งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ตอนที่ 3.2 กลยุทธ์การบริหารเจ้าหน้าที่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ตอนที่ 3.2 กลยุทธ์การบริหารเจ้าหน้าที่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ตอนที่ 3.2 กลยุทธ์การบริหารเจ้าหน้าที่
ส่งเสริมการเกษตร ในระดับอำเภอ

2 เกษตรอำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี
ตอนที่ การประยุกต์ใช้เครื่องมือในการบริหาร เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ นายโสภณ เชี่ยวธัญกิจ เกษตรอำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี

3 1. ความสำคัญเครื่องมือ PDCA ในการบริหารเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
PLAN DO CHECK ACT

4 2. โครงสร้าง PDCA ประกอบด้วย คือการวางแผน
คือการปรับปรุงการดำเนินการอย่างเหมาะสมหรือมาตรฐานใหม่ที่ยกระดับคุณภาพ คือการวางแผน PLAN DO CHECK ACT คือการปฏิบัติตามแผน คือการตรวจสอบ

5 3. การใช้เครื่องมือวงจร PDCA ในการบริหารเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ

6 การดำเนินงานมาตรฐานสูงขึ้นตามวงจร PDCA
การวางแผนงาน = P (Plan) เป็นกระบวนที่เข้าไปเกี่ยวข้องกับการกำหนดวัตถุประสงค์ นักส่งเสริมการเกษตรทุกคนมีแผนการขับเคลื่อนงานในระดับพื้นที่ 3 แผนงาน แผนงานโครงการ (Project Plan) แผนปฏิบัติงานประจำเดือน (Monthly Action Plan) แผนปฏิบัติงานประจำสัปดาห์/วัน (Weekly daily Action Plan) แสดงกิจกรรมภายใต้โครงการตามที่บุคคล/ กลุ่มบุคคลได้รับมอบหมาย ซึ่งแสดงในรูปแบบของ Gant Chart ของสำนักงาน เกษตรอำเภอ แสดงกิจกรรมที่วางแผนการดำเนินงานตามระบบ T&V System ภายในระยะเวลา 1 เดือน แสดงกิจกรรม/ งานที่จะดำเนินการภายในระยะเวลา 1 สัปดาห์/ รายวัน

7 การดำเนินงานมาตรฐานสูงขึ้นตามวงจร PDCA
เกษตรอำเภอสนับสนุนการวางแผนปฏิบัติงานของนักส่งเสริมการเกษตร คือการตั้งประเด็นคำถาม มีเรื่องอะไรบ้างที่ต้องดำเนินการ ประเด็นยุทธศาสตร์ของโครงการ/ กิจกรรม บริหารเจ้าหน้าที่ให้มีสมรรถนะ ความรู้ความสามารถ ทักษะ คุณลักษณะส่วนบุคคล ผลลัพธ์ที่คาดหวังคืออะไร วัตถุประสงค์/ เป้าประสงค์ จะวัดความสำเร็จของงานได้อย่างไร ตัวชี้วัดและแนวทางติดตามผล วิธีการทำอย่างไร แนวทางกิจกรรม ทำเมื่อใด ระยะเวลาดำเนินการ

8 การดำเนินงานมาตรฐานสูงขึ้นตามวงจร PDCA
2. การปฏิบัติตามแผน = D (DO) มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน 1. สร้างทีมงาน ประสานแผนงานโครงการ/ กิจกรรมต่าง ๆ 2. สอนงาน (Coaching) จากการปฏิบัติจริง (on the job training) พี่สอนน้อง, เพื่อนช่วยเพื่อน 3. บริหารจัดการนักส่งเสริมการเกษตรให้ตรงกับความรู้ความสามารถ 4. สร้างวินัยและจริยธรรมในองค์กร 5. อำนวยความสะดวก/ สวัสดิการตามความเหมาะสม 6. บำเหน็จความดีความชอบมีผลงานดีเด่น

9 การดำเนินงานมาตรฐานสูงขึ้นตามวงจร PDCA
3. การตรวจสอบ = C (Check) พิจารณาจาก 1. ความสำเร็จในการพัฒนาระบบงานขั้นพื้นฐาน (input) 2. ความสำเร็จในการจัดกระบวนการดำเนินงาน (process) 3. ความสำเร็จด้านผลลัพธ์การดำเนินงาน (output) 4. ความสำเร็จด้านผลสัมฤทธิ์ของงานที่มีต่อ ความสำเร็จ (outcome)

10 การปรับปรุงการดำเนินงาน = A (Act)
เพื่อหาวัตถุประสงค์ What (อะไร) Where (ที่ไหน) When (เมื่อไหร่) Who (ใคร) How (อย่างไร) เพื่อค้นหาวิธีการทำงาน ที่เหมาะสม เพื่อหาสถานที่ทำงานที่เหมาะสม เพื่อหาบุคคลที่เหมาะสมกับงาน เพื่อหาเวลาในการทำงาน ที่เหมาะสม

11 การใช้ PDCA ในการพัฒนานักส่งเสริมการเกษตร
สรุป การใช้ PDCA ในการพัฒนานักส่งเสริมการเกษตร ให้มีสมรรถนะและการสร้างศรัทธาให้แก่เกษตรกร มีความเชื่อถือนักส่งเสริมการเกษตร ได้อย่างแท้จริงตามระบบส่งเสริมการเกษตร T&V System


ดาวน์โหลด ppt ตอนที่ 3.2 กลยุทธ์การบริหารเจ้าหน้าที่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google