งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การขับเคลื่อน ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การขับเคลื่อน ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การขับเคลื่อน ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ
นายธนชีพ พีระธรณิศร์ นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ

2 ปัจจัยก่อปัญหาหลักด้านสุขภาพประชาชน
มุมมองต่างประเทศ

3

4 การเปลี่ยนจากโรคติดเชื้อไปสู่กลุ่มโรคไม่ติดต่อ
เพิ่มจากปี 2548 จำนวน 2 เท่า สัดส่วน 70% ของโรคทั้งหมด ความดัน 10 ล้าน เบาหวาน 3 ล้าน หัวใจ ป่วยสูงสุด มะเร็งตายสูงสุด และแนวโน้มเพิ่มขึ้น

5

6

7 ปัญหาของอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชน

8 Environment =GREEN LIFE ถนนชีวิตเพื่อสุขภาพ Equity
(life Course approach) Green temple ความไม่เท่าเทียม เกิดทุกช่วงวัยแต่แตกต่างกัน Equity Green work place Green markets สิ่งแวดล้อมที่หลากหลาย ทั้งกายภาพ สังคมและเศรษฐกิจ แต่ละวัยสัมผัสเอื้อและไม่เอื้อ ต่อการมีสุขภาพดี Green area Green & clean hospital Environment Green roads ในแต่ละช่วงวัย มีวิกฤติ และโอกาสของชีวิต ไม่เหมือนกัน Timing Green community Green SCHOOLS & day care Time Line ทุนสะสมทั้งดีและเสีย จะส่งผลต่อช่วงอายุต่อๆไปเรื่อยๆ Green hOuse

9 องค์ประกอบของตำบล หรือชุมชนนพื้นที่
มีฐานข้อมูล อวล&สส มีบริการ อวล&สส ที่มีคุณภาพพื้นฐาน(EHA/GREEN Work Place) ครัวเรือนสะอาด ส้วมได้มาตรฐาน น้ำสะอาด กินอาหารสุขภาพปลอดภัย ขยะถูกต้อง น้ำเสียจัดการได้ มีสุขภาพดี Green House Green Temple มีฐานข้อมูล อวล มีการจัดการ และบริการ อวลและ สส พื้นฐาน G&C Hospital GREEN area GREEN Daycare GREEN School/HPS CFGT/HM SMART CITIZEN ธนชีพ59

10

11 ตำบลจัดการ สุขภาพ หมู่บ้าน จัดการสุขภาพ หมู่บ้าน หมู่บ้าน จัดการ

12 ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาส การอนามัยสิ่งแวดล้อม
ตำบลจัดการ สุขภาพ แบบบูรณาการ กลุ่ม สตรีและเด็กปฐมวัย กลุ่ม วัยเรียนและวัยรุ่น กลุ่มผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาส กลุ่ม วัยทำงาน การอนามัยสิ่งแวดล้อม

13

14 ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ (สบส) หมายถึง ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม (ได้แก่ 1.กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย 2. วัยเรียน 3.วัยรุ่น 4.วัยทำงาน 5. ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส และ 6.อนามัยสิ่งแวดล้อม) ที่มีกระบวนการสร้างสุขภาพโดยให้ความสำคัญกับการพัฒนาบทบาทภาคประชาชน ชุมชน ท้องถิ่น และทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ให้มีการบูรณาการ ในการค้นหาปัญหาสุขภาพ ดำเนินกิจกรรมแก้ไขปัญหาและพัฒนาด้านสุขภาพร่วมกัน และมีมาตรการทางสังคม รวมทั้งนวัตกรรมต่างๆ ได้ด้วยตนเอง ด้วยความตั้งใจ เต็มใจ มีจิตสำนึกสาธารณะ ที่เน้นกระบวนการการมีส่วนร่วมและเรียนรู้ร่วมกัน รวมทั้งมีการส่งเสริมกิจกรรมวิสาหกิจชุมชน โดยการลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ เพื่อการพึ่งตนเองและรักษาสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้เพื่อลดปัญหาและปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ โดยต้องผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดีและยั่งยืน

15 เกณฑ์มาตรฐาน หมายถึง เกณฑ์การประเมินกระบวนการพัฒนาที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นกรอบในการดำเนินงานและวัดผลสำเร็จของตำบลจัดการสุขภาพเพื่อเป้าหมายประชาชนสุขภาพดี ระบบสุขภาพยั่งยืน ประกอบด้วย 5 ระดับ

16 1) การพัฒนาทีมสุขภาพตำบล (ระดับพื้นฐาน) 1
1) การพัฒนาทีมสุขภาพตำบล (ระดับพื้นฐาน) 1.1 มีองค์ประกอบเครือข่ายที่เข้าร่วมทีมสุขภาพตำบลจากหลายภาคส่วน 1.2 มีการสร้างและพัฒนาทีมเครือข่ายสุขภาพตำบล โดยกำหนดเป้าหมายของการพัฒนาร่วมกันและบทบาทของแต่ละภาคส่วนที่ชัดเจน 1.3 มีการพัฒนาศักยภาพทีมสุขภาพตำบล ในเรื่องการจัดทำแผนสุขภาพตำบล โดยใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ค่ากลาง หรืออื่นๆ ด้วยกระบวนการจัดทำแผนอย่างมีส่วนร่วม และประเมินหมู่บ้านจัดการสุขภาพ 1.4 มีการพัฒนาความรู้ อสม. ในเรื่องการดูแลสุขภาพ 4 กลุ่มวัย ตลอดจนแก้ไขปัญหาสุขภาพตามบริบทของพื้นที่ 1.5 มีการศึกษา เก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับทุนของชุมชน (เงิน/ทรัพยากร/ผลผลิต/ความรู้/ภูมิปัญญา/ทุนทางวัฒนธรรม/ทุนทางสังคม)

17 2) การพัฒนากระบวนการจัดทำแผนสุขภาพตำบล (ระดับพัฒนา) (ผ่านเกณฑ์การประเมินในระดับพื้นฐานครบทุกข้อ) 2.1 มีระบบการประเมินคัดกรองปัญหาสุขภาพและมีข้อมูลผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ที่จำเป็นต้องได้รับการดูแลช่วยเหลือระยะยาว (LTC) 2.2 มีการคืนข้อมูลสถานะสุขภาพเพื่อสร้างการรับรู้ และมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนสุขภาพตำบล 2.3 มีการร่วมกันจัดทำแผนสุขภาพตำบล โดยเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้าร่วมในการวิเคราะห์ปัญหาด้วยกระบวนของชุมชน และมีการสื่อสารแผนงาน/โครงการแก่ผู้เกี่ยวข้องรับรู้เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ 2.4 มีการระดมทรัพยากร ทุน และภูมิปัญญาท้องถิ่นจากในและนอกชุมชนมาใช้สนับสนุนโครงการและกิจกรรมที่กำหนดไว้ 2.5 มีการวิเคราะห์สถานการณ์เกี่ยวกับชุมชน (เงิน/ทรัพยากร/ผลผลิต/ความรู้/ภูมิปัญญา/ทุนทางวัฒนธรรม/ทุนทางสังคม)

18 3) การขับเคลื่อนแผนสุขภาพตำบลสู่การปฏิบัติ (ระดับดี) (ผ่านเกณฑ์การประเมินในดับพื้นฐานและระดับพัฒนาครบทุกข้อ) 3.1 มีชมรมผู้สูงอายุ หรือชมรมสร้างสุขภาพอื่นๆ (LTC) 3.2 มีบริการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน (Home Health Care) จากสถานบริการสู่ชุมชนโดยบุคลากรสาธารณสุขและทีมสหวิชาชีพ (LTC) 3.3 มีบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพของผู้สูงอายุในระดับตำบล (LTC) 3.4 มีชุมชน/ท้องถิ่น/อสม.นักจัดการสุขภาพชุมชน/อสค.เป็นพลังสำคัญขับเคลื่อนแผนสุขภาพตำบล เพื่อการดูแลสุขภาพ 4 กลุ่มวัย และแก้ไขปัญหาสุขภาพตามบริบทของพื้นที่ รวมทั้งมีหมู่บ้านที่ผ่านเกณฑ์การประเมินหมู่บ้านจัดการสุขภาพระดับดีขึ้นไปอย่างน้อย ร้อยละ มีการรวมตัวของกลุ่มบุคคลตั้งแต่ 7 คนขึ้นไป เพื่อดำเนินการวิสาหกิจชุมชน (ผลิตสินค้า การให้บริการ หรืออื่นๆ) หรือกลุ่มอาชีพอื่นๆ ที่นำไปสู่การสร้างรายได้ในชุมชน

19 4) ตำบลมีระบบการบริหารจัดการอย่างต่อเนื่อง (ระดับดีมาก) (ผ่านเกณฑ์การประเมินในระดับพื้นฐาน ระดับพัฒนา และระดับดี ครบทุกข้อ) 4.1 มีระบบการส่งเสริมสุขภาพและดูแลผู้สูงอายุ กลุ่มติดบ้าน กลุ่มติดเตียงโดยท้องถิ่น ชุมชน มีส่วนร่วม มีผู้จัดการการดูแลผู้สูงอายุ (Care manager) และผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care giver) หรืออาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ มีแผนการดูแลผู้สูงอายุรายบุคคล (Care plan) มีการดูแลตาม care plan อย่างต่อเนื่อง และมีคณะกรรมการบริหารจัดการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชน หรือคณะกรรมการกองทุนตำบล (LTC) 4.2 มีข้อมูลที่จำเป็นเพื่อใช้ในการติดตามประเมินผล การบริหารจัดการ การพัฒนาตำบลจัดการสุขภาพ ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้อย่างสม่ำเสมอและรายงานความก้าวหน้าให้ชุมชนรับรู้อย่างต่อเนื่อง 4.3 มีการสรุปประเมินผล เพื่อปรับกระบวนการ/กิจกรรม/โครงการ 4.4 มีผลลัพธ์ของการพัฒนา เช่น จำนวนผู้สูงอายุได้รับการดูแลและบริการที่เหมาะสม พัฒนาการเด็กสมวัย อุบัติการณ์ผู้ป่วยรายใหม่ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและไข้เลือดออก มีแนวโน้มลดลงหรือไม่เพิ่มขึ้น (LTC) 4.5 มีวิสาหกิจชุมชนพื้นฐาน (การดำเนินการเพื่อกิน เพื่อใช้ในชุมชน เพื่อให้ครอบครัวพึ่งตนเองได้ ลดรายจ่าย เพิ่มรายรับ) อย่างน้อย 2 แห่ง/ตำบล

20 5) ตำบลจัดการสุขภาพต้นแบบ (ระดับดีเยี่ยม) (ผ่านเกณฑ์การประเมินในระดับพื้นฐาน ระดับพัฒนา ระดับดี และระดับดีมากครบทุกข้อ) 5.1 มีวิทยากรชุมชนที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพความเป็นครู หรือวิทยากรกระบวนการ วิทยากรต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และมีศูนย์เรียนรู้สุขภาพชุมชน เช่น โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน โรงเรียน อสม. ที่มีหลักสูตรเป็นไปตามความต้องการของชุมชน รวมทั้งมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในชุมชนและระหว่างชุมชน 5.2 มีการสรุปบทเรียน การพัฒนา การจัดการความรู้ นวัตกรรมสุขภาพชุมชนที่นำไปสู่การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสุขภาพ 5.3 มีการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ การพัฒนาระหว่างชุมชนหรือตำบลอื่นๆ อย่างกว้างขวาง 5.4 มีผลกระทบของการพัฒนาทำให้ปัญหาสุขภาพลดลงตามบริบทของพื้นที่ ชุมชนมีความสุข พึ่งตนเองได้อย่างพอเพียง 5.5 มีวิสาหกิจชุมชนก้าวหน้า (การนำผลิตภัณฑ์ที่เป็นเอกลักษณ์ของชุมชน ผลผลิตที่เหลือกิน เหลือใช้ในชุมชน เข้าสู่ตลาดบริโภคโดยปรับปรุงคุณภาพผลผลิต หีบห่อ การจัดการด้านการตลาดเพื่อให้สามารถแข่งขันได้) อย่างน้อยตำบลละ 1 แห่ง

21 เกณฑ์ตำบลจัดการสุขภาพตนเองแบบบูรณาการ แบ่งเป็น 3 กลุ่ม 7 หมวด 30 ตัวชี้วัด
ปี 2559

22 พื้นที่ตำบลต้นแบบ HL HB 1 หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
1 รพ.สต.มาตรฐานสุขศึกษา 1 ร.ร.สุขบัญญัติ อำเภอ DHS 1 หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

23 จัดการสุขภาพด้านสิ่งแวดล้อม ด้านคุ้มครองผู้บริโภค
อำเภอ DHS ตำบลต้นแบบ HL HB ตำบลต้นแบบ LTC ตำบลต้นแบบ จัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ ตำบลต้นแบบ จัดการสุขภาพ ด้านแม่และเด็ก ตำบลต้นแบบ จัดการสุขภาพด้านสิ่งแวดล้อม ตำบลต้นแบบ จัดการสุขภาพ ด้านคุ้มครองผู้บริโภค ตำบลต้นแบบ จัดการสุขภาพ ด้านฯลฯ

24 ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการผ่านเกณฑ์ระดับดีมากขึ้นไป
เป้าหมาย สถานการณ์ : ยุทธศาสตร์ / มาตรการ / กิจกรรมหลัก : ระดับความสำเร็จ : ไตรมาส 1 ทีมวิทยากรพี่เลี้ยงตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการรับทราบนโยบายและแนวทางเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ มี อสม.นักจัดการสุขภาพในการขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ ตำบลเป้าหมายผ่านเกณฑ์ระดับดีมากขึ้นไปร้อยละ 70 และบันทึกฐานข้อมูลตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ ที่ มีตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ เป็นต้นแบบ 1 ตำบล ต่อ 1 อำเภอ ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 5. ตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการผ่านเกณฑ์ระดับดีมากขึ้นไป ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการในปี 2560 ผ่านเกณฑ์ระดับดีขึ้นไป ร้อยละ ซึ่งจะเป็นการประเมินกระบวนการสร้างสุขภาพโดยให้ความสำคัญกับการพัฒนาบทบาทภาคประชาชน ชุมชน ท้องถิ่นและทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ให้มีการบูรณาการ ถ่ายทอดแนวทางตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการแก่วิทยากรพี่เลี้ยงระดับอำเภอ เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ พัฒนาศักยภาพ อสม. นักจัดการสุขภาพในการขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ ประเมินผลตำบลเป้าหมายที่มีการจัดการสุขภาพแบบบูรณาการตามเกณฑ์ที่กำหนดและมีการบันทึกฐานข้อมูลตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ ที่

25 รพสต. ผ่านเกณฑ์ รพ.สต.ติดดาว ระดับ 5 ดาว
เป้าหมาย สถานการณ์ : ยุทธศาสตร์ / มาตรการ / กิจกรรมหลัก : ระดับความสำเร็จ : ไตรมาส 1 แต่งตั้ง/ปรับปรุงคณะทำงานฯระดับจว. ระดับอำเภอ เข้าร่วมประชุมชี้แจงเกณฑ์ระดับเขต ( 9-10 พ.ย. 60 )และจังหวัด (ยังไม่กำหนด) ประชุมชี้แจงเกณฑ์ ครู ข และครู ค ครู ค.ชี้แจงเกณฑ์ แก่ รพ.สต.ในอำเภอ รพ.สต.ทุกแห่งประเมินตนเอง ทำแผนพัฒนา ครู ค. ประเมินรพ.สต.ในอำเภอ ทำแผนพัฒนารพ.สต.ระดับอำเภอ พัฒนารพสต.ตามแผน พัฒนา รพ.สต.ตามแผน ครู ข. ประเมิน รพ.สตที่ผ่านระดับอำเภอ ครู ก. ประเมิน รพ.สต.ที่ผ่านระดับจังหวัด แลกเปลี่ยนเรียนรู้แสดงผลงานต้นแบบ รพสต.ผ่านเกณฑ์คุณภาพรพ.สต.ติดดาว ตำบลละ 1 แห่ง ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 6. รพสต.ติดดาว รพสต. ผ่านเกณฑ์ รพ.สต.ติดดาว ระดับ 5 ดาว อย่างน้อย ตำบลละ 1 แห่ง ปี 2560 ทุก รพ.สต.ประเมินตนเอง คณะกรรมการระดับอำเภอประเมินส่งเป็นตัวแทนระดับอำเภอให้คณะกรรมการระดับจังหวัดประเมิน ผ่านเกณฑ์ 15 แห่ง อ.เมือง 9 แห่ง อ.บางแก้ว 4 แห่ง อ.ควนขนุน 1 แห่ง อ.ป่าพะยอม 1 แห่ง แต่งตั้ง/ปรับปรุงคณะทำงานพัฒนารพ.สต. ระดับจังหวัด ระดับอำเภอ เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการคณะทำงานและประเมินระดับเขต (ครู ก.) ระดับจังหวัด (ครู ข.) และจัดอบรมระดับอำเภอ (ครู ค.) รพ.สต. ทุกแห่งประเมินตนเอง คณะทำงานระดับอำเภอประเมิน ( ครู ค.) คณะทำงานระดับจังหวัดประเมิน (ครู ข ) คณะทำงานระดับเขตประเมินหาต้นแบบ

26 ทุกตำบลมีคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต
เป้าหมาย สถานการณ์ : ยุทธศาสตร์ / มาตรการ / กิจกรรมหลัก : ระดับความสำเร็จ : ไตรมาส 1 ทุกตำบลมีการแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับตำบล (พชต.) ทุกตำบลมีการประชุมวิเคราะห์ปัญหา/คัดเลือกประเด็นสำคัญ อย่างน้อย 2 ประเด็น จัดทำแผนและพัฒนาตามแผน ทุกตำบลมีการดำเนินการบริหารจัดการสร้างกลไกและพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยการบูรณาการทรัพยากร งบประมาณ ทุกภาคส่วน สรุปผลการดำเนินการทั้งกระบวนการและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นโดยกระบวนการและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นโดยกระบวนการชื่นชมและเสริมพลัง ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 7. ตำบล DHS/DHB พัฒนาคุณภาพชีวิต ระดับตำบล ทุกตำบลมีคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต ระดับตำบล (พชต.) และสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนได้อย่างเป็นรูปธรรม เริ่มดำเนินการในปีงบประมาณ 2561 จังหวัดพัทลุง มี 65 ตำบล แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับตำบล จัดประชุมแบบมีส่วนร่วมเพื่อวิเคราะห์ปัญหา/คัดเลือกประเด็นพัฒนาที่สำคัญตามบริบทในพื้นที่ จัดทำแผนพัฒนา/แก้ไขปัญหาสำคัญตามบริบทในพื้นที่ อย่างน้อยตำบลละ 2 เรื่อง (สอดคล้องกับ พชอ. 1 เรื่อง) ดำเนินการตามแผน พัฒนา/แก้ไขปัญหา บูรณาการทรัพยากร งบประมาณ กับภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ในเวลาที่เหมาะสม

27 ตำบลผ่านการประเมิน GREEN & CLEAN
เป้าหมาย สถานการณ์ : ยุทธศาสตร์ / มาตรการ / กิจกรรมหลัก : ระดับความสำเร็จ : ไตรมาส 1 1. มีแผนงานเพื่อพัฒนางาน ตามกิจกรรม GREEN โดยการบูรณาการงานกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง 2. มีฐานข้อมูลตำบลที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้ขับเคลื่อนกิจกรรม GREEN อย่างครบถ้วน 1. มีการดำเนินงานตามแผน เพื่อขับเคลื่อนและพัฒนาตำบลสุขภาวะ ตามกิจกรรม GREEN 1. มีการตรวจประเมินและประเมินผลงาน ตามกิจกรรม GREEN ในตำบลสุขภาวะ พร้อมสรุปและรายงานผล 1. ตำบลมีระบบการจัดการขยะที่ถูกหลักวิชาการ 2. ส้วมสาธารณะผ่าน HAS ร้อยละ 60 3. รพ/รพ.สต. ในตำบลผ่านการรับรองGREEN&CLEAN HOSPITAL 4. มีการจัดสถานที่ออกกำลังกายเพื่อบริการประชาชนอย่างน้อย 1 ที่ 5. ร้านอาหาร แผงลอยได้มาตรฐานร้อย 70 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 10. ตำบล GREEN & CLEAN ตำบลผ่านการประเมิน GREEN & CLEAN ระดับพื้นฐานขึ้นไป จังหวัดพัทลุงมี 65 ตำบล กำหนดเป้าหมายดำเนินโครงการตำบลสุขภาวะทุกตำบล โดยใช้กิจกรรม GREEN เป็นแนวทางการดำเนินงาน และประเมินผลสำเร็จของงานอนามัยสิ่งแวดล้อมในระดับตำบล 1. สร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายอย่างบูรณาการ และผลักดันให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทั้งภาคราชการและภาคประชาชน 2. สนับสนุนให้เกิดการบูรณาการใช้ทรัพยากรในการพัฒนาและขับเคลื่อนงาน . 3. สนับสนุนวิชาการ การตรวจประเมินเพื่อหาส่วนขาดและวางแผนพัฒนาให้ผ่านการประเมิน 4. ประเมินรับรองมาตรฐาน ตามกิจกรรม GREEN & CLEAN ในบริบทตำบลสุขภาวะ

28 ตำบลผ่านเกณฑ์ตำบลคุ้มครองผู้บริโภค ระดับพื้นฐานขึ้นไป
เป้าหมาย สถานการณ์ : ไตรมาส 1 ผ่านเกณฑ์ 1 ข้อจาก 5 ข้อ ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 ระดับความสำเร็จ : 11. ตำบลคุ้มครองผู้บริโภค (ผลิตภัณฑ์สุขภาพ) เพื่อให้มีการใช้ยาสมเหตุสมผลใน รพสต. RDU2 , ร้านชำคุณภาพและมีผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้อง และมีการใช้ยาสมเหตุสมผลในชุมชน (ร้านชำ) RDU3 KPI ระดับผลงานผ่านระดับพื้นฐานร้อยละ 50 ยุทธศาสตร์/มาตรการ มาตรการที่ 1 การควบคุมการกระจายยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสมใน รพ.สต.และชุมชน มาตรการที่ 2 การควบคุมให้ร้านชำในชุมชนจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัยกับผู้บริโภค กิจกรรมหลัก 1. ส่งเสริมกิจกรรมการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสมในรพ.สต. คลินิก และร้านยา 2. เฝ้าระวังและจัดการการกระจายยา Antibiotic Steroid NSAIDs ในร้านชำและชุมชน 3. ส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพเรื่องเชื้อดื้อยาและยาต้านจุลชีพ Steroid NSAIDs แก่ประชาชน 1. จัดทำแผนออกตรวจร้านชำ 2. อบรมผู้ออกตรวจประเมิน,อบรมร้านชำในพื้นที่ที่มีผลงานต่ำในปี 60 3. ออกตรวจร้านชำ 4. ดำเนินการจัดการร้านที่พบปัญหาตามแนวทางที่กำหนด ผ่านเกณฑ์ 3 ข้อจาก 5 ข้อ ผลงานระดับพื้นฐานร้อยละ 80 ผ่านเกณฑ์ 2 ข้อจาก 5 ข้อ ผ่านเกณฑ์ 4 ข้อจาก 5 ข้อผลงานระดับดี

29 ตำบลผ่านเกณฑ์ตำบลควบคุมโรคเข้มแข็ง
เป้าหมาย สถานการณ์ : ยุทธศาสตร์ / มาตรการ / กิจกรรมหลัก : ระดับความสำเร็จ : ไตรมาส 1 ตำบลวิเคราะห์สถานการณ์ จัดลำดับความสำคัญปัญหา เลือกโรคเพื่อจัดทำแผนควบคุมป้องกันโรค จำนวน 5 โรค เป็นโรคตามนโยบาย 2 โรค และ โรคที่เป็นปัญหาในพื้นที่ 3 โรค โดยคณะกรรมการควบคุมโรคระดับตำบล และจัดทำแผนงานครอบคลุม 5 โรคที่เลือก ตำบลประเมินตนเอง รอบที่ 1 ภายในวันที่ 25 มกราคม 2561 สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ ติดตามและสรุปผลการประเมินตนเอง ในระดับตำบล รอบที่ 1 ตำบลประเมินตนเอง รอบที่ 2 ภายในวันที่ 25 มิถุนายน 2561 สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ ติดตามและสรุปผลการประเมินตนเอง ในระดับตำบล รอบที่ 2 ตำบลผ่านการประเมินควบคุมโรคเข้มแข็งระดับพื้นฐานขึ้นไป > 80 % ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 12. ตำบลควบคุมโรคเข้มแข็ง ตำบลผ่านเกณฑ์ตำบลควบคุมโรคเข้มแข็ง ระดับพื้นฐานขึ้นไป ปี 2560 อำเภอผ่านเกณฑ์คะแนนรวมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จำนวน 11 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 ส่วนในระดับตำบลเริ่มการดำเนินงานในปี 2561 พัฒนางาน DHS (UCCare) ระดับตำบล พัฒนาระบบงานระบาดวิทยาระดับตำบล ดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคที่สำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุขและเป็นปัญหาในพื้นที่ อย่างน้อย 5 เรื่อง ประเมินตนเอง ประเมินรับรองโดยทีมประเมินระดับอำเภอ


ดาวน์โหลด ppt การขับเคลื่อน ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google