งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คณะที่ 2:การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดเชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คณะที่ 2:การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดเชียงใหม่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คณะที่ 2:การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดเชียงใหม่
คณะที่ 2:การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดเชียงใหม่ นพ.ชาญชัย พจมานวิพุธ รองผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลนครพิงค์

2 ประเด็นตรวจราชการคณะที่ 2
สาขา ตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์ 1 PRIMARY CARE 1) ร้อยละของอำเภอ มีการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอาเภอ (พชอ.) ที่มีคุณภาพ) 2) ร้อยละของคลินิกหมอครอบครัวที่เปิดดำเนินการในพื้นที่ ( PCC ) 3) ร้อยละของ รพ.สต. ที่ผ่านเกณฑ์การพัฒนา คุณภาพ รพ.สต. ติดดาว 2 TB 4) อัตราความสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ 3 RDU-AMR 5) ร้อยละ รพ.ที่ใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล/ร้อยละ รพ.ที่มีระบบ AMR ระดับ intermediate 4 Fast Track 6) อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 7) อัตราตายผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community-acquired sepsis 8) อัตราการเสียชีวิตของผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉิน ภายใน 24 ชั่วโมง ใน รพ.ระดับ A, S, M1 (ทั้งที่ ER และ Admit)

3 ประเด็นตรวจราชการคณะที่ 2
สาขา ตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์ 5 ยาเสพติด 9) ร้อยละของผู้ติดยาเสพติด ที่บำบัดครบตามเกณฑ์ที่กำหนด ของแต่ละระบบและได้รับการติดตามต่อเนื่อง 1 ปี (Retention rate) และร้อยละของผู้ใช้ ผู้เสพ ที่บำบัดครบตามเกณฑ์ที่กำหนดของแต่ละระบบหยุดเสพต่อเนื่อง หลังจำหน่ายจากการบำบัด 3 เดือน 6 สาขาสุขภาพจิตและ จิตเวช 10) อัตราการฆ่าตัวตายสาเร็จ 7 สาขาไต 11) ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR<4ml/min/1.73m2/yr≥80% และร้อยละของผู้ป่วย DM และ HT ที่ได้รับการคัดกรองโรคไตเรื้อรัง 66 % 8 การพัฒนาระบบบริการ ODS 12) ร้อยละของผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดแบบ One Day Surgery

4 ประเด็นตรวจราชการคณะที่ 2
สาขา ตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์ 9 สาขาปลูกถ่ายอวัยวะ 13) อัตราส่วนจำนวนผู้ยินยอมบริจาคอวัยวะ จากผู้ป่วยสมองตายต่อจำนวนผู้ป่วยเสียชีวิตในโรงพยาบาล 14) อัตราส่วนของจำนวนผู้ยินยอมบริจาคดวงตาต่อจำนวนผู้ป่วยเสียชีวิตในโรงพยาบาล ประเด็นเพิ่มเติม 10 แพทย์แผนไทย 15) ร้อยละของผู้ป่วยนอกทั้งหมดที่ได้รับบริการ ตรวจ วินิจฉัย รักษาโรคและฟื้นฟูสภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 11 โรคหัวใจ 16) อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ

5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
สถานการณ์ คณะกรรมการ พชอ. ร้อยละ 100 ประเด็นปัญหา 2 ประเด็น / อำเภอ ประชุม กก. อย่างน้อย 1 ครั้ง / ไตรมาส ตัวชี้วัด : ร้อยละของอำเภอผ่านเกณฑ์การประเมินการ พัฒนาคุณภาพชีวิตที่มีคุณภาพ ประเด็นท้าทายที่ต้องการแก้ไขปัญหา/พัฒนา การสร้างความเข้มแข็งของทีมเลขาฯพชอ. การเยี่ยมเสริมพลัง และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป้าหมายผลลัพธ์ที่ต้องการ คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต สามารถ ขับเคลื่อนประเด็นคุณภาพชีวิต ได้อย่าง ต่อเนื่อง และมีคุณภาพ

6 ปัจจัยสำคัญที่จำเป็นในการปิด GAP
1.ความเข้าใจของ พชอ. ในการขับเคลื่อนประเด็นคุณภาพชีวิต 1.การพัฒนาศักยภาพทีมเลขานุการ 2.การเยี่ยมเสริมพลังและการใช้กระบวนการ UCCARE 2.การเยี่ยมเสริมพลังโดยทีมระดับจังหวัด และ การบูรณาการกำกับติดตามร่วมกับทีม Regulator 3.การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างอำเภอและนอกพื้นที่ 3.การสร้างเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในระดับจังหวัด แผนการดำเนินงาน /กิจกรรมสำคัญ (Essential Task) กิจกรรม 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน เสริมสร้างความเข้มแข็งของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) - อำเภอมีการทบทวน กก. พชอ.และกำหนดประเด็นขับเคลื่อน พชอ.อย่างน้อย2 ประเด็น - อำเภอมีผลการประเมินตนเอง (SelfAssessment) โดยใช้แนวทางกลไกการพัฒนUCCARE - มีแผนการดำเนินการตามแผนพัฒนา พชอ. คืนข้อมูลสำคัญ และกำหนดเป้าหมายร่วม - ขับเคลื่อนพัฒนา ตามกลไกUCCARE - มีการนิเทศ เยี่ยมเสริมพลัง - มีการดำเนินการตามแผนพัฒนา พชอ. และ ติดตามข้อมูลเชิงผลลัพธ์ทางสุขภาพอย่างน้อย 2 ประเด็นสุขภาพ - ร้อยละ 60 ของอำเภอผ่านการพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอตามเกณฑ์ - เวทีแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียนการพัฒนา

7 พัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ (PCC)
สถานการณ์ Mapping : 58 Cluster 160 ทีม แพทย์ FM วุฒิบัตร/อนุมัติบัตร 47 คน ผ่านการอบรมระยะสั้น 21 คน (แพทย์เชี่ยวชาญต่ออายุราชการ 5 คน) In service :40 คน(กำลังศึกษา) ตัวชี้วัด : ร้อยละของคลินิกหมอครอบครัวที่เปิด ดำเนินการในพื้นที่ (Primary Care Cluster) ประเด็นท้าทายที่ต้องการแก้ไขปัญหา/พัฒนา พัฒนาคลินิกหมอครอบครัวคุณภาพ สร้างต้นแบบ ประเด็นปัญหาร่วม กับ พชอ. ระบบข้อมูลสารสนเทศ การส่งแพทย์เรียน FM การบริหารทรัพยากร เป้าหมายผลลัพธ์ที่ต้องการ คลินิกหมอครอบครัวคุณภาพ ต้นแบบ จำนวน 2 แห่ง

8 ปัจจัยสำคัญที่จำเป็นในการปิด GAP
1. แพทย์ไม่สามารถออกให้บริการใน PCC ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด 1. เพิ่มจำนวนการผลิตและอบรมแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว เพื่อรองรับการเปิด PCC 2. การบริหารจัดการเครือข่ายในกรณีที่ 1 PCC มีหลายสถานบริการ 2.สนับสนุนการขับเคลื่อนคลินิกหมอครอบครัวคุณภาพตามกรอบแนวคิดเป้าหมายหลัก หรือ Triple Aim (Improving patient care/ Improving the health of populations /Reducing cost) แผนการดำเนินงาน /กิจกรรมสำคัญ (Essential Task) กิจกรรม 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน สนับสนุนการพัฒนา คลินิกหมอครอบครัวPrimary Care Cluster ปี 2562 - ทบทวนประเมิน PCC คุณภาพ ตามเกณฑ์ 3 S และขึ้นทะเบียนในระบบกำหนดเป้าหมาย - แผนพัฒนาทีมสหวิชาชีพ และ แพทย์ประจำ PCC อบรมระยะสั้นเวชศาสตร์ครอบครัว - มีการแลกเปลี่ยนและพัฒนาทักษะด้านเวชศาสตร์ครอบครัว แก่ทีมสหวิชาชีพ - เยี่ยมเสริมพลังนิเทศติดตาม PCC (แม่ข่าย) - ผ่านเกณฑ์ รพ.สต. 5 ดาวร้อยละ 100 - PCC เปิดดำเนินการได้ตามระบบ - มีการติดตามเยี่ยมเสริมพลัง และทบทวนระบบงาน - นิเทศติดตามผลลัพธ์ที่ประชาชนใน Cluster area (PMC/PHC) Triple AIM - มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปฏิบัติงาน ถอดบทเรียนการพัฒนา - PCC ที่ขึ้นทะเบียน เปิดดำเนินการ Full Function ได้ตามเกณฑ์เป้าหมาย

9 ผลประเมิน รพ.สต.ติดดาว ระดับจังหวัด (แห่ง)
รพ.สต. ติดดาว ตัวชี้วัด : ร้อยละของ รพ.สต.ติดดาว ที่ผ่านเกณฑ์ คุณภาพ รพ.สต.ติดดาว สถานการณ์ ปี พ.ศ. ผลประเมิน รพ.สต.ติดดาว ระดับจังหวัด (แห่ง) 5 ดาว 4 ดาว 3 ดาว เร่งพัฒนา 2560 37 (13.85%) 79 (29.59%) 77 (28.84%) 74 (27.72%) 2561 87 (32.58%) 139 (52.06%) 33 (12.36%) 8 (3.00%) ประเด็นท้าทายที่ต้องการแก้ไขปัญหา/พัฒนา การพัฒนาศักยภาพทีมพี้เลี้ยงและการ สนับสนุนการพัฒนารพ.สต.โดยทีมพี่เลี้ยง การเยี่ยมประเมินระดับจังหวัด เพื่อรับรอง รพ.สต.ระดับ 5 ดาว เป้าหมายผลลัพธ์ที่ต้องการ รพ.สต. ผ่านเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพรพ.สต.ติดดาวระดับ 3 ดาว ร้อยละ 100(สะสม) รพ.สต. ผ่านเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพรพ.สต.ติดดาว ระดับ 5 ดาว ร้อยละ 60 (สะสม) มาตรการดำเนินการ 1. การสร้าง Core Team ในทุกระดับ (จังหวัด อำเภอ) 2. ประเมินตนเองของรพ.สต. แผนการพัฒนาระดับพื้นที่ 3. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้บูรณาการร่วม พชอ และ PCC

10 ปัจจัยสำคัญที่จำเป็นในการปิด GAP
1.รพ.สต. ที่มีระดับการพัฒนาต่ำกว่าระดับ 3 จำนวน 8 แห่ง การพัฒนาทีมพี่เลี้ยง และการ สนับสนุนจากโรงพยาบาลแม่ข่ายเพื่อการพัฒนารพ.สต. ในส่วนขาด 2.การออกประเมินเพื่อการรับรอง รพ.สต.ติดดาวระดับจังหวัด จำนวนเป้าหมาย ปี แห่ง การสร้างทีมประเมินรพ.สต.ติดดาวระดับจังหวัด เพื่อการรับรองคุณภาพ แผนการดำเนินงาน /กิจกรรมสำคัญ (Essential Task) กิจกรรม 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.ติดดาว) - มี คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพ - ชี้แจง สร้างความเข้าใจแนวคิดการใช้เกณฑ์ - พัฒนาทีม ครู ก ครู ข ขับเคลื่อนเป็นพี่เลี้ยงในอำเภอ - กำหนดเป้าหมายรพสต. 5ดาว - รพ.สต ทุกแห่งประเมินตนเอง (self- assessment) - มี การพัฒนาทีมพี่พี่เลี้ยงอำเภอ ครู ค - ทีมจังหวัดลงเยี่ยมเสริมพลังและประเมิน รพ.สต. 5 ดาว ร้อยละ20 - มีการนิเทศเยี่ยมเสริมพลัง และประเมินตามเกณฑ์ในรพ.สต ร้อยละ 20 -ติดตามผลลัพธ์ทางสุขภาพการขับเคลื่อนอย่างมีส่วนร่วม อย่างน้อย 1 ประเด็นสุขภาพตามปัญหาพื้นที มีผลการประเมินรับรองคุณภาพ - รพ.สต. 5 ดาว ระดับจังหวัด ร้อยละ 60 - รพ.สต. 3 ดาว ร้อยละ 100

11 วัณโรค

12 วัณโรค

13 วัณโรค ตัวชี้วัด : อัตราความสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรค ปอดรายใหม่ > ร้อยละ 85 ประเด็นท้าทายที่ต้องการแก้ไขปัญหา/พัฒนา ปัญหาการเสียชีวิตมาก ปัญหาการขาดยา Treatment coverage ต่ำไม่ได้ตามเป้าหมายครอบคลุม การค้นหาคัดกรองไม่ได้ ตามเป้าหมาย ในกลุ่มผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ผู้สูงอายุโรคร่วม เบาหวาน Uncontrol เป้าหมายผลลัพธ์ที่ต้องการ -คัดกรองประชากรกลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 100 -อัตราการรักษาสำเร็จ >ร้อยละ 85 -ร้อยละการค้นหาผู้ป่วยรายใหม่และกลับเป็นซ้ำ >ร้อยละ 82.5

14 ปัจจัยสำคัญที่จำเป็นในการปิด GAP
1. การค้นหาการคัดกรองยังไม่มีคุณภาพ กำหนดเปาหมายกลุ่มเสี่ยงให้ชัดเจนและเร่งรัดการ ดำเนินงานให้ครอบคลุมร้อยละ 80 ในไตรมาสที่ 2 2. ระบบการรักษาและระบบการให้คำปรึกษายังไม่ชัดเจน จัดทำ Clinical Practice Guidelines (CPG) และ จัดระบบการให้คำปรึกษาระดับโซนบริการ 3. ระบบการติดตามและควบคุมกำกับการ DOT ยังไม่ครอบคลุม มีการติดตามควบคุมกำกับการ DOT ในระดับจังหวัด อำเภอ และตำบล แผนการดำเนินงาน /กิจกรรมสำคัญ (Essential Task) รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน กำหนดกลุ่มเป้าหมายและแผนการ คัดกรอง ประชุมชี้แจงการดำเนินงานแก่เครือข่ายภาครัฐและเอกชน ติดตามผลการดำเนินงานในพื้นที่และเวที คพสจ. แต่งตั้งและประชุมแพทย์ที่ปรึกษาวัณโรคและนำเสนอผู้ป่วยเสียชีวิตและขาดยา กำหนดช่องทางการให้คำปรึกษาระหว่างทีมแพทย์ภายในโซนบริการ นิเทศติดตามการดำเนินงานวัณโรคในระดับอำเภอและตำบลในเรื่องของ การติดตาม DOT ติดตามผลการดำเนินงานและเร่งรัดการคัดกรองกลุ่มเสี่ยง - สรุปผลการดำเนินงานจัดทำแผนการดำเนินงานต่อไป

15 RDU & AMR สถานการณ์ ไตรมาส 1 ปี 2562 1.ผ่าน RDU ขั้นที่ 1 80% 23 87.5
ประเด็นท้าทายที่ต้องการแก้ไขปัญหา/พัฒนา 1.การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล ใน URI และ AD ในรพ. 2.การวิเคราะห์ความสมเหตุผลของการใช้ยาใน รพ.โดยสหวิชาชีพ สถานการณ์ ไตรมาส 1 ปี 2562 รายการ เป้าหมาย ไตรมาส 1 ผลงาน จำนวน ร้อยละ 1.ผ่าน RDU ขั้นที่ 1 80% 23 87.5 2.ผ่าน RDU ขั้นที่ 2 10% 2 8.34 3.รพศ/รพท. มีระบบการจัดการ AMR อย่างบูรณาการขั้น Intermediate >10% 3 100 เป้าหมายผลลัพธ์ที่ต้องการ 1. RDU ขั้นที่ 1≥ ร้อยละ 95 (24 รพ.) 2. RDU ขั้นที่ 2 ≥ร้อยละ 20 (5 รพ.) 3. ร้อยละ 20 ของรพศ./รพท. มีระบบการ จัดการ AMR อย่างบูรณาการ ระดับปานกลาง (intermediate) เป้าหมายบริการ รพ.ให้บริการโดยใช้ยาสมเหตุผล ลดค่าใช้จ่ายด้านยาที่ไม่จำเป็น ลดการเกิดเชื้อดื้อยา

16 ปัจจัยสำคัญที่จำเป็นในการปิด GAP
1.การกำกับนโยบาย RDU ในระดับโรงพยาบาล - ผู้บริหารให้ความสำคัญ / การติดตามอย่างใกล้ชิด 2.ความตระหนักและเห็นความสำคัญของงาน RDU ของผู้สั่งใช้ยา ATB ทั้งในรพ.และรพ.สต. - ประสิทธิภาพของการวิเคราะห์ข้อมูลและการสะท้อนคืนข้อมูล - การกำหนดแนวทางปฏิบัติ/มาตรการภายใน 3.ความถูกต้องของการวินิจฉัยโรคและการบันทึกข้อมูลของรพ.สต. - การนิเทศ ตรวจสอบการบันทึกข้อมูล รพ.สต. 4.ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะจำเป็นของผู้สั่งยาในรพ.สต. - การอบรมพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ แผนการดำเนินงาน /กิจกรรมสำคัญ (Essential Task) 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน วิเคราะห์ข้อมูลการใช้ยา ATB และสะท้อนข้อมูล : เอกสารสรุปผลงาน data exchange - การสื่อสารนโยบาย การกำกับนโยบาย:ประชุมคพสจ. PTC RDU คพสอ. รพสต. - การพัฒนาศักยภาพผู้สั่งใช้ยา : ประชุม อบรม - กำหนดแนวทาง/มาตรการการกำกับใช้ยา ATB - งานวิจัยเพื่อส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล เช่น DUE ข้อมูล การ re-visit re-admit ของผู้ป่วยที่ไม่ได้รับ ATB กิจกรรมส่งเสริม Health and drug literacy ของประชาชน เช่น สอนคนไข้ส่องกระจกดูคอ ประเมินผล และวางแผนดำเนินการพัฒนา

17 Fast Track STROKE SEPSIS TRAUMA

18 โรคหลอดเลือดสมอง สถานการณ์ ปี 59-61
ประเด็นท้าทายที่ต้องการแก้ไขปัญหา/พัฒนา 1.การประชาสัมพันธ์สัญญาณเตือนโรคหลอด เลือดสมองยังไม่ทั่วถึงทุกพื้นที่ 2.การใช้บริการ ในระบบEMS ยังมีน้อย 3.รพ. ระดับ M ยังไม่มี Stroke corner ให้ ผู้ป่วยบางส่วนไม่ได้รับการดูแลต่อเนื่อง 4.กำลังพัฒนาระบบการส่งต่อผู้ป่วย HHC ระดับจังหวัด 5.ขาดบุคลากร ด้าน OT 6.ผู้ป่วยเข้าถึงบริการน้อย สถานการณ์ ปี 59-61 ร้อยละ เป้าหมายผลลัพธ์ที่ต้องการ ผู้ป่วย STROKE ได้รับการดูแลตามมาตรฐาน ลดอัตราการตายจากโรคหลอดเลือดสมอง

19 ปัจจัยสำคัญที่จำเป็นในการปิด GAP
1.ประชาชนขาดความรู้เรื่องโรคหลอดเลือดสมอง 1.ชุมชนมีส่วนร่วมในการประชาสัมพันธ์ โรคหลอดเลือดสมอง 2.ประชาชนเข้าถึงบริการน้อย 2.ประชาสัมพันธ์การใช้บริการ ในระบบ EMS .ให้กว้างขวาง ผ่านสื่อที่หลากหลาย 3.ศักยภาพของผู้ให้บริการ 3.พัฒนาศักยภาพ รพ. ระดับ M ให้ดูแลผู้ป่วยต่อเนื่องได้ 4.ระบบการส่งต่อ 4.พัฒนาระบบการส่งต่อ (Fast Track) 5.พัฒนาศักยภาพบุคลากร 6.มีงบประมาณเพียงพอต่อการพัฒนา แผนการดำเนินงาน /กิจกรรมสำคัญ (Essential Task) กิจกรรม 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1.มีระบบการส่งต่อผู้ป่วย Stroke fast track 2.ทบทวนการดูแลผู้ป่วย 3.เปิดStroke Unit 4.ให้ความรู้แก่ชุมชน 5.นิเทศติดตาม

20 ผลการดำเนินงาน ไตรมาสแรก ปี 2562
ที่ ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน (ต.ค 61-ธ.ค 61) 1 อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง <7 % 7.09 (36/508) 2 อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบ /อุดตัน < 5 % 3.78 (9/238) 3 อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองแตก < 25 % 15.03 (23/153) 4 ร้อยละผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่มีอาการไม่เกิน 72 ชม. ได้รับการรักษาใน Stroke Unit ≥40% 48.32 (115/238) 5 ร้อยละของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบ /อุดตัน ระยะเฉียบพลันที่มีอาการไม่เกิน 4.5 ชม. ได้รับการรักษาด้วยยาละลายลิ่มเลือดทางหลอดเลือดดำภายใน 60 นาที (door to needle time) ≥ 50% 62.16 (23/37) 6 ร้อยละของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองแตกได้รับการผ่าตัดสมอง ภายใน 90 นาที (door to operation room time) ≥60% 27.28 (12/44) ปัญหา/อุปสรรค 1.ขาดบุคลากรที่มีความรู้และทักษะในการดูแล 2.การ Refer back ยังไม่ได้ตามเป้าหมายเนื่องจากข้อจำกัดด้านบุคลากร 3.ประชาชนส่วนใหญ่ยังไม่รู้จัก Alert sign

21 SEPSIS สถานการณ์ ปี 2561-2562 ประเด็นท้าทายที่ต้องการ แก้ไขปัญหา/พัฒนา
1.จำนวนเตียงเพื่อรองรับ บริการผู้ป่วยวิกฤตไม่ เพียงพอ 2. รพช. ขาดอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องเจาะ blood lactate /เครื่องเจาะ blood Gas สถานการณ์ ปี ข้อมูล เป้าหมาย ผลงาน 61 ผลงาน 62 1. จำนวนผู้ป่วย sepsis (n) 1,756  ราย 254 2. จำนวน septic shock (n)  827 ราย 157 3. ร้อยละ H/C ก่อน ABO > 90 % 93.69 (2420/2583) 94.64 (389/411) 4. Pt. ได้ IV >1,000 ml (n) 67.13 (1,734/2583) 59.8 (246/411) 5. ผู้ป่วยได้รับ ABO ใน 1 ชม. 96.12 (2,483/2583) 93.43 (384/411) 4. ผู้ป่วยเข้า ICU ใน 3 ชม. > 30 % 63.36 (524/827) 66.87 (105/254) 5. อัตราการตาย Sepsis < 30 % 15.56 (402/2,583) 17.27 (71/411) เป้าหมายผลลัพธ์ที่ต้องการ ผู้ป่วย SEPSIS เข้าถึง บริการได้รวดเร็วและ ได้รับ การดูแลตามมาตรฐาน ลดอัตราการตายจาก SEPSIS

22 ปัจจัยสำคัญที่จำเป็นในการปิด GAP
1.ในโรงพยาบาลชุมชนบางแห่งยังไม่มีอายุรแพทย์/พยาบาลในการดูแลผู้ป่วยหนัก -เพิ่มจำนวนอายุรแพทย์ในรพช.ระดับM1 ให้ครบ เพิ่มศักยภาพให้กับบุคลากรที่ให้การดูแลผู้ป่วย - เพิ่มจำนวนเตียงในICU 2. ขาดชุดในการตรวจหา Lactateในผู้ป่วยที่มาด้วยกลุ่มอาการที่ติดเชื้อในกระแสเลือด ครบทุกโรงพยาบาล -จัดหาเครื่องมือให้ครบถ้วน 3. การบันทึกข้อมูลในโปรแกรม Sep net 1 ล่าช้า ไม่ครอบคลุมและการบันทึกข้อมูลไม่ถูกต้อง -เพิ่มการสื่อสารระหว่าง case manager ทุกแห่ง แผนการดำเนินงาน /กิจกรรมสำคัญ (Essential Task) กิจกรรม 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1. พัฒนา SEPSIS case manager รพ.ทุกแห่ง 2. พัฒนา Rapid Response Team 3. นิเทศติดตาม

23 อุบัติเหตุและฉุกเฉิน
ประเด็นท้าทายที่ต้องการแก้ไขปัญหา/พัฒนา สถานการณ์ ปี 59-61 ระยะเวลาการให้บริการในห้องฉุกเฉินนาน ทำให้เกิด ER Clouding ใน รพศ. อัตราเสียชีวิตผู้เจ็บป่วยวิกฤติฉุกเฉิน ภายใน 24 ชั่วโมง ใน รพท. จำนวนผู้รับบริการห้องฉุกเฉิน ใน รพศ.เพิ่มมากขึ้น เป็นผู้ป่วยที่มีความรุนแรงและซับซ้อนของโรค ต้องการการเข้าถึงบริการ definite care อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉิน (Triage level 1) ภายใน 24 ชม. ในรพ.AและM1 ปี 2562 (Q1)

24 อุบัติเหตุและฉุกเฉิน
สถานการณ์ ปี 62 ผลการประเมิน TEA Unit คุณภาพ ในรพ.ระดับ A ,M1 อัตราของผู้ป่วย Triage level 1,2 อยู่ในห้องฉุกเฉิน < 2 ชั่วโมงในรพ.ระดับ A , S ,M1 รพ.นครพิงค์ = 27 คะแนน รพ.ฝาง = 22 คะแนน รพ.จอมทอง = 19 คะแนน ระดับคะแนน ต้องพัฒนา (5-16) กำลังพัฒนา (20-24) สูงกว่ามาตรฐาน(25-31) ดีเยี่ยม (32-40) เป้าหมาย > ร้อยละ 60

25 ปัจจัยสำคัญที่จำเป็นในการปิด GAP
ขาดระบบการจัดการผู้ป่วยบาดเจ็บอุบัติเหตุและฉุกเฉินที่บูรณาการ ให้คลอบคลุมตั้งแต่ระบบPrevention, Pre hospital, ER care, In hospital care, Re habilitation, Palliative care, Home Health care, Community health care, Interfaculty transfer อย่างมีประสิทธิภาพ -พัฒนา TEA unit ให้มีประสิทธิภาพ ให้มีโครงสร้างชัดเจนเกิด Functional ในการขับเคลื่อนตั้งแต่การวิเคราะห์สถานการณ์ การสะท้อนปัญหาให้ผู้บริหารทุกระดับเพื่อตัดสินใจได้ทันสถานการณ์ ในแต่ละวัน และส่งต่อข้อมูลระหว่างหน่วยงาน เพื่อประเมินสถานการณ์ให้สามารถแก้ไขปัญหาร่วมกัน ขาดระบบบริหารจัดการ ตั้งแต่การรับผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉิน จนถึงการ Admit อย่างเต็มประสิทธิภาพ ทำให้ เกิด ER Clouding ใน รพศ. รพท -พัฒนาการบริหารจัดการเตียงของผู้ป่วยใน / เตียง 5 สี ให้ส่งต่อผู้ป่วยกลับ (Refer Back) ให้เร็วขึ้น ขาดความต่อเนื่องในการควบคุม กำกับติดตาม และขาดความชัดเจนในเป้าหมายการทำงาน ร่วมกันระหว่างหน่วยบริการ -กำหนดแผนติดตาม ควบคุมกำกับโดยผู้บริหารระดับสูง อย่างต่อเนื่อง

26 ชี้แจงตัวชี้วัดและจัดทำแผนพัฒนา √
แผนการดำเนินงาน กิจกรรม 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน ชี้แจงตัวชี้วัดและจัดทำแผนพัฒนา จัดประชุมผู้รับผิดชอบเพื่อติดตามงาน นิเทศกำกับการดำเนินงาน สรุปผลการดำเนินการและเตรียมทำแผนงานในปีต่อไป

27 ยาเสพติด เป้าหมาย / ผลงาน สถานการณ์ ตัวชี้วัด : 35.33 ชนิด
ร้อยละของผู้ติดยาเสพติดที่บำบัดครบตามเกณฑ์ที่ กำหนดของแต่ละระบบและได้รับการติดตามดูแล ต่อเนื่อง 1 ปี เป้าหมาย มากกว่า ร้อยละ 20 ร้อยละของผู้ใช้ ผู้เสพที่บำบัดครบตามเกณฑ์ที่ กำหนดของแต่ละระบบหยุดเสพต่อเนื่องหลังจำหน่าย จากการบำบัด 3 เดือน เป้าหมาย มากกว่า ร้อยละ 40 สถานการณ์ ชนิด สาร เสพติด จังหวัดเชียงใหม่มีผู้เข้ารับการบำบัดฟื้นฟู ยาเสพติด จำนวน 9,474 คน ซึ่งมากเป็นอันดับ 3 ของประเทศ และพบมีการเสพเฮโรอีนและฝิ่นค่อนข้างสูง (ร้อยละ 36) และมีแนวโน้มที่เพิ่มสูงขึ้น ตลอด 7 ปีที่ผ่านมา ลำดับ สมัครใจ บังคับบำบัด ต้องโทษ รวม จังหวัด จำนวน 1 สงขลา 5,980 กรุงเทพฯ 8,959 2,635 14,416 2 ปทุมธานี 5,580 อุบลราชธานี 4,819 1,337 10,636 3 เชียงใหม่ 5,236 3,251 1,310 9,474 4 อุดรธานี 4,525 ชลบุรี 2,742 นครราชสีมา 1,371 7,786 5 4,147 ขอนแก่น 2,610 987 7,322 เป้าหมาย / ผลงาน ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน (ร้อยละ) อัตราการบำบัดครบตามเกณฑ์ที่กำหนดของแต่ละระบบและได้รับการติดตามดูแลต่อเนื่อง 1 ปี > ร้อยละ 20 45.63 อัตราการหยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษา > ร้อยละ 40 35.33

28 การรับรองคุณภาพสถานพยาบาลยาเสพติด (HA ยาเสพติด)
การประเมิน จำนวน ร้อยละ ผ่านการรับรอง 14 58.3 รอผลการพิจารณา (Re-accredition) 1 4.2 หมดอายุรอการประเมิน 9 37.5 รวม 24 100

29 การรับรองคุณภาพสถานพยาบาลยาเสพติด (HA ยาเสพติด)
ลำดับ โรงพยาบาล สถานะปัจจุบัน 1 แม่แตง ผ่านการรับรองคุณภาพฯ (มี.ค.62) 2 จอมทอง ผ่านการรับรองคุณภาพฯ (เม.ย.62) 3 สันทราย ผ่านการรับรองคุณภาพฯ (พ.ค.62) 4 เชียงดาว ผ่านการรับรองคุณภาพฯ (ก.พ.63) 5 หางดง ผ่านการรับรองคุณภาพฯ (เม.ย.63) 6 แม่อาย 7 ดอยสะเก็ด ผ่านการรับรองคุณภาพฯ (มิ.ย.63) 8 แม่วาง 9 เทพรัตนฯ 10 ดอยเต่า 11 ไชยปราการ ผ่านการรับรองคุณภาพฯ (พ.ค.63) 12 เวียงแหง ผ่านการรับรองคุณภาพฯ (ม.ค.64) ลำดับ โรงพยาบาล สถานะปัจจุบัน 13 วัดจันทร์ ผ่านการรับรองคุณภาพฯ (มิ.ย.64) 14 ฝาง ผ่านการรับรองคุณภาพฯ (ก.พ.64) 15 นครพิงค์ รอผลการพิจารณา 16 พร้าว หมดอายุ ธ.ค. 2561 17 สันป่าตอง 18 สันกำแพง 19 แม่ออน 20 สะเมิง 21 ฮอด หมดอายุ ปี 2559 22 อมก๋อย 23 สารภี หมดอายุ ปี 2558 24 ดอยหล่อ ให้รพ.ส่งแบบประเมินตนเอง ก่อนวันที่ 28 ก.พ. 2562

30 ปัจจัยสำคัญที่จำเป็นในการปิด GAP
1.ปี 2562 มีโรงพยาบาล 9 แห่ง ที่ใบรับรองคุณภาพการบำบัดรักษายาเสพติด (HA ยาเสพติด) หมดอายุ สนับสนุนและผลักดัน ให้โรงพยาบาลทั้ง 9 แห่งจัดทำและส่ง แบบประเมินตนเอง เพื่อใบรับรองคุณภาพการบำบัดรักษายาเสพติด (HA ยาเสพติด) 2. มีหน่วยบริการที่สามารถจัดบริการบำบัดโดยใช้สารทดแทนเฮโรอีน/ฝิ่น จำนวน 12 อำเภอ โดยอำเภอสะเมิง และอำเภอฮอด มีอุบัติการณ์ผู้เสพฝิ่น/เฮโรอีน แต่ยังไม่มีบริการบำบัดโดยใช้สารทดแทน สนับสนุนและผลักดัน ให้ รพ.สะเมิง และ รพ.ฮอด จัดบริการบำบัดโดยใช้สารทดแทนเฮโรอีน/ฝิ่น (ปัจจุบัน รพ.ฮอด เริ่มดำเนินการแล้ว) 3.การบำบัดโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง (CBTx) ต้องอาศัยความเข้มแข็งและความพร้อมของชุมชน และยังไม่มีมาตรฐานกลางที่ชัดเจน ความร่วมมือระหว่าง หน่วยงาน องค์กร ที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะ ปกครอง ท้องถิ่น ผู้นำชุมชน และกำหนดบาทที่ชัดเจน แผนการดำเนินงาน /กิจกรรมสำคัญ (Essential Task) 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน มีแนวทางการดำเนินงาน CBTx มีการบำบัดยาเสพติดโดยชุมชนมีส่วนร่วม ร้อยละ 80 ของสถานพยาบาล/สถานฟื้นฟู คงสภาพการรับรอง HA ยาเสพติด (ได้รับการตรวจเยี่ยม) ร้อยละ 40 ของผู้ใช้ ผู้เสพ ที่บำบัดครบตามเกณฑ์ สามารถหยุดเสพต่อเนื่องหลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษา 3 เดือน ร้อยละ 75 ของสถานพยาบาล/สถานฟื้นฟู คงสภาพการรับรอง HA ยาเสพติด (ส่งแบบประเมินตนเอง) รพ.ฮอด และ รพ.สะเมิง จัดบริการบำบัดโดยใช้สารทดแทนเฮโรอีน/ฝิ่น ร้อยละ 20 ของผู้ติดยาเสพติด ที่บำบัดครบตามเกณฑ์ ได้รับการติดตามดูแลต่อเนื่อง 1 ปี

31 อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ(ต่อแสนประชากร)
สุขภาพจิตและจิตเวช สถานการณ์ อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ(ต่อแสนประชากร) เป้าหมายผลลัพธ์ปี 2562 1.อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จลดลงเป้าหมายไม่ เกิน 6.3 ต่อแสนประชากร หรือลดลงร้อยละ 5 จากปีที่ผ่านมา 2.การเข้าถึงบริการโรคซึมเศร้ามากกว่า ร้อยละ 63 ร้อยละการเข้าถึงบริการโรคซึมเศร้า

32 ปัจจัยสำคัญที่จำเป็นในการปิด GAP
1.การคัดกรองภาวะซึมเศร้าในกลุ่มเรื้อรัง , กลุ่มผู้ป่วยจิตเวช , กลุ่มเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย และกลุ่ม SMI ยังไม่ครอบคลุม มีการจัดส่งรายงานการคัดกรอง 2Q9Q8Q และส่งต่อรักษาภาวะซึมเศร้าจำแนกตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายคัดกรอง 2Q9Q8Q ร้อยละ 80 2.กลุ่มเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายกลุ่มผู้ป่วยจิตเวชทั่วไปและกลุ่มSMI ได้รับการเยี่ยมบ้านไม่ครอบคลุม มีการเยี่ยมบ้านกลุ่มเป้าหมายตามแผนงานที่กำหนด ผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมายที่ต้องได้รับการเยี่ยมบ้านได้รับการเยี่ยมบ้าน ร้อยละ 80 3.การจัดระบบส่งต่อ , การออกตรวจเครือข่ายจิตแพทย์ , การเพิ่มพูนทักษะแพทย์และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง กลุ่มที่มีภาวะซึมเศร้าได้รับการส่งต่อ เข้าถึงบริการ ตามแนวทาง และมีคำสั่งคณะกรรมการครบถ้วนทั้งจังหวัดเชียงใหม่และพร้อมในการปฏิบัติงานวิกฤตสุขภาพจิต

33 กิจกรรม 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน
แผนการดำเนินงาน /กิจกรรมสำคัญ (Essential Task) กิจกรรม 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1. การคัดกรองภาวะซึมเศร้าในกลุ่มเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย ได้รับการคัดกรองภาวะซึมเศร้า ทุก3เดือนและบันทึกในแฟ้มฐานข้อมูล 43 แฟ้ม มีข้อมูลวิเคราะห์สภาพ ปัญหาผลการ ดำเนินงานคัดกรองในปี ที่ผ่านมาจำแนกตาม กลุ่มเป้าหมาย มีระบบการประสานงานการคัดกรอง 2Q9Q8Q ในกลุ่มเสี่ยงแต่ละแผนกต่างๆในรพ. กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรอง2Q9Q8Qโดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองตามแนวทางที่กำหนด กลุ่มเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย คัดกรอง2Q9Q8Q ร้อยละ 80 2.จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยจิตเวชต่อเนื่องในชุมชน มีการชี้แจงนโยบายการ ทำงาน สุขภาพจิตปี 2562 มีการทบทวนการจัดระบบการส่งต่อ และมีการออกตรวจจิตเวชให้กับเครือข่าย รพช. มีการจัดระบบการส่งต่อฯ ปี2562 และมีการออกตรวจจิตเวชให้กับเครือข่าย รพช. มีระบบการให้บริการงานสุขภาพจิตตามมาตรฐาน มีคำสั่งคณะกรรมการครบถ้วนทั้งจังหวัด 3.นิเทศ กำกับ ติดตามร่วมกับทีม สสจ. และศูนย์วิชาการ การประเมินมาตรฐานคลินิกสุขภาพจิต มีการแก้ไขปัญหาคุณภาพระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช รพ.ผ่านเกณฑ์คุณภาพระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช

34 ปัญหา/อุปสรรค การคัดกรองในคลินิกบางหน่วยบริการยังไม่ครบทุกคลินิก
การเยี่ยมบ้านยังไม่ครอบคลุมกลุ่มเสี่ยง ระบบข้อมูล ข้อมูลการคัดกรอง2Q9Q8Q ในระบบ HDC และการเยี่ยมบ้าน ระบบการส่งต่อผู้ป่วยจิตเวช

35 โรคไต ประเด็นท้าทายที่ต้องการแก้ไขปัญหา/พัฒนา
1.อัตรากำลังของบุคลากรไม่เพียงพอทุก สหสาขาวิชาชีพ 2.การค้นหาและคัดกรองโรคไตเรื้อรังในกลุ่ม เสี่ยงได้น้อย 3.อัตราการลดลงของ eGFR < 4 ml/min/1.73m2/yr < เป้าหมาย 4.การตรวจ serum creatinine ใช้วิธี enzymatic method 100 % 5.การบันทึกข้อมูลระบบฐานข้อมูล 43 แฟ้มให้ ถูกต้องครบถ้วน 6.การประเมินคลินิกชะลอไตเสื่อมให้ผ่าน เกณฑ์มาตรฐาน 7.การเข้าถึงบริการด้านการบำบัดทดแทนไต สถานการณ์ ผู้ป่วยปี จำนวน 18,202 คน มีกลุ่มผู้ป่วย st.3-4 ที่ต้องได้รับการตรวจ Cr. โดยมีผล eGFR > 2 และควรมีค่าเฉลี่ยการเปลี่ยนแปลง ของ eGFR < 4ml/min/1.73 m2/yr รวม 10,709 คน (59%) เป้าหมายผลลัพธ์ที่ต้องการ ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR < 4 ml/min/1.73 m2/yr เป้าหมาย > ร้อยละ 66

36 ปัจจัยสำคัญที่จำเป็นในการปิด GAP
1.ไม่ได้กำหนดระยะเวลาคัดกรองกลุ่มเสี่ยง กำหนดกรอบระยะเวลาในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงให้ชัดเจน 2. การตรวจ Lab ไม่ครบตามข้อกำหนด สนับสนุนให้ทุก โรงพยาบาลทำการตรวจ Lab ให้ครบตามข้อกำหนด 3.ขาดระบบติดตามการลงข้อมูล 43 แฟ้มให้ต่อเนื่อง กระตุ้นให้ผู้รับผิดชอบ บันทึกข้อมูล 43 แฟ้มอย่างต่อเนื่องให้ครบถ้วนและถูกต้อง 4. ไม่ได้ใช้วิธีการตรวจ serum creatinine enzymatic ทั้งหมด เสนอให้ จัดซื้ออุปกรณ์ใการตรวจ serum creatinine โดยวิธี enzymatic method ในภาพรวมของประเทศ 5.ขาดการประเมิน CKD คลินิก จัดทำแผนการประเมิน CKD Clinic ร่วมกับ NCD Clinic 6.การเข้าถึงบริการด้านการบำบัดทดแทนไต จัดระบบการทำงานร่วมกันของ งาน NCD Clinic และ Palliative care 7. ขาดบุคลากรทีมสหสาขาวิชาชีพและขาดศัลยแพทย์ในการวางสาย Tenckhoff สรรหาบุคลากรจากทีมสหสาขาวิชาชีพให้เพียงพอ / ส่งผู้ป่วยไปวางสาย Tenckhoff ที่โรงพยาบาลในเครือข่าย

37 โรคไต 1. กำหนดกรอบ ระยะเวลาในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยง √
แผนการดำเนินงาน /กิจกรรมสำคัญ (Essential Task) กิจกรรม 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1. กำหนดกรอบ ระยะเวลาในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยง 2.สนับสนุนให้พื้นที่ ติดตามการบันทึกข้อมูลให้ครบถ้วนและถูกต้อง 3.ประสานงานร่วมกับงาน NCD Clinic เรื่องการคัดกรอง การประเมิน CKD Clinic และงาน Palliative care เรื่องการดูแลผู้ป่วยที่ไม่เลือกการบำบัดทดแทนไ 4.ประสานงานโรงพยาบาลในเครือข่ายเพื่อรับผู้ป่วยมาวางสาย Tenckhoff 5.ติดตามผลการดำเนินงาน

38 โรคไต ผลการดำเนินงานไตรมาสแรก ปี 2562 ระดับ
ร้อยละของผู้ป่วย DM, HT ที่ได้รับการค้นหา และคัดกรองโรคไตเรื้อรัง (เป้าหมาย: ≥80% เมื่อสิ้นสุดปีงบฯ 2562) ผู้ป่วยโรคเบาหวานและหรือ โรคความดันโลหิตสูง ที่ยังไม่มีภาวะแทรกซ้อน ทางไตในเขตรับผิดชอบ (B) ผู้ป่วยโรคเบาหวานและหรือโรคความดันโลหิตสูง ที่ยังไม่มีภาวะแทรกซ้อนทางไตในเขตรับผิดชอบ ที่ได้รับการตรวจคัดกรอง (A) ร้อยละของผู้ป่วย DM, HT ที่ได้รับการค้นหาและคัด กรอง โรคไตเรื้อรัง ≥ 80% (Ax100/B) ประเทศ 5,427,454 1,428,309 27.31 เขตสุขภาพที่ 1 666,955 119,035 17.85 จังหวัดเชียงใหม่ 197,189 28,687 14.55

39 โรคไต ผลการดำเนินงานไตรมาสแรก ปี 2562 ปัญหา/อุปสรรค ประเทศ 40,695
ระดับ ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR<4 ml/min/1.73 m2/yr (เป้าหมาย: ≥ 66% เมื่อสิ้นสุดปีงบฯ 2562) จำนวนผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 3-4 จำนวนผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 3-4 ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR< 4 ml/min/1.73 m2/yr ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR<4 ml/min/1.73 m2/yr ≥ 66% ประเทศ 40,695 24,476 60.14 เขตสุขภาพที่ 1 3,717 2,242 60.32 จังหวัดเชียงใหม่ 797 445 55.83 ปัญหา/อุปสรรค 1.วิธีการตรวจ serum creatinine ใช้การตรวจ 2 วิธี ซึ่งอาจทำให้ผลที่ได้คลาดเคลื่อน 2.ผู้ป่วยและญาติมีการเปลี่ยนแปลงการรักษาในระยะสุดท้ายของชีวิต

40 One Day Surgery สถานการณ์
ประเด็นท้าทายที่ต้องการแก้ไขปัญหา/ พัฒนา การสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้ป่วยและสนใจ เข้าร่วมโครงการผ่าตัดแบบวันเดียวกลับ รายการ A B ร้อยละ 1. Esophageal varices 46 100 2. Esophageal stricture 4 3. Colorectal polyp 5 4. Inguinal Hernia 2 50.0 5 Hemorrhoid 3 66.7 รวม 59 62 95.1 เป้าหมายผลลัพธ์ที่ต้องการ ร้อยละของผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดแบบ One Day surgery (เป้าหมาย >15%) A = จำนวนผู้ป่วยทั้งหมดที่ได้รับการผ่าตัด ODS B = จำนวนผู้ป่วยที่เข้าเงื่อนไขในการเข้ารับการผ่าตัดแบบ ODS ด้วยโรคที่กำหนด

41 ODS GAP ที่ค้นพบ ปัจจัยสำคัญที่จำเป็นในการปิด GAP 1. Surgeon/
Endoscopist performance 1.ฝึกอบรมเพิ่มศักยภาพ, วางแผน เพิ่ม อัตรากำลัง, ใช้ทรัพยากรร่วมกัน 2. การคัดเลือกผู้ป่วยเข้าโครงการ 2.เน้นความปลอดภัย - Patient factors - Environmental factors แผนการดำเนินงาน /กิจกรรมสำคัญ (Essential Task) กิจกรรม 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1.กำหนดให้มี Sub board MIS ฝึกอบรมให้ ศัลยแพทย์ที่หน้างาน

42 ODS ผลการดำเนินงานไตรมาสแรก ปี 2562 ปัญหา/อุปสรรค ประเภทการผ่าตัด A*
B** ร้อยละ 1. Esophageal varices 32 100 2. Esophageal stricture 1 3. Colorectal polyp 3 4. Inguinal Hernia 5 Hemorrhoid รวม 37 * A = จำนวนผู้ป่วยทั้งหมดที่ได้รับการผ่าตัด ODS **B = จำนวนผู้ป่วยที่เข้าเงื่อนไขในการเข้ารับการผ่าตัดแบบ ODS ด้วยโรคที่กำหนด ปัญหา/อุปสรรค 1. surgeon ให้ความร่วมมือน้อยในการส่งผู้ป่วยเข้ารับการผ่าตัด ODS 2. ผู้ป่วยไม่ต้องการ/ยังไม่เชื่อมั่นในการผ่าตัดแบบวันเดียวกลับ จึงสมัครใจเข้าร่วมน้อย

43 การรับบริจาคและปลูกถ่ายอวัยวะ
ประเด็นท้าทายที่ต้องการแก้ไขปัญหา/ พัฒนา 1. มีการค้นหาผู้ป่วยสมองตายภายใน โรงพยาบาลเพิ่มขึ้น 2.มีการเจรจาขอรับบริจาคอวัยวะและ ดวงตาในโรงพยาบาลเพิ่มขึ้น สถานการณ์ ปี ประเภท เป้าหมาย ได้รับบริจาค : 100 การตาย หมายเหตุ 60 อวัยวะ 1 :100 4 (เก็บได้จริง 1 ราย) 0.25:100 ได้ไต 2 ข้าง ดวงตา 5 :100 (เก็บได้ 2 ราย) ดวงตา 4 61 0.7 :100 1 0.06:100 ไต 2 ข้าง 1.2 :100 ดวงตา 2 62 0.8:100 ยังไม่ได้รับบริจาค 1.2:100 เป้าหมายผลลัพธ์ที่ต้องการ 1.อัตราส่วนของจำนวนผู้บริจาคอวัยวะจากผู้ป่วยสมองตาย : จำนวน ผู้ป่วยเสียชีวิตในโรงพยาบาล ≥ 0.8:100 2.อัตราส่วนของผู้ยินยอมบริจาคดวงตา : ผู้ป่วยเสียชีวิตในโรงพยาบาล ≥ 1.3:100

44 ปัจจัยสำคัญที่จำเป็นในการปิด GAP
1. ขาดระบบในการค้นหา Potential donor ภายในโรงพยาบาล 1.กำหนดผู้รับผิดชอบค้นหา potential donor ในหอผู้ป่วยที่น่าจะมี potential donor ในโรงพยาบาล 2.มีการรายงานผู้ป่วยที่สามารถเป็น potential donor รายวัน แผนการดำเนินงาน /กิจกรรมสำคัญ (Essential Task) กิจกรรม 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1. จัดตั้งคณะกรรมการระดับโรงพยาบาล ร่วมประชุม วางแผนการดำเนินงาน ติดตามและพัฒนางาน โดยมีเป้าหมายในการเพิ่ม potential donor 2. จัดตั้งทีม TC. Nurse เพื่อกำหนดแนวทางร่วมกันในการค้นหา การเจรจา การเก็บข้อมูลของ potential donor ปัญหา/อุปสรรค ขาดการสนับสนุนในเรื่องการประชาสัมพันธ์ เรื่องการปรับเปลี่ยนทัศนคติในองค์กรและชุมชนต่อการบริจาคอวัยวะ และการเพิ่มจำนวนผู้ถือDonor cardและจำนวนการบริจาคอวัยวะ

45 การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยนอกที่ได้รับบริการด้านการแพทย์ แผนไทย > ร้อยละ 18.5 สถานการณ์การเข้าถึงบริการการแพทย์แผนไทยฯ ของผู้ป่วยนอก ปีงบประมาณ ประเด็นท้าทายที่ต้องการแก้ไขปัญหา/พัฒนา ผู้รับบริการได้รับการตรวจวินิจฉัยและการรักษาด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยทุกรายที่เข้ารับบริการในคลินิกแพทย์แผนไทยฯ ที่มีแพทย์ แผนไทยปฏิบัติงานประจำ การบันทึกเวชระเบียนของแพทย์แผนไทย ที่เป็นมาตรฐานเดียวกันของจังหวัดเชียงใหม่ การปรุงยาเฉพาะราย ในหน่วยบริการนำร่อง การสร้างงานวิจัย R2R และนวัตกรรม ด้านการแพทย์แผนไทย ที่มา – HDC ณ วันที่ 11 มกราคม 2562 เป้าหมายผลลัพธ์ที่ต้องการ หน่วยบริการทุกแห่งผ่านเกณฑ์มาตรฐานของ รพ.สส.พท. ระดับดีมาก ทีมสหวิชาชีพมีทิศทาง และแนวทางการปฏิบัติงานกับงานการแพทย์แผนไทยที่มีมาตรฐานเดียวกัน มีงานวิจัย R2R และนวัตกรรม ด้านการแพทย์แผนไทย ประชาชนพึ่งตนเองได้ด้วยการใช้ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน

46 GAP ที่ค้นพบ ปัจจัยสำคัญที่จำเป็นในการปิด GAP แพทย์แผนไทยขาดความเชื่อมั่นในการตรวจวินิจฉัย บุคลากรสาธารณสุขยังขาดความเชื่อมั่นในแพทย์แผนไทย ขาดการประชาสัมพันธ์งานเชิงรุก คุณภาพข้อมูลบริการ และข้อมูลที่ใช้ในการวางแผนพัฒนางาน พัฒนามาตรฐานของระบบบริการ พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านวิชาการ หน่วยงานประจำสนับสนุนทรัพยากรในการพัฒนาระบบบริการและงานวิชาการด้านการแพทย์แผนไทย(งานวิจัย R2R นวตกรรม) การแนะนำเบื้องต้นแก่แพทย์แผนไทยและแพทย์แผนปัจจุบันที่จะเริ่มปฏิบัติงานให้มีความรู้ ความเข้าใจนโยบาย ทิศทาง และแนวทางการปฏิบัติงานด้านการแพทย์แผนไทย สร้างกลไกการทำงานด้านการอนุรักษ์ คุ้มครอง และการส่งเสริมการใช้ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน

47 แผนการดำเนินงาน /กิจกรรมสำคัญ (Essential Task)
ช่วง สร้างกลไกการมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพบริการงานการแพทย์แผนไทย พัฒนาศักยภาพแพทย์แผนไทยในการวางยารักษาผู้ป่วย สนับสนุนการจัดระบบบริการด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกให้ครอบคลุมพื้นที่หน่วยบริการ 3 เดือน 1. พัฒนาการจัดบริการด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกครบวงจร (CUPสันกำแพง) 2. พัฒนาการปรุงยาเฉพาะราย ในหน่วยบริการ (รพ.นครพิงค์ และ รพ.แม่แตง) 3. ทบทวนและฟื้นฟูภูมิปัญญาหมอพื้นบ้าน หมอชนเผ่า เครือข่ายภูมิปัญญาพื้นบ้าน 6 เดือน มีกลไกการติดตามการพัฒนาคุณภาพการทำงานตามบทบาทของวิชาชีพแพทย์แผนไทย อย่างมีส่วนร่วม สนับสนุนให้ รพศ.,รพท.,รพช. เข้าร่วมโครงการรับรองคุณภาพมาตรฐานงานแพทย์แผนไทย(Hospital Accreditation: TTM HA) ร้อยละ 50 และประเมินตนเองทุกแห่ง 9 เดือน 1.มีการให้บริการผู้ป่วยนอกได้รับบริการการตรวจ วินิจฉัย รักษาโรค และฟื้นฟูสภาพด้วยศาสตร์ การแพทย์แผนไทยและ การแพทย์ทางเลือก ร้อยละ 18.5 2.มีการรักษาโรคเรื้อรังที่ไม่ร้ายแรงเพิ่มขึ้น 3.ส่งเสริมให้มีการสั่งใช้ยาสมุนไพร โดยมีจำนวนรายการยาสมุนไพรมากกว่าร้อยละ 2 4.มีระบบการบันทึกเวชระเบียนของแพทย์แผนไทย ที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน 5.มีหลักสูตรกลางของจังหวัดเชียงใหม่สำหรับหมอไทยน้อยในสถานศึกษา 12 เดือน

48 ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอ การสนับสนุนการปรุงยาเฉพาะรายของแพทย์แผนไทยในหน่วยบริการ แพทย์แผนไทยขาดความเชื่อมั่นในการตรวจวินิจฉัย ควรมีการประเมินผลการปฏิบัติงานในบทบาทหน้าที่ของแพทย์แผนไทยประกอบการพิจารณาผลงานประจำปีเพื่อกระตุ้นให้แพทย์แผนไทยแสดงศักยภาพด้านการตรวจรักษา ควรพิจารณาปรับตัวชี้วัดสำคัญทางการแพทย์แผนไทย ให้เหมาะสมกับระดับการให้บริการ และเพื่อการพัฒนา เช่น ตัวชี้วัดด้านการให้บริการครบวงจร ตัวชี้วัดด้านตัวยาปรุงเฉพาะราย ตัวชี้วัดด้านการใช้ยาทดแทนยาแผนปัจจุบันฯ จัดวาระแห่งชาติให้เกิดประเด็นอาหารเป็นยา เป็นวาระสำคัญของการส่งเสริมสุขภาวะและสุขภาพของประชาชน

49 สาขาโรคหัวใจ สถานการณ์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2559 2560 2561 2562 Q1
อัตราตาย STEMI <10% <10% 8.2% 7.7% 9.8% 6.3% (4/63) อัตราการเปิดหลอดเลือดด้วยSK+ PCI >80% >80% 82% 89.2% 83.3% 95.2% (60/63) อัตรา Door to needle time < 30 นาที >50% 14.2% 20.3% 12.5% 100% อัตราการDoor to balloon time /PPCI time<90 นาที 48.9% 62.0% 53.3% 54.3% (19/35) ระยะเวลารอคอยผ่าตัดหัวใจ < 3 เดือน 1 เดือน

50 สาขาโรคหัวใจ ประเด็นท้าทายที่ต้องการแก้ไขปัญหา/ พัฒนา
การเข้าถึงบริการของผู้ป่วยล่าช้า อัตราตายผู้ป่วยSTEMI/ NSTEMI อยู่ ในระดับสูง การคัดกรองป้องกันกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจใน ชุมชนยังไม่ครอบคลุม ขาดทรัพยากร เช่นเครื่องมืออุปกรณ์ทาง การแพทย์ที่สำคัญในการดูแลรักษาผู้ป่วย บุคลากรมีศักยภาพ ความรู้ และทักษะใน การดูแลรักษาผู้ป่วยไม่เพียงพอ การจัดการฐานข้อมูลของผู้ป่วยโรคหัวใจไม่ ครบถ้วน ไม่ครอบคลุม ไม่ต่อเนื่อง เป้าหมายผลลัพธ์ที่ต้องการ เพิ่มการเข้าถึงบริการ โดยมีอัตรา DTN < 30 min > 50% , DTPCI < 90 min > 50% ลดอัตราตายในโรงพยาบาลของผู้ป่วย STEMI < 8% มีกิจกรรมการป้องกันในเชิงรุกในชุมชน จัดสรรทรัพยากรให้เพียงพอเหมาะสมให้แต่ละรพ. พัฒนาศักยภาพบุคลากรทุกระดับในการดูแล ผู้ป่วยโรคหัวใจ จัดการฐานข้อมูลที่เป็นฐานเดียวกัน และ เข้าถึงได้ ง่าย และต่อเนื่องกันในระบบ

51 GAP ปัจจัยสำคัญที่ จำเป็นในการปิด GAP
1.ระบบการปรึกษา และระบบ Fast Track ยังขาดเสถียรภาพ 1.ปรับปรุงระบบการ Consult ผู้ป่วย STEMI จาก Line NKP เป็น add line CCU NKP fast track เพื่อเป็นการปกป้องข้อมูลสิทธิผู้ป่วย ส่วน NSTEMI โดยใช้ application ecardio ให้ใช้ทั่วถึงทุก รพ. มี Cardiologist รับconsult ตลอด 24 ชั่วโมง 2.การดำเนินการเชิงรุกในการป้องกันโรคหัวใจ ยัง ขาดงบประมาณสนับสนุนในการดำเนินงานเกี่ยวกับ การสร้างสื่อ media งบการดำเนินงานชุมชนต้นแบบรักษ์หัวใจ 2. จัดสรรงบประมาณในการดำเนินงานให้เพียงพอ เช่นการคัดกรองกลุ่มเสี่ยง และทำ Mapping แต่ละพื้นที่ การจัดตั้งชุมชนรักษ์หัวใจ 3.จำนวนเตียง CCU ไม่เพียงพอที่จะรองรับผู้ป่วยที่เข้ามารับการรักษาที่ส่งต่อมาจากรพช. และรองรับผู้ป่วยหลังทำ PCI 3.ขยายหอผู้ป่วย CCU2 อีก 8 เตียง 4.ระยะทางจาก รพช.มายัง รพ.แม่ข่าย ห่างไกล

52 แผนการดำเนินงาน /กิจกรรมสำคัญ (Essential Task)
3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1.พัฒนาความรู้ของแพทย์ และพยาบาล เกี่ยวกับ ACS และการอ่านแปลผล EKG วันที่ 5 – 6 มีนาคม 2562 2.กิจกรรมเชิงรุกในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในชุมชน 3.จัดทำสื่อป้องกันการเกิดโรคหัวใจ STEMI Alert ข้อเสนอแนะ 1. การให้ยา SK มีความยุ่งยาก มีภาวะแทรกซ้อน ควรเปลี่ยนเป็นยา Tenecteplace เป็นการ Bolus จะง่าย และสะดวกในการใช้ในรพช. 2. จัดหาเครื่องตรวจสวนหัวใจแบบ Biplane เพื่อการดูแลรักษาผู้ป่วยที่ซับซ้อน และ ขยายหอผู้ป่วย CCU 2 อีก 8 เตียง 3. จัดสรรงบประมาณและสถานศึกษารองรับการส่งพยาบาลเข้าอบรมการพยาบาลเฉพาะทางสาขาหัวใจและ หลอดเลือด 4 เดือน

53 ผลการดำเนินการพัฒนาคุณภาพบริการโรงพยาบาลนครพิงค์

54 “ศูนย์ความเชี่ยวชาญที่มี คุณภาพและคุณธรรม ผู้รับบริการพึงพอใจ”
วิสัยทัศน์ “ศูนย์ความเชี่ยวชาญที่มี คุณภาพและคุณธรรม ผู้รับบริการพึงพอใจ”

55 พันธกิจ ด้านบริการ ด้านการผลิตบุคลากร
ให้การรักษา ส่งเสริม ฟื้นฟู ป้องกันโรคครอบคลุมตั้งแต่ระดับปฐม ภูมิ ทุติยภูมิ ตติยภูมิและระดับศูนย์ ความเชี่ยวชาญอย่างมีคุณภาพและได้ มาตรฐานในรูปแบบเครือข่ายบริการ สุขภาพ ด้วยความใส่ใจเอื้ออาทร คำนึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และ สืบสาน ประเพณี วัฒนธรรม ด้านการผลิตบุคลากร ผลิตบัณฑิตแพทย์ แพทย์ประจำบ้าน บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข เพื่อรับใช้สังคม)

56 Re-accreditation ครั้งที่ 5
เข็มมุ่ง Re-accreditation ครั้งที่ 5 1 เข็มมุ่ง ปี 2562 2P Safety 2 Smart Hospital 3

57 ศูนย์ความเชี่ยวชาญ 1.สาขาอุบัติเหตุ 2. สาขาโรคหัวใจ 3. สาขาทารกแรกเกิด
4.สาขามะเร็ง(เปิดบริการรังสีรักษา ปี 2563)

58 คณะผู้บริหารโรงพยาบาลนครพิงค์
นพ.วรเชษฐ เต๋ชะรัก ผู้อำนวยการโรงพยาบาลนครพิงค์ รอง ผอ.ฝ่ายการแพทย์ 1 นพ.ชาญชัย พจมานวิพุธ รอง ผอ.ฝ่ายการแพทย์ 2 หน.กลุ่มภารกิจ ด้านอำนวยการ นพ.จำรูญ ลิขิตวัฒนาสกุล หน.กลุ่มภารกิจ ด้านบริการทุติยภูมิและตติยภูมิ นางกุลดา พฤติวรรธน์ หัวหน้ากลุ่มภารกิจ ด้านการพยาบาล พญ.ลดาวรรณ หาญไพโรจน์ หน.กลุ่มภารกิจ ด้านบริการปฐมภูมิ นพ.ศิริพจน์ ศรีบัณฑิตกุล หน.กลุ่มภารกิจ พัฒนาระบบบริการ ฯ นพ.ชาญชัย พจมานวิพุธ หน.กลุ่มภารกิจด้านการผลิตบุคลากร ทางการแพทย์

59 อัตรากำลังของบุคลากรโรงพยาบาลนครพิงค์
รวม 2,169 คน ข้าราชการ 1,088 คน ลูกจ้าง ประจำ 75 คน พนักงานราชการ 36 คน พนักงานกระทรวง 788 คน ลูกจ้างชั่วคราว 182 คน 50 % 8.5 % 3.5 % 36.3 % 1.7 % ข้อมูล ณ 1 มค. 62

60 ผลลัพธ์การให้บริการ ปี 2558-2561
ข้อมูล 2558 2559 2560 2561 จำนวนเตียง 585 609 จำนวนเตียง ICU 85 93 จำนวนห้องผ่าตัด 8 12 18 อัตราครองเตียง(%) 121.31 122.21 120.81 125.09 Active Bed 710 744 737 762 วันนอนเฉลี่ย (วัน) 5.42 5.43 5.46 5.14 CMI ( Case Mix Index) 1.88 1.90 1.94 1.93 จำนวนผู้ป่วยนอกเฉลี่ยต่อวัน 2,093 2,238 2,270 2,310

61 ผลการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
ผ่านการรับรองคุณภาพโรงพยาบาลจากสถาบันรับรองคุณภาพ (องค์การมหาชน) Re- accreditation ครั้งที่ พค. 59 – 30 พค. 62 ห้องปฏิบัติการผ่านการรับรองความสามารถตามมาตรฐาน ISO15189: ตั้งแต่วันที่ 29 ตค. 60 – 28 ตค. 62 ห้องปฏิบัติการผ่านการรับรองความสามารถตามมาตรฐาน ISO : ตั้งแต่วันที่ วันที่ 29 ตค. 60 – 28 ตค. 62

62 ประสิทธิภาพด้านการเงินการคลัง
รายงานสถานะ Planfin และสถานะการเงิน ไตรมาส 1 ปีงบประมาณ 2562

63 เปรียบเทียบ รายรับ-รายจ่าย กับ PlanFin ปี 2562
ประเภท แผนทั้งปี ประมาณการ ตามแผน ไตรมาสแรก ค่าที่เป็นจริง ธันวาคม 61 ส่วนต่าง ร้อยละจากแผน รวมรายได้ 2,260,000,000.00 565,000,000.00 655,851,711.32 90,851,711.32 16.08 รวมค่าใช้จ่าย 2,021,000,000.00 505,250,000.00 500,399,926.33 -4,850,073.67 -0.96

64 เงินคงเหลือหลังหักหนี้สิน
ประเภท ตุลาคม 61 พฤศจิกายน 61 ธันวาคม 61 ทุนสำรองสุทธิ (NWC) 798,765,454.06 810,035,957.16 800,114,279.54 เงินบำรุงคงเหลือ (ไม่รวมเงินงบค่าเสื่อม) 469,778,739.30 529,119,300.79 436,547,668.54 หนี้สินและภาระผูกพัน 322,773,189.81 367,839,770.26 365,603,907.85 (หักภาระผูกพัน) 147,005,549.49 161,279,530.53 70,943,760.69

65 ตัวชี้วัดทางการเงิน 7 ระดับ
ตุลาคม 2561 พฤศจิกายน 2561 ธันวาคม 2561 CR < 1.5 3.47 3.20 3.19 QR < 1 3.06 2.85 2.81 Cash < 0.8 1.46 1.44 1.19 NWC < 0 798,765,454.06 810,035,957.16 800,114,279.54 NI+Depreciation NI < 0 62,408,253.20 81,357,218.50 155,451,784.99 Liquid Index Status Index Survival Index Months Risk Scoring

66 ตัวชี้วัดประสิทธิภาพ 7 plus
เกณฑ์คะแนน  คะแนน ต.ค.61 พ.ย.61 ธ.ค.61 1.ประสิทธิภาพการทำกำไร Operating Margin >= ค่ากลาง 6.03 1 26.24 20.26 22.65 2.อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ Return on Asset >= ค่ากลาง 10.22 2.24 2.86 5.34 3.ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการชำระหนี้การค้ากลุ่มบริการ (ค่ายา เวชภัณฑ์มิใช่ยาฯAverage payment Period) การค้ากลุ่มบริการ <=90 วัน 106.51 85.69 83.40 4. ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเรียกเก็บหนี้ UC (Average Collection Period) <=60 วัน 96.40 102.61 110.12 5.ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเรียกเก็บหนี้ CSMBS (Average Collection Period)<=60 วัน 97.56 117.20 130.07 6.ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเรียกเก็บหนี้ SSS Average Collection Period) <=60 วัน 110.83 112.71 124.88 7.การบริหารสินค้าคงคลัง ยา (Inventory Management) <=60 วัน 90.42 69.89 81.42

67 ต้นทุนบริการ (Quick Method)
ต้นทุนบริการผู้ป่วย OPD จำนวนครั้งผู้ป่วย OPD ต้นทุน/ครั้ง mean+1sd ต.ค.61 44,489,057.70 54,302.00 819.29 1,276.39 พ.ย.61 94,503,280.55 111,783.00 845.42 ธ.ค.61 133,911,978.07 162,646.00 823.33 ต้นทุนบริการผู้ป่วย IPD จำนวน Admit จำนวน RW ต้นทุนต่อ ครั้ง ต้นทุนต่อวัน ต้นทุน /RW mean+1sd ต.ค.61 110,493,613.80 4,379.00 8,679.70 25,232.61 4,783.69 12,730.11 17,915.55 พ.ย.61 243,714,929.16 8,853.00 17,602.21 26,512.47 4,968.04 13,334.40 ธ.ค.61 339,569,281.45 14,240.00 27,821.38 23,846.16 4,513.09 12,205.33

68 Any Questions/Comments or Suggestions ?


ดาวน์โหลด ppt คณะที่ 2:การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดเชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google