งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผลการดำเนินงาน 6 เดือน กลุ่มวัยเรียน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผลการดำเนินงาน 6 เดือน กลุ่มวัยเรียน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผลการดำเนินงาน 6 เดือน กลุ่มวัยเรียน
ผลการดำเนินงาน 6 เดือน กลุ่มวัยเรียน ลดภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ฟันไม่ผุ สายตาดี กพด. ส่งเสริมเด็กวัยเรียนให้แข็งแรง และฉลาด โดย พรวิภา ดาวดวง สำนักโภชนาการ กรมอนามัย

2 สถานการณ์ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนในเด็กวัยเรียน
ภาคเรียนที่ 1 และ 2 ปีการศึกษา 2558 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 10 ที่มาแหล่งข้อมูลจาก HDC ●ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 ข้อมูล ณ วันที่ 25 สิงหาคม 2558 ●ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 ข้อมูล ณ วันที่ 24 มีนาคม 2559

3 โครงการลดปัญหาภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนในเด็กวัยเรียน
สถานการณ์ ผลการดำเนินงาน ปัจจัยความสำเร็จ/ความล้มเหลวในการดำเนินงาน แนวทาง/แผนการดำเนินงานในการปรับปรุงงาน 6 ด.หลัง Best Practice ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ในเด็กวัยเรียน อายุ 5-14 ปี ปีการศึกษา 2558 ภาคเรียนที่ พบร้อยละ 12.5 แยกเป็นรายเขตสุขภาพ พบสูงสุดเขต 4 สระบุรี ร้อยละ 17.5 รองลงมาคือ เขต 5 ร้อยละ 16.6 และเขต 3 ร้อยละ 15.8 ภาคเรียนที่ 2 พบร้อยละ 12.2 แยกเป็นรายเขตสุขภาพ พบสูงสุดเขต 4 สระบุรี ร้อยละ 16.3 รองลงมาคือ เขต 5 ราชบุรี ร้อยละ 15.6 และเขต 3 นครสวรรค์ ร้อยละ 15.2 (ที่มา : 1.ข้อมูลจากระบบ HDC สนย.ปี 2559 2.ตก2. รอบที่ 1 ปี2559) 1) มีการคัดกรองนร.ในรร. ที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน >10% 54 จว. 5,215 รร. 2) นร.ได้รับการคัดกรอง 2.38 ล้านคน พบภาวะ เริ่มอ้วนและอ้วน จำนวน 290,887 คน (12.2 %) 3) มีการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการจัดการน้ำหนักเด็ก วัยเรียน ดังนี้ ครู ก. = 752 คน ครู ข. = 1368 คน แกนนำนร. = 303 คน 4) เด็กอ้วนกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรอง obesity sign และส่งต่อ 27 คน 5) มีแผนการเรียนรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพ 15 เรื่อง 5.1 มีรร.ที่นำแผนการเรียนรู้ : การ ส่งเสริมสุขภาพไปใช้ =1,939 แห่ง (4 เขต) 6) มีสื่อนวัตกรรมด้านการจัดการภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน 6.1 คู่มือแนวทางการคัดกรองแก้ปัญหาเด็กอ้วนกลุ่มเสี่ยงในสถานศึกษา สถานบริการสาธารณสุข และคลินิก DPAC 6.2 รูปแบบการจัดการน้ำหนักเด็กวัยเรียนที่ดี ปัจจัยความสำเร็จ -งานตามนโยบาย ของรัฐบาล กระทรวง กรม - มีการบูรณาการทำงานร่วมกันกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ความล้มเหลว - ระบบฐานข้อมูลภาวะโภชนาการยังขาดคุณภาพด้านการบันทึกข้อมูล ความครอบคลุมและล่าช้า - ระบบการคัดกรอง ส่งต่อเด็กอ้วนกลุ่มเสี่ยงในระบบ Service plan ยังไม่รองรับ สำหรับกลุ่ม วัยเรียน พัฒนาศักยภาพ ครู ข. และแกนนำนักเรียน ด้านการจัดการน้ำหนักเด็กวัยเรียน (พื้นที่ดำเนินการ) แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการจัดการปัญหาภาวะอ้วนและการคัดกรองเด็กอ้วนกลุ่มเสี่ยง นิเทศ ติดตามเชิงคุณภาพ ระบบการคัดกรอง ส่งต่อ เด็กอ้วนกลุ่มเสี่ยงในสถานบริการสาธารณสุข จ.นครปฐม สิงห์บุรี และสมุทรปราการ

4 ภาพกิจกรรม : การพัฒนาศักยภาพนักจัดการน้ำหนักเด็กวัยเรียน
(Smart Kids Coacher) 4 ภาค สิ่งสนับสนุนการดำเนินงาน

5 งานทันตสาธารณสุข สถานการณ์ ผลการดำเนินงาน/แผนงานโครงการสำคัญ
ปัจจัยความสำเร็จ/ความล้มเหลวในการดำเนินงาน แนวทาง/แผนการดำเนินงานในการปรับปรุงงาน 6 เดือนหลัง Best Practice 1.โครงการพัฒนารร.ต้นแบบการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กและเยาวชนในรร.ตชด. นร.ประถมศึกษาในรร.ตชด. มีฟันแท้ผุเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ตามระดับชั้นที่สูงขึ้น - ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนารร.ต้นแบบการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กและเยาวชนในรร.ตชด. เป็นโครงการที่เกี่ยวเนื่องกับพระราชวงศ์ จึงได้รับความร่วมมืออย่างดีจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ติดตามการดำเนินงานใน 16 รร.เป้าหมายอย่างต่อเนื่อง ระบบการ แปรงฟันคุณภาพในรร. - ครูและบุคลากรสาธารณสุขร่วมกันวางแผนการทำงาน โดยจัดกิจกรรมและปรับเนื้อหาให้เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน 2. โครงการพัฒนาศักยภาพครูและนร.แกนนำในการใช้ละครเป็นสื่อการเรียนรู้ด้านทันตสุขภาพ ละครเป็นศิลปะแขนงหนึ่งที่นักการศึกษายอมรับว่าเป็นเครื่องมือที่นำมาประยุกต์เข้ากับการเรียนการสอนทุกวิชา ส่งผลต่อพัฒนาการด้านสติปัญญา อารมณ์และสังคมของผู้เรียนเป็นอย่างมาก การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และรวบรวมเทคนิคการสอนทันต สุขศึกษาอย่างง่ายผ่านการใช้ละครเป็นสื่อ เกิดจากความร่วมมือของทุกภาคส่วน : ศอ. อบต. สื่อมวลชน และ การมีส่วนร่วมของผปค. ขยายผลสู่รร.เครือข่าย/บูรณาการเข้ากับแผนการเรียนการสอน เครือข่ายละคร จ. นครศรีฯ อุดรธานี สระบุรี ชัยนาท พัทลุง และสระแก้ว

6 ผลการดำเนินงาน/แผนงานโครงการสำคัญ
สถานการณ์ ผลการดำเนินงาน/แผนงานโครงการสำคัญ ปัจจัยความสำเร็จ/ความล้มเหลวในการดำเนินงาน แนวทาง/แผนการดำเนินงานในการปรับปรุงงาน 6 เดือนหลัง Best Practice 3. โครงการนำเสนอและแลกเปลี่ยนกระบวนการดำเนินงานต้นแบบเครือข่ายรร.เด็กไทยฟันดี และ การประชุมวิชาการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้เครือข่ายรร.เด็กไทยฟันดี ปี 2559 จากการดำเนินโครงการด้านทันตสุขภาพมาตั้งแต่ พ.ศ ได้ผลผลิตรร.ที่เป็นแบบอย่างในการเรียนรู้ด้านทันตสุขภาพ จำนวน มาก เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่าง บุคลากรด้านสาธารณสุขและด้านศึกษา และเพื่อให้เกิดการดำเนินการอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน จึงเกิดแนวคิดให้มีการรวมตัวกันเป็นเครือข่ายทำงานร่วมกันด้วยความสมัครใจช่วยเหลือซึ่งกันและกันโดยมีบุคลากรทางสาธารณสุขเป็นพี่เลี้ยงในการดำเนินงาน ให้เกิดการแลกเปลี่ยนแนวคิด กระบวนการ เทคโนโลยี การจัดกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในรร. เพื่อพัฒนาการดำเนินงาน ด้านการส่งเสริมทันตสุขภาพในรร. อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน การนำเสนอและแลกเปลี่ยนกระบวนการดำเนินงานต้นแบบเครือข่ายรร.เด็กไทยฟันดี และการประชุมวิชาการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้เครือข่ายรร.เด็กไทยฟันดี การรวมตัวกันเป็นทีมทำงานด้วยความสมัครใจ ร่วมคิดร่วมทำและออกแบบกิจกรรมด้านทันตสุขภาพ ที่หลากหลายให้กับนร.ตามบริบทพื้นที่ทำให้นร.มีโอกาสเลือกดำเนินกิจกรรมตามที่สนใจ และถนัด รวมทั้งไม่เกิดความเบื่อหน่าย ทำให้ร่วมทำกิจกรรมได้อย่างเต็มที่และส่งผลอย่างเต็มประสิทธิภาพ ขยายต้นแบบเครือข่ายรร.เด็กไทยฟันดีระดับยอดเยี่ยม รร.มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เกิดการพัฒนาระบบการดูแล และส่งเสริมทันตสุขภาพของนร.ในทิศทางที่ถูกต้องและส่งผลประโยชน์สูงสุดต่อนร.อย่างแท้จริง

7 งานอนามัยเด็กวัยเรียนและเยาวชน
โครงการส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพอนามัยเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร (กพด.) สถานการณ์ ผลการดำเนินงาน/แผนงานโครงการสำคัญ ปัจจัยความสำเร็จ/ความล้มเหลวในการดำเนินงาน แนวทาง/แผน การดำเนินงาน ในการปรับปรุงงาน 6 เดือนหลัง Best Practice - น.ร.ตชด.ปฐมวัย ประถมศึกษา เตี้ย ร้อยละ 8, 7 - สามเณรอ้วน ร้อยละ 14 - น้ำไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 83  ส้วม -ไม่สะอาด ร้อยละ 35 - มีกลิ่นเหม็น ร้อยละ 48 -ชำรุด ร้อยละ 21 - ประชุม เยี่ยม จัดสรร - อยู่ระหว่าดำเนินการ สร้าง/ปรับปรุงส้วมรร. เป้าหมาย 39 แห่ง (รร.ตชด.19 แห่ง รร.พระ ปริยัติฯ 12 แห่ง, ศศช. 8 แห่ง) แล้วเสร็จ ก.ย. 2559 - สนับสนุนสื่อบอร์ด นิทรรศการส่งเสริม โภชนาการ สุขอนามัย และบริหารกายสามเณร - ให้ความรู้บริหารกาย และการใช้อุปกรณ์บริหาร กายที่ถูกวิธี - สำรวจกิจวัตรประจำวัน และประเมินภาวะอ้วนและ เริ่มอ้วนของสามเณร ปัจจัยความสำเร็จ - เป็นการสนองงานตาม พระราชดำริ - ความร่วมมือจากภาคี เครือข่าย ความล้มเหลว - การดำเนินงาน ไม่ครอบคลุมสภาพปัญหา - การสนับสนุนไม่ชัดเจน และไม่เพียงพอ - ขาดการบูรณาการงาน ร่วมกันอย่างแท้จริง - ตรวจเยี่ยมเสริมพลัง พัฒนา - ประชุมติดตาม ความก้าวหน้าการ ดำเนินงาน - จัดงานส่งมอบและเปิด ป้ายส้วมสุขอนามัย 5 แห่ง (ภาคเหนือตอนบน และตอนล่าง กลาง อีสาน ใต้) - จัดทำรายงานผลงาน ความสำเร็จ - จัดอบรมให้ความรู้ พฤติกรรมการใช้ส้วมและ สุขอนามัยแก่ครู - พัฒนามาตรฐาน สุขาภิบาลสุขอนามัย ในรร.ตชด จัดทำรายงานผลการ ดำเนินงานตามแผน กพด.10 ปี - จัดทำแผนพัฒนา สุขภาพเด็กและเยาวชน ในถิ่นทุรกันดาร -

8 งานอนามัยเด็กวัยเรียนและเยาวชน
โครงการส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพอนามัยเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร (กพด.) งานอนามัยเด็กวัยเรียนและเยาวชน โครงการเด็กไทยสายตาดี เพื่อเพิ่มโอกาสการเรียนรู้ ตามนโยบายลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ สถานการณ์ ผลการดำเนินงาน/แผนงานโครงการสำคัญ ปัจจัยความสำเร็จ/ความล้มเหลวในการดำเนินงาน แนวทาง/แผน การดำเนินงาน ในการปรับปรุงงาน 6 เดือนหลัง Best Practice - ภาวะสายตาผิดปกติ เป็นสาเหตุของสภาวะ ตาบอดถึง 1 ใน 3 ของเด็กไทย และเป็น สาเหตุของสภาวะตา เลือนราง ร้อยละ 28 - เด็กมีภาวะสายตา ผิดปกติร้อยละ 6.6 และจำเป็นต้องใส่แว่น สายตาร้อยละ 4.1 ซึ่ง การประมาณการใน ภาพประเทศคาดว่าจะ มีเด็กจำเป็นต้องใส่ แว่นสายตาประมาณ 260,000 คน มีกลไกการขับเคลื่อนการดำเนินงานผ่าน CIPO และ Service Plan สาขาตา MOU ความร่วมมือการดำเนินงาน 6 หน่วยงาน รณรงค์และประชาสัมพันธ์ พัฒนาศักยภาพบุคลากร อบรมครู ก จำนวน 215 คน (จักษุแพทย์/พยาบาลเวช ปฏิบัติทางตาจากรพศ./ รพท./รพช.ที่มี Refraction Clinic 115 แห่ง) การจัดทำชุดอุปกรณ์ การตรวจวัดสายตา เพื่อ สนับสนุนการดำเนินงาน - ผลการตรวจคัดกรอง สายตานร.ชั้นป.1 ปีกศ.2558 นร.ได้รับการตรวจสายตา 300,412 คน (ร้อยละ 37.6) ผิดปกติ จำนวน 4,973 คน (ร้อยละ 1.7) ต้องได้รับแว่นสายตา 3,744 คน (ร้อยละ 75.3) - งานตามนโยบาย "ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้" ของรัฐบาล - ความร่วมมือของภาคี เครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ทั้งฝ่ายสาธารณสุข และการศึกษา - มีคทง.ที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญจาก หลายภาคส่วน - มีการบูรณาการ ทำงานร่วมกันกับ หน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง อบรมครู ข (พยาบาลรพช.และรพ.สต.) จากและครู ค. (ครูประจำชั้น ป.1 รร. ทุกแห่ง) งบสปสช. พัฒนาระบบการบันทึกข้อมูลใน Vision 2020 Thailand ร่วมกับ Service Plan สาขาตา -

9 ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพสามเณร
กพด. รอบ 6 เดือนแรก 59 สภาพส้วม สิ่งสนับสนุน สร้าง/ปรับปรุง สื่อสนับสนุน ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพสามเณร บริหารกาย

10 โครงการเด็กไทยสายตาดี
แถลงข่าวโครงการฯ โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข (ศาสตราจารย์คลินิกเกียรติคุณ นายแพทย์ปิยะสกล สกลสัตยาทร) และ MOU วันที่ 21 ธันวาคม 2559 ณ โรงแรมแอมบาสเดอร์ สุขุมวิท กทม. เปิดตัวของขวัญปีใหม่และวันเด็ก Kick off ตรวจสายตาพร้อมกันทั่วประเทศ อบรมครู ก (จักษุแพทย์/พยาบาลเวชปฏิบัติทางตา)

11 ขอบคุณ และสวัสดีค่ะ


ดาวน์โหลด ppt ผลการดำเนินงาน 6 เดือน กลุ่มวัยเรียน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google