังหวัดเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2559
: จำแนกตามประเภทความพิการ 80 77 แหล่งข้อมูล : 43 แฟ้ม

71 เป้าหมายงานการเข้าถึงบริการ : ร้อยละ 80
งานคนพิการ ร้อยละผลงานการเข้าถึงบริการสุขภาพคนพิการจังหวัดเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2559 : จำแนกรายอำเภอ เป้าหมายงานการเข้าถึงบริการ : ร้อยละ 80 ร้อยละ แหล่งข้อมูล : 43 แฟ้ม

72 GAP:งานคนพิการ ระบบบริหารจัดการงาน/การประสานงานในระดับหน่วยบริการ อำเภอ และจังหวัด ไม่ชัดเจน หน่วยบริการยังไม่มีส่วนร่วมกับท้องถิ่นและภาคีเครือข่าย/ขาดเป้าหมายร่วม/ต่าง หน่วยงานต่างทำ/บางงานซ้ำซ้อน/ไม่บูรณาการงาน อสม./เครือข่ายคนพิการบางพื้นที่ยังขาดความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงาน ขาดการจัดการความรู้จากบทเรียนและประสบการณ์ทำงานในพื้นที่ ฐานข้อมูลคนพิการใน 43 แฟ้มยังไม่ตอบสนองตามความต้องการของหน่วยบริการ/ เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลยังไม่เข้าใจการบันทึกข้อมูลงานคนพิการ ฐานข้อมูล CMBIS ยังไม่มีข้อมูลงานคนพิการบรรจุในโปรแกรม บริบทการทำงานในพื้นที่ห่างไกลเป็นภูเขา การคมนาคมยากลำบาก คนพิการ เข้าถึงบริการได้ยาก คนพิการและญาติบางคนไม่เห็นความสำคัญของการเข้ารับบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ

73

74 เป้าหมายงานคนพิการ ปีงบประมาณ 2560 : คนพิการเข้าถึงบริการสุขภาพเพิ่มขึ้นหรือคงที่ เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา ประเด็นติดตาม Essential Task 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1. ระบบข้อมูล 43 แฟ้ม - มีสภาพปัญหางาน คนพิการใน 43 แฟ้ม - จนท. มีความรู้ความ เข้าใจในการ ดำเนินงานและการ บันทึกข้อมูล - มีแนวทางปฏิบัติใน การดำเนินงานคน พิการ - เจ้าหน้าที่ สาธารณสุขได้รับ ความรู้/ทักษะใน การบันทึกข้อมูล 43 แฟ้ม - การติดตามงาน ใน ฐานข้อมูล 43 แฟ้ม เป็นราย ไตร มาส - มีการบันทึกข้อมูลงานคนพิการ อย่างถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน ร้อยละ 100

75 ประเด็นติดตาม Essential Task 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน
เป้าหมายงานคนพิการ ปีงบประมาณ 2560 : คนพิการเข้าถึงบริการสุขภาพเพิ่มขึ้นหรือคงที่ เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา ประเด็นติดตาม Essential Task 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 2.ระบบการค้นหาคัด กรอง คนพิการ - รพ/รพสต.ได้รับทราบ นโยบายและแนวทางการ ดำเนินงานคนพิการ ปี 2560 - มีข้อมูลการวิเคราะห์ สภาพปัญหาการดำเนินงาน คนพิการ ( ร้อยละ 100 ) - มีแผนการแก้ไขปัญหา ร้อยละ 100 -รพ/รพสต.มีการแก้ไข ปัญหาตามแผนที่วางไว้ - รพ/รพสต. มีการ รณรงค์คัดกรอง คน พิการ - มีคู่มือการดำเนินงาน คนพิการเบื้องต้น -รพสต.ได้รับการ ติดตามการดำเนินงาน โดยทีมนิเทศระดับ อำเภอ ร้อยละ 100 -นิเทศโดยโซน / จังหวัด อย่างน้อย อำเภอละ 2 แห่ง - รพ/รพสต.ได้มีผล การคัดกรอง คน พิการรายใหม่ ร้อยละ 100 - อสม.ได้จัดส่ง รายงาน ผลการ ดำเนินงานให้ รพ. สต. ทุกเดือน ร้อย ละ 80

76 ประเด็นติดตาม 3. คนพิการ 8 ประเภทเข้าถึงบริการสุขภาพเพิ่มขึ้น
Essential Task 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 3. คนพิการ 8 ประเภทเข้าถึงบริการสุขภาพเพิ่มขึ้น 1.การประชุม วิเคราะห์ วางแผน งาน/โครงการ/ชี้แจง แนวทางการ ดำเนินงาน 2. จังหวัดมีการวาง แผนการควบคุมกำกับ งานคนพิการ ด้วย ฐานข้อมูล 43 แฟ้ม และติดตาม ความก้าวหน้าตาม Essential Task List. 3. รพ.สต./รพ. มีนโยบาย เป้าหมายแนวทางการดำเนินงานคนพิการ ปี 2560 1. หน่วยบริการสุขภาพในสังกัดได้รับการกำกับ ติดตามงาน ปรับแผนตามสภาพพื้นที่ โดยทีม บูรณาการร่วมจังหวัด/อำเภอ/ตำบล 2. ผู้รับผิดชอบงานคนพิการทุกแห่ง ได้รับการได้รับการอบรมพัฒนาศักยภาพ/สุ่มประเมินสมรรถนะ 1. จังหวัด/อำเภอ/ตำบล มีการประชุมวิเคราะห์สถานการณ์ ปรับแผนตามสภาพพื้นที่และมีการวัดความก้าวหน้าการดำเนินงานและระบุความสำเร็จ 2. รพ.สต./รพ. ได้รับการติดตามนิเทศการดำเนินงานคนพิการ โดยทีมนิเทศระดับอำเภอ/โซน/จังหวัด  1. มีผลลัพธ์การ ดำเนินงาน 2.มีแผนพัฒนา ระบบการดูแล คนพิการ

77 4.การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายคนพิการระดับอำเภอ/จังหวัด
ประเด็นติดตาม Essential Task 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 4.การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายคนพิการระดับอำเภอ/จังหวัด - ตำบล/อำเภอ/จังหวัดได้ประสานและบูรณาการงานคนพิการกับงานสุขภาพภาคประชาชน/งาน LTC 5 กลุ่มวัย - เครือข่าย/คณะกรรมการงาน คนพิการได้รับการพัฒนาบทบาท รูปแบบ แนวทางการดำเนินงานร่วมกัน โดยทีมอำเภอ/โซน/จังหวัด -เครือข่าย/คณะกรรมการงานคนพิการได้รับการประเมินความก้าวหน้าการพัฒนาศักยภาพ โดยทีมอำเภอ/โซน/จังหวัด -เครือข่าย/คณะกรรมการงานคนพิการได้รับการติดตามประเมินผลการดำเนินงาน โดยทีมอำเภอ/โซน/ จังหวัด

78 SPสาขามะเร็ง ตัวชี้วัดหลัก : ร้อยละของผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านมระยะที่ 1 และ 2 ≥ ร้อยละ 70 ตัวชี้วัดรอง 1.สตรีอายุ ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองร้อยละ 80 2.สตรีอายุ ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 80 ภายใน 5 ปี (ปี )

79 Template 1.ลดระยะเวลารอคอย ผ่าตัด เคมีบำบัด รังสีรักษา ของมะเร็ง ๕ อันดับแรก ได้แก่ มะเร็งปอด มะเร็งตับ มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งลำไส้ 2. อัตราตายจากโรคมะเร็งตับ 3. อัตราตายจากโรคมะเร็งปอด 4. การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม 5. การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก

80 งานมะเร็งจังหวัดเชียงใหม่
สถานการณ์ สถิติการรักษาของโรงพยาบาลนครพิงค์ ปี 2559 พบผู้ป่วยมะเร็งรายใหม่ 5 อันดับแรก โรคมะเร็งปอด อัตรา20.99 ต่อแสนประชากร มะเร็งเต้านม อัตรา ต่อแสนประชากร มะเร็งตับและท่อน้ำดีในตับ อัตรา16.11 ต่อแสนประชากร มะเร็งปากมดลูก อัตรา 9.21 ต่อแสนประชากร มะเร็งลำไส้ใหญ่ อัตรา8.66 ต่อแสนประชากร

81 งานมะเร็งจังหวัดเชียงใหม่
สถานการณ์ : อัตราตาย(ต่อแสนประชากร)ผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก โรค ปี2556 ปี2557 ปี2558 1.มะเร็งปอด 25.10 28.82 33.50 ตัวชี้วัด: อัตรา 18 ต่อแสนประชากร หรือ ลดลงร้อยละ 5 เปรียบเทียบกับปี 2556 2.มะเร็งตับและท่อน้ำดีในตับ 21.31 24.87 22.70 ตัวชี้วัด: อัตรา 23.5 ต่อแสนประชากร หรือ ลดลงร้อยละ 5 เปรียบเทียบกับปี 2556 3.มะเร็งลำไส้ใหญ่ 2.71 2.22 - 4.มะเร็งกระเพาะอาหาร 1.69 2.63 5.มะเร็งเต้านม 3.55 2.99

82 อัตราตาย(ต่อแสนประชากร)ผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก
อัตราตาย(ต่อแสนประชากร)ผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก 33.5 21.31 25.10 24.87 22.7 21.31 3.55 2.99 2.71 2.63 1.69 2.22

83 จำนวนผู้ป่วยมะเร็งใหม่ จำแนกรายโรค 5 อันดับแรก ของจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2557 – 2559

84 จำนวนผู้ป่วยมะเร็งเสียชีวิต 2557-2559 Hospital base (รพ.นครพิงค์)

85 ผลการดำเนินงาน - การผ่าตัดมะเร็งทุกชนิด < 4 สัปดาห์ ร้อยละ (326/408 ราย) - การรักษาด้วยเคมีบำบัดมะเร็งทุกชนิด < 6 สัปดาห์ ร้อยละ85.54 (207/242 ราย) - การรักษาด้วยรังสีรักษามะเร็งทุกชนิด < 6 สัปดาห์ ร้อยละ (118/121 ราย) - การคัดกรองพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ด้วย U/S จำนวน 5,607 ราย ผิดปกติ จำนวน 1,470 ราย ร้อยละ สงสัย CCA จำนวน 23 ราย ร้อยละ 0.41 การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมครอบคลุม ร้อยละ (HDC) การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ได้ ร้อยละ (CXS2010) ร้อยละ (HDC)

86 เป้าหมายการพัฒนา ปี 2560 และ ระยะ 5 ปี(ปี 2564)
1. พัฒนาระบบการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ ส่งเสริมป้องกัน โรคมะเร็ง 5 อันดับแรก ในวันสำคัญ 2. พัฒนาระบบการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม และมะเร็งปาก มดลูกในสตรีกลุ่มเป้าหมาย 3. พัฒนาระบบข้อมูลการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปาก มดลูก ให้ครบถ้วน ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน

87

88 เป้าหมายการพัฒนาในระดับอำเภอ
ประเด็นที่กำกับติดตาม ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1.การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีอายุ ปีภายใน 5 ปี (ปี ) 1.คัดกรองร้อยละ50 2.สตรีที่พบเซลล์ผิดปกติได้รับการส่งต่อวินิจฉัยรักษาโดยแพทย์ทุกราย 3.มีการบรรทุกในระบบข้อมูล 43 แฟ้ม/CXS2010 ทุกราย 1.คัดกรองร้อยละ60 2.สตรีที่พบเซลล์ผิดปกติได้รับการส่งต่อพบแพทย์ทุกราย 3.มีการบรรทุกในระบบข้อมูล 43 แฟ้ม/CXS2010 ทุกราย 1.คัดกรองร้อยละ 70 2.สตรีที่พบเซลล์ผิดปกติได้รับการส่งต่อพบแพทย์ทุกราย 3.มีการบรรทุกในระบบข้อมูล 43 แฟ้ม/CXS2010 ทุกราย 1.คัดกรองร้อยละ 80 2.สตรีที่พบเซลล์ผิดปกติได้รับการส่งต่อพบแพทย์ทุกราย 3.มีการบรรทุกในระบบข้อมูล 43 แฟ้ม/CXS2010 ทุกราย 1.ทะเบียนการคัดกรอง 2.ระบบ 43 แฟ้ม /CXS2010 2. การคัดกรองมะเร็งเต้านมในสตรีอายุ ปี ด้วยตนเอง 1.คัดกรองร้อยละ 80 2.มีการบันทึกข้อมูลในโปรแกรมถันยรักษ์และระบบ 43 แฟ้มทุกราย 2.ระบบ 43 แฟ้ม /ถันยรักษ์

89 ประเด็นที่กำกับติดตาม
ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 3.การคัดกรองความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งเต้านม สตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ ปี ได้รับการคัดกรองความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งเต้านม ร้อยละ 50 1.สตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ ปี ได้รับการคัดกรองความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งเต้านม ร้อยละ100 2.สตรีกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจโดยเจ้าหน้าที่ ร้อยละ 100 สตรีที่จนท.ตรวจพบพบก้อนได้รับการส่งต่อพบแพทย์เพื่อทำU/S และ Mammogram ร้อยละ 100 1.ทะเบียนข้อมูลการคัดกรองความเสี่ยง 2.แบบรายงานผลการตรวจโดย จนท. 3.ข้อมูลการส่งต่อรักษา

90 ประเด็นที่กำกับติดตาม
ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 4.การพัฒนาระบบบริการค้นหาคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม 1.อำเภอมีข้อมูลการวิเคราะห์สภาพปัญหาการดำเนินงานที่ผ่านมา 2.มีแผนการแก้ไขปัญหา 3.ประชาชนได้รับความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันการเกิดโรคมะเร็ง ๕ อันดับแรก ได้แก่โรคมะเร็งปอด มะเร็งตับ มะเร็งเต้านม มะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก และมะเร็งปากมดลูก 4. จัดกิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ทุก รพ./ รพ.สต.แห่งละ 1 ครั้ง ใน วันต่อต้านโรคมะเร็งแห่งชาติ(10 ธ.ค.) 1.มีแผนการรณรงค์คัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม 2.มีการจัดตั้งคลินิกมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านมและมีตารางการให้บริการ ใน รพ.สต. 3.มีการประชาสัมพันธ์การดำเนินงานคลินิก 4.สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกโดย Mobile Clinic ของ CUP ร่วมกับ รพ.สต.ทุกแห่งๆ ละ 1 ครั้ง 5.จัดกิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ทุก รพ./ รพ.สต.แห่งละ 1 ครั้งใน วันมะเร็งโลก(4 ก.พ.) 1.สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก โดย Mobile Clinic ของ CUP ร่วมกับ รพ.สต.ทุกแห่งๆ ละ 1 ครั้ง 2. จัดกิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ทุก รพ./ รพ.สต.แห่งละ 1 ครั้ง ในวันฉัตรมงคล (5 พ.ค..) 1.สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม โดย Mobile ของ มูลนิธิกาญจนบารมีฯโดยการตรวจ Ultrasound และ Mammogram 2. จัดกิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ทุก รพ./ รพ.สต.แห่งละ 2 ครั้ง ใน วันแม่แห่งชาติ(12 ส.ค.) วันรณรงค์โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวโลก (22 ก.ย.) 3.มีการจัดคลินิคตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในสถานบริการ ( รพ.สต.) ร้อยละ100 1.ข้อมูลการวิเคราะห์สภาพปัญหาการและแผนการแก้ไขปัญหา 2.แผนการประชาสัมพันธ์รณรงค์ 3.ผลการดำเนินงาน 4.ทะเบียนผู้รับบริการในคลินิกคัดกรองมะเร็ง

91 สุขภาพจิต ตัวชี้วัดหลัก : อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ≤6.3ต่อแสนประชากร หรือลดลงร้อยละ 5 จากปีที่ผ่านมา ตัวชี้วัดรอง 1.ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการมากกว่า ร้อยละ50 2.ผู้ป่วยโรคจิตเข้าถึงบริการมากกว่า ร้อยละ60 3.ผู้ป่วยโรคสุราเข้าถึงบริการบำบัดรักษามากกว่า ร้อยละ80 4.กลุ่มเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายได้รับการคัดกรองภาวะซึมเศร้า ร้อยละ กลุ่มเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายได้รับการเยี่ยมบ้านตามเกณฑ์ ร้อยละ 100

92 Template -อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ -ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิต

93 การฆ่าตัวตายสำเร็จลดลง
เป้าหมายไม่เกิน 6.3 ต่อแสนประชากร หรือลดลงร้อยละ 5 จากปีที่ผ่านมา

94

95 สภาพปัญหา การบันทึกข้อมูล การเข้าถึงบริการ อาจยังไม่ถูกต้อง
การบันทึกข้อมูล การเข้าถึงบริการ อาจยังไม่ถูกต้อง ไม่มีข้อมูลการคัดกรองภาวะสุขภาพจิตในประชาชน โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย (ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้ป่วยติดสุราและยาเสพติด หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ฯลฯ) ทั้งในสถานบริการและในชุมชน มีข้อมูลการเยี่ยมบ้านเฉพาะ กลุ่มพยายามฆ่าตัวตาย กลุ่มผู้ป่วยจิตเวชที่มีภาวะวิกฤติ กลุ่มผู้ป่วยจิตเวชทั่วไป แต่มีผลงานน้อย

96 Program Evaluation Review Technique (PERT) : อัตราการฆ่าตัวตายลดลงร้อยละ 5 จากปีที่ผ่านมา
การ แก้ไข ปัญหา ฆ่าตัว ตาย มี แนวทาง ดำเนินง านการ แก้ไข ปัญหา ฆ่าตัว ตาย รพ. รับทรา บ นโยบา ยและ แนว ทางกา ร ดำเนิน งาน รพ.สต. รับทราบ นโยบาย และแนว ทางการ ดำเนินงา น มี ข้อมูล/ ทะเบียน กลุ่ม เสี่ยง มีแนวทาง การแก้ไข ปัญหา การบันทึก ข้อมูลรพ/ รพ.สต 43 แฟ้ม กลุ่มเสี่ยง walk inใน รพ.ได้รับการ คัดกรอง 2Q9Q8Q กลุ่มเสี่ยง walk inใน รพ.สตได้รับ การคัดกรอง 2Q9Q8Q กลุ่ม เสี่ยง ได้รับ การคัด กรอง2Q โดยอสม. จนท รพ/ รพ.สต. ได้รับการ พัฒนา ทักษะการ บันทึก ข้อมูล กลุ่มที่มี ภาวะ ซึมเศร้า ได้รับ Dx/RXร้อย ละ100 มีข้อมูล กลุ่ม ภาวะ ซึมเศร้า  กลุ่มเสี่ยง ได้รับการเยี่ยม บ้านโดยจนท. ร้อยละ100 มีข้อมูล การนิเทศ ติดตาม โดยทีม จังหวัด/ อำเภอ  อัตราการ ฆ่าตัวตาย ลดลงร้อย ละ 5 ผู้ป่วยจิต เวช/ ซึมเศร้า ได้รับการ เข้าถึง บริการ ตาม เป้าหมาย มีข้อมูลคัด กรอง รักษาที่ ครบถ้วน ถูกต้องใน ระบบ43 แฟ้ม กลุ่มเสี่ยง/จิตเวชทั่วไปเยี่ยม/คัดกรอง ทุก1เดือน SMIเยี่ยม/คัดกรองทุก2Wk กลุ่มเสี่ยงคือกลุ่มNCD กลุ่มสุรายาเสพติด จิตเวชและผู้พยายามฆ่าตัวตาย ต.ค-ธ.ค.2559. ม.ค-มี.ค.2560. เม.ย -มิ.ย.2560. ก.ค - ก.ย.2560. ผู้ติดสุรา/ ยาเสพติด ได้รับ บำบัดค ลินืกสุรา ยาเสพติด (กลุ่มงา นคร.)

97 ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ
ประเด็นที่กำกับติดตาม ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน เดือน 1.การคัดกรองภาวะซึมเศร้าในกลุ่มเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย (กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง/กลุ่มติดสุรา ยาเสพติด/ ผู้ป่วยจิตเวช )ได้รับการคัดกรองภาวะซึมเศร้า ทุก3เดือนและบันทึกในแฟ้มฐานข้อมูล 43 แฟ้ม 1.มีข้อมูลวิเคราะห์สภาพปัญหาผลการดำเนินงานคัดกรองในปีที่ผ่านมาจำแนกตามกลุ่มเป้าหมาย 2.มีแผนการแก้ไขปัญหาการคัดกรองให้ได้ตามเป้าหมาย 3.มีการจัดส่งรายงานการคัดกรอง2Q9Q8Q และส่งต่อรักษาภาวะซึมเศร้าจำแนกตามกลุ่มเป้ามาย รายไตรมาส 1.กลุ่มเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายร้อยละ 100 ได้รับการคัดกรองภาวะซึมเศร้าทุกครั้งที่มารับบริการในสถานบริการ(รพ/รพ.สต.) 2.มีการบันทึกข้อมูลในแฟ้มฐานข้อมูล 43 แฟ้ม ร้อยละ ผู้ที่พบภาวะซึมเศร้าได้รับการส่งต่อไปเพื่อวินิจฉัยและรักษาที่ รพ.ร้อยละ มีการจัดส่งรายงานการคัดกรอง2Q9Q8Q และส่งต่อรักษาภาวะซึมเศร้าจำแนกตามกลุ่มเป้ามาย รายไตรมาส 1.ข้อมูลการคัดกรอง2Q9Q8Q และส่งต่อรักษาภาวะซึมเศร้าจำแนกตามกลุ่มเป้ามายในระบบข้อมูล 43แฟ้มและระบบทะเบียน 2.ข้อมูลวิเคราะห์ปัญหาการดำเนินงาน 3.แผนการดำเนินงานเพื่อแก้ไขปัญหาการคัดกรอง

98 ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ
ประเด็นที่กำกับติดตาม ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน เดือน 2.ผู้ที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายได้รับการเยี่ยมบ้านตามเกณฑ์(กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง/กลุ่มติดสุรา ยาเสพติด/ ผู้ป่วยจิตเวช ผู้ที่พยายามฆ่าตัวตาย ) 1.มีข้อมูลกลุ่มเป้าหมายที่ต้องได้รับการเยี่ยมบ้าน 2.มีแผนการเยี่ยมบ้าน 3.ผู้ที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายได้รับการเยี่ยมบ้านและได้รับการประเมินภาวะซึมเศร้าตามเกณฑ์ ร้อยละ 80 4.ผู้ที่พบว่าอาการซึมเศร้าจากการประเมินโดยอสม.ได้รับการประเมินภาวะซึมเศร้าโดยจนท.ร้อยละ100 5.ผู้ที่ได้รับการเยี่ยมแล้วพบว่ามีภาวะซึมเศร้าได้รับการส่งต่อไปเพื่อวินิจฉัยและรักษาที่ รพ.ร้อยละ มีการบันทึกข้อมูลในแฟ้มฐานข้อมูล 43 แฟ้ม ร้อยละ 100 7.มีการจัดส่งรายงานการเยี่ยมบ้าน 1.ผู้ที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายได้รับการเยี่ยมบ้านและได้รับการประเมินภาวะซึมเศร้าตามเกณฑ์ ร้อยละ 80 2.ที่พบว่าอาการซึมเศร้าจากการประเมินโดยอสม.ได้รับการประเมินภาวะซึมเศร้าโดยจนท.ร้อยละ100 3.ผู้ที่ได้รับการเยี่ยมแล้วพบว่ามีภาวะซึมเศร้าได้รับการส่งต่อไปเพื่อวินิจฉัยและรักษาที่ รพ.ร้อยละ มีการบันทึกข้อมูลในแฟ้มฐานข้อมูล 43 แฟ้ม ร้อยละ มีการจัดส่งรายงานการการเยี่ยมบ้านจำแนกตามกลุ่มเป้ามาย รายไตรมาส 1.ทะเบียนกลุ่มเป้าหมายที่ต้องได้รับการเยี่ยมบ้าน 2.แผนการเยี่ยมบ้าน 3.ข้อมูลการเยี่ยมบ้านในแต่ละกลุ่มเป้าหมายและข้อมูลผู้ที่มีภาวะซึมเศร้าได้รับการส่งต่อ 4.ข้อมูลการวิเคราะห์ปัญหาการดำเนินงาน 2.1กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง /กลุ่มผู้ป่วยสุรา ยาเสพติด ผู้ป่วยจิตเวชทั่วไป ได้รับการเยี่ยมบ้านโดย จนท./ อสม.เดือนละ 1 ครั้ง 2.2 ผู้ป่วยจิตเวช SMI และผู้ที่พยายามฆ่าตัวตาย ได้รับการเยี่ยมบ้านโดย จนท. ทุก 2 สัปดาห์ อสม. เดือนละ 1 ครั้ง

99 ประเด็นที่กำกับติดตาม
ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 3.กลุ่มผู้ติดสุราเข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษา 1.มีข้อมูลจำนวนกลุ่มผู้ติดสุรา 2.มีแผนงานและกระบวนการการนำผู้ติดสุราเข้าสู่การบำบัดรักษา 1.กลุ่มผู้ติดสุราได้รับการบำบัดรักษาร้อยละ60 2.มีการบันทึกข้อมูลการบำบัดรักษาในแฟ้มฐานข้อมูล 43 แฟ้ม ร้อยละ มีการจัดส่งรายงานราย ไตรมาส 1.กลุ่มผู้ติดสุราได้รับการบำบัดรักษาร้อยละ70 2.มีการบันทึกข้อมูลการบำบัดรักษาในแฟ้มฐานข้อมูล 43 แฟ้ม ร้อยละ มีการจัดส่งรายงานราย ไตรมาส 1.กลุ่มผู้ติดสุราได้รับการบำบัดรักษาร้อยละ80 2.มีการบันทึกข้อมูลการบำบัดรักษาในแฟ้มฐานข้อมูล 43 แฟ้ม ร้อยละ 100 1.ข้อมูลจำนวนผู้ติดสุรา 2.แผนงานและกระบวนการการนำผู้ติดสุราเข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษา 3.ข้อมูลกลุ่มผู้ติดสุราเข้าถึงบริการบำบัดรักษา 4.การพัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวชใน รพ./รพสต. 1.มีการประเมินมาตรฐานคลินิกสุขภาพจิต 2.มีการวิเคราะห์และวางแผนการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช มีการแก้ไขปัญหาคุณภาพระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช 1.มีการสรุปปัญหาอุปสรรคการดำเนินงานเพื่อการพัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช 2.มีการประเมินมาตรฐานคลินิกสุขภาพจิตครั้งที่ 2 1.ข้อมูลการประเมินมาตรฐานคลินิกสุขภาพจิต2.แผนการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช 3.ผลการประเมินมาตรฐานหลังการวางแผนแก่ไขปัญหา

100 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google