งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และการจัดการสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และการจัดการสุขภาพ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และการจัดการสุขภาพ
สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ ปีงบประมาณ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 12 คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และการจัดการสุขภาพ สตรี/ เด็กปฐมวัย วัยเรียน/วัยรุ่น ผู้สูงอายุ พชอ. ลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ

2 เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดาไทย ปีงบประมาณ 2560 – 2561(มิ.ย.)
เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดาไทย ปีงบประมาณ 2560 – 2561(มิ.ย.) (เป้าหมาย : อัตราส่วนการตายมารดา ไม่เกิน 20 ต่อแสนการเกิดมีชีพ ) 6 3 3 23 4 7 การตายจากสาเหตุ PPH ลดลง จากปีงบประมาณ ร้อยละ 30 ผลการดำเนินงาน : การตายจากสาเหตุ PPH, PIHลดลง ร้อยละ 7.14 (ตุลาคม 60-กรกฎาคม61) ปี 60 ตาย 21 ราย PPH 5 ราย = ร้อยละ23.8 ปี 61 ตาย 24 ราย PPH 4 ราย = ร้อยละ ลดลง =7.14 ปี 60 ตาย 21 ราย PIH 5 ราย = ร้อยละ23.8 ปี 61 ตาย 24 ราย PIH 4 ราย = ร้อยละ ลดลง =7.14 ทีมา : ศูนย์อนามัยที่ 12 ยะลา เป้าหมาย : การตายจากสาเหตุ PPH ลดลง จากปีงบประมาณ ร้อยละ 30 ผลการดำเนินงาน : การตายจากสาเหตุ PPH ลดลง ร้อยละ 7.14 (ตุลาคม 60-กรกฎาคม61) PPH เป้าหมาย : การตายจากสาเหตุ PIH ลดลง จากปีงบประมาณ ร้อยละ 30 ผลการดำเนินงาน : การตายจากสาเหตุ PIH ลดลง ร้อยละ (ตุลาคม 60- กรกฎาคม61) PIH 2

3 ขับเคลื่อนนโยบายผ่าน MCH board อย่างเป็นระบบ
ระบบ Zoning และเครือข่ายต้องแข็งแรงง ระบบบริการ ANC/LR/PP ที่มีคุณภาพ Best Practice Key Success What Next ? มีถุงตวงเลือดในการเฝ้าระวัง PPH ทุกโรงพยาบาล ปัจจัยที่ทำให้จ.ดำเนินงานสำเร็จ 1.ตรัง พัทลุง พัฒนาระบบ Seamless referal system ระบบส่งต่อแบบไร้รอยต่อ และไม่มีแม่ตาย 2.ปัตตานี นราธิวาส พัฒนาระบบ โซนนิ่งสูติแพทย์ แล ะ เ ครือข่าย เ ข้ ม แ ข็ง 3. จ.ปัตตานี /จ. นราธิวาส มีความเข้มแข็งสามารถขับเคลื่อนและแสดงเจตจำนงขอรับการรับรองคุณภาพเครือข่ายแม่และเด็กระดับจังหวัด PNC 4.ทีมจ.พัทลุง ทีม.พยาบาลห้องคลอด จ.ปัตตานี เยี่ยมเสริมพลังรับรองคุณภาพมาตรฐานแม่และเด็กสร้างสถานการณ์จำลองภาวะวิกฤติทางสูติเพื่อลดความเสี่ยงมารดาตาย 5. พัฒนาระบบ Seamless referral system มีการบริหารจัดการหญิงตั้งครรภ์ที่มีปัจจัยเสี่ยงรวมทั้ง ANC High Risk มีการบูรณาการฐานข้อมูลจากทะเบียนราษฎร์ สปสช. HDC

4 ผลการดำเนินงาน ต.ค.2560 – พ.ค.2561 เด็กอายุ 9, 18, 30 และ 42 เดือน ร้อยละสมวัย เขตสุขภาพที่ 12
เป้าหมายร้อยละ 85 ที่มา : รายงาน HDC ณ วันที่ 18 กรกฎาคม 2561

5 ตัวชี้วัดที่ 2 : ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย
ผลการดำเนินงาน ต.ค.2560 – พ.ค.2561 เด็กอายุ 9, 18, 30 และ 42 เดือน ร้อยละความครอบคลุมการคัดกรอง เขตสุขภาพที่12 เป้าหมายร้อยละ 90 ที่มา : รายงาน HDC ณ วันที่ 18 กรกฎาคม 2561

6 ผลการดำเนินงาน ต.ค.2560 – พ.ค.2561 เด็กอายุ 9, 18, 30 และ 42 เดือน ร้อยละสงสัยล่าช้าการคัดกรอง เขตสุขภาพที่ 12 เป้าหมายร้อยละ 20 ที่มา : รายงาน HDC ณ วันที่ 18 กรกฎาคม 2561

7 ผลการดำเนินงาน ต.ค.2560 – พ.ค.2561 เด็กอายุ 9, 18, 30 และ 42 เดือน ร้อยละความติดตามการคัดกรอง เขตสุขภาพที่ 12 เป้าหมายร้อยละ 100 ที่มา : รายงาน HDC ณ วันที่ 18 กรกฎาคม 2561

8 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วนและส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี
ตัวชี้วัดที่3 : ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วนและส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วนและส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี เป้าหมายสูงดีสมส่วนร้อยละ 54 ที่มา : รายงาน HDC ณ วันที่ 18 กรกฎาคม 2561 (ไตรมาส 3)

9 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ผอม,เตี้ย,อ้วน
ตัวชี้วัดที่3 : ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วนและส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ผอม,เตี้ย,อ้วน ที่มา : รายงาน HDC ณ วันที่ 18 กรกฎาคม 2561 (ไตรมาส 3)

10 การติดตามงานตามลำดับขั้นอย่างต่อเนื่อง
การตรวจสอบข้อมูลและคืนข้อมูลพัฒนาการอย่างสม่ำเสมอ สื่อสารมหัศจรรย์ 1000 วันแรกของชีวิตให้ทั่วถึงทุกพื้นที่ .กำหนดเรื่องการเจริญเติบโตเด็กปฐมวัยเป็นวาระเขต/จังหวัด และเร่งรัดการดำเนินการ และการบันทึกข้อมูล Key Success What Next?

11 ข้อค้นพบ โอกาสพัฒนา เด็กปฐมวัยในเขต 12 มีภาวะทุพโภชนาการสูง
ความครอบคลุมการเฝ้าระวังการเจริญเติบโตต่ำ กำหนดเป็นวาระเขต/จังหวัด ทบทวนระบบการเฝ้าระวังการเจริญเติบในชุมชน สื่อสารมหัศจรรย์ 1000 วันแรกของชีวิตให้ทั่วถึงทุกพื้นที่

12 ร้อยละเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน : เป้าหมายร้อยละ 68
ร้อยละของเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน เขตสุขภาพที่ 12 ปีงบประมาณ 2561 เป้าหมาย ร้อยละ 68 ข้อมูลภาวะโภชนาการ เขตสุขภาพที่ 12 สูงดีสมส่วน ร้อยละ 63.58 เริ่มอ้วนและอ้วน ร้อยละ 8.34  (สูงสุด จังหวัด พัทลุง ตรัง สตูล) ผอม ร้อยละ 4.94  เตี้ย ร้อยละ 8.37  (สูงสุด จังหวัด นราธิวาส ปัตตานี ยะลา) การคัดกรองเด็กอ้วนกลุ่มเสี่ยง obesity sign ประกอบด้วย 1) รอยปื้นดำที่คอและรอบรักแร้ 2) นักเรียนนั่งหลับในเวลาเรียนเป็นประจำ 3) สอบถามข้อมูล : ผู้ปกครองเรื่องการนอนกรน และการหยุดหายใจขณะหลับของนักเรียน 4) สอบถามผู้ปกครองประวัติความเจ็บป่วยบุคคลในครอบครัว : เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ กรณี พบตั้งแต่ 3 ใน 4 ข้อโรงเรียนส่งต่อสถานบริการสาธารณสุขในพื้นที่รับผิดชอบโรงเรียน/ระบบ ช่วยเหลือนักเรียน PM วัยเรียนระดับจังหวัด/อำเภอ/รพ.สต. ควรติดตามกำกับ และเยี่ยมเสริมพลัง เพื่อกระตุ้น/ให้คำปรึกษาแก่โรงเรียนในการนำโปรแกรม นักจัดการน้ำหนัก (Smart Kids Coacher) สู่การปฏิบัติอย่างจริงจัง รณรงค์ส่งเสริมให้เด็ก วัยเรียนสูงดีสมส่วน ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ (โภชนาการ กิจกรรมทางกาย และการนอนหลับ) ทางสื่อผ่านช่องทางต่างๆ อย่างต่อเนื่อง โดยการใช้ชุดสื่อการเรียนรู้อย่างง่ายๆ NUPETHS ที่มา : รายงาน HDC เทอม 2/60 ณ วันที่ 31 ก.ค. 61

13 Best Practice Key Success What Next? ผู้บริหารโรงเรียนให้ความสำคัญ และดำเนินงานร่วมกันอย่างเป็นระบบระหว่าง โรงเรียน สาธารณสุข และชุมชน รร.บ้านบาโงย จ.ยะลา ต้นแบบการจัดอาหารตามหลักโภชนาการ และรร.ต้นแบบสุขบัญญัติ โดยการดำเนินงานอย่างมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง และชุมชน อย่างเข้มแข็ง รร. จุลสมัย จ.สงขลา ร่วมดำเนินงานกับรพ.สงขลา ในการแก้ไขปัญหาภาวะอ้วน โดยการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย และการคัดกรอง ส่งต่อเด็กอ้วนกลุ่มเสี่ยง ขับเคลื่อนเรื่อง การเฝ้าระวังภาวะการเจริญเติบโต การจัดอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ และการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย สู่การปฏิบัติอย่างจริงจัง และกำกับติดตามอย่างต่อเนื่อง พัฒนาระบบการคัดกรองส่งต่อเด็กอ้วนกลุ่มเสี่ยง โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน เกินร้อยละ 10 นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน มีความรู้ความเข้าใจด้านโภชนาการของเด็กและเห็นประโยชน์และมีความรู้สึกร่วมเป็นเจ้าของโครงการ ก่อให้เกิดความร่วมมือกับโรงเรียนในด้านต่าง ๆ นำไปสู่ชุมชนเข้มแข็งและพัฒนาสุขภาพที่ยั่งยืน

14 ร้อยละเด็ก 12 ปี ฟันดี ไม่มีผุ (Cavity Free) : เป้าหมายร้อยละ 54
ร้อยละโรงพยาบาลที่ตรวจผ่านเกณฑ์ความน่าเชื่อถือ เขต 12 มีจังหวัดที่น่าจะสามารถดำเนินการตรวจช่องปาก เด็กอายุ ๑๒ ปี ผ่านเกณฑ์ความน่าเชื่อถือ (๖๐%) .ในระดับใช้ได้ ๔ จังหวัด ได้แก่ สงขลา สตูล ตรัง และยะลา จังหวัดปัตตานีนั้นจากการสอบถามพบว่า ตรวจแต่ไม่ลงข้อมูล จึงยังไม่มีผลงานที่ยืนยันได้ ควรปรับปรุงในปีต่อไป ในด้านการให้บริการเพื่อเพิ่มอัตราฟันดีไม่มีผุ มีการดำเนินการในทุกจังหวัด ส่วนใหญ่ค่อนข้างดี โดยเฉพาะปัตตานีที่มีค่า Caries free ต่ำสุดในเขต จึงต้องทำงานมาก สัดส่วนบริการ (คน) ร้อยละ cavity free ใน ๙ เดือนแรก

15 ปัญหาและข้อจำกัด ข้อเสนอแนะ
การวางแผนหมุนเวียนบุคลากร ขวัญกำลังใจ และขาดศักยภาพ ปรับเปลี่ยนการหมุนเวียน หรือ เพิ่มการร่วมมือกันในพื้นที่รอยต่อระหว่างอำเภอ จะทำให้สามารถให้บริการกับประชาชนได้ความครอบคลุมเพิ่มขึ้น รวมถึงการ สร้างขวัญและกำลังใจในเรื่องความมั่นคงและก้าวหน้าของหน้าที่การงาน (ได้รับ การบรรจุ) อีกทั้งยังต้องพัฒนาให้บุคลากรสามารถวิเคราะห์ปัจจัย พื้นที่เสี่ยง และดำเนินควบคุมกำกับได้ บทบาทภาคีเครือข่าย ต้องขอความร่วมมือจากภาคีเครือข่าย เพิ่มขึ้น ผลักดันให้เป็นแม่งานในการ ดำเนินการเพิ่มขึ้น ปรับเปลี่ยนบทบาทจาก Action เป็น Auditor ให้มากขึ้น เช่น จังหวัดสตูล มีการดำเนินการในรูปสมัชชาสุขภาพจังหวัด ระบบบริหารข้อมูล ควรนำข้อมูลจากระบบ HDC มาวางแผนการทำงานล่วงหน้าอย่างถูกต้อง สสจ. ควรเป็นที่ปรึกษาและติดตามผลเป็นระยะ เพื่อปรับแผนการดำเนินงาน ให้ เหมาะสม หากพบปัญหา การบริหารยุทธศาสตร์ และขับเคลื่อนเชิงนโยบาย จังหวัดควรประกาศเข็มมุ่งเดียวกัน เพื่อให้เกิดแนวทางที่ชัดเจนในการทำงาน เน้นการ แปรงฟันที่มีประสิทธิภาพ โดยมีการประเมินอย่างชัดเจน ผลักดันให้เกิดเป็นนโยบาย โรงเรียน เช่นใน ปัตตานี และ สตูล การสื่อสาร มีระบบ Line ที่ใช้ในการสื่อสารอยู่แล้ว แต่บางคนยังขาดการตอบสนองต่อระบบ ควรเน้นให้ใส่ใจถึงการแจ้งข่าวสารต่างๆเพิ่มขึ้น รวมถึงพัฒนาช่องทางติดต่อไปยัง ภาคีอื่นๆที่เกี่ยวข้อง การจัดการความรู้และนวัตกรรม มีโรงพยาบาลที่สามารถดำเนินงานที่ดีอยู่แล้ว เช่น รพ.ยะหา รพ.ยะหริ่ง ควรนำมา เป็นต้นแบบให้กับเครือข่ายอื่นๆ เรียนรู้ร่วมกันเพื่อขยายผลไปยังพื้นที่อื่นๆ

16 อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15 - 19 ปี (เป้าหมาย : ไม่เกิน 40 ต่อ 1,000 ประชากร)
อัตราคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15 – 19 ปี (ไม่เกิน 40 ต่อประชากรหญิง อายุ 15 – 19 ปี 1,000 คน) ร้อยละการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี (ไม่เกินร้อยละ 9.5) ที่มา : ฐานข้อมูล HDC กระทรวงสาธารณสุขวันที่ 30 มิถุนายน 2561

17 ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ
ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ ข้อค้นพบ โอกาสพัฒนา ตั้งครรภ์ซ้ำสูง : คุมกำเนิดกึ่งถาวรต่ำ ปรับทัศนคติและให้ความรู้แก่สามี พ่อแม่ และญาติ เรื่องการเว้นช่วงการมีบุตร เพื่อการดูแลสุขภาพมารดาและบุตร การติดตามเยี่ยมหลังคลอดเพื่อแนะนำให้ใช้วิธีเว้นช่วงระยะการมีบุตรอย่างต่อเนื่อง ขาดการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ รวบรวมข้อมูลเชิงลึก เพื่อนำมาวิเคราะห์ปัจจัย/สาเหตุการตั้งครรภ์ซ้ำ รวมถึงภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ

18 Key Success What Next? Best Practice
การขับเคลื่อน พรบ.การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ ในวัยรุ่น พ.ศ.2559 กระบวนการอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ อ.ย่านตาขาว จ.ตรัง มีการนำ DHS มาใช้ในการแก้ไขปัญหา การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น จ.พัทลุง มีนโยบายการดำเนินงานผ่านยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนตำบลสุขภาวะ โดยกำหนดตัวชี้วัดตำบลอนามัยการเจริญพันธุ์ จัดทำเครื่องมือหรือวิจัย เพื่อศึกษาปัจจัยการตั้งครรภ์/ตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุต่ำกว่า 20 ปี จัดทำแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น

19 สถานการณ์ผู้สูงอายุเขตสุขภาพที่ 12
ประชากรสูงอายุเขต 12 ≈ 5.7 แสนคน คิดเป็นร้อยละ 14.3 อันดับ 1 จังหวัดพัทลุง อันดับ 2 จังหวัดตรัง อันดับ 3 จังหวัดสงขลา สตูล ตรัง พัทลุง สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส 16.5% 20.2% 12.8% 15.7% 12.1% 11.5% 11.1% ประชากรสูงอายุ ≈ 11.8 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 17.8 ร้อยละ

20 ผลการดำเนินงาน 3C (Care manager / Care giver / Care plan) ปี 59 - 60
CM : 87 คน CG : 424 คน CM : 144 คน CG : 620 คน ปี ปี 61 รวม 462 390 852 อัตราส่วน CM ต่อผู้สูงอายุพึ่งพิง 1 : 11 DE : 1,242 คน CP : 1,071 คน DE : 2,529 คน CP : 1,595 คน CM : 226 คน CG : 673 คน Care giver DE : 1,999 คน CP : 1,608 คน ปี ปี 61 รวม 2,468 1,211 3,679 อัตราส่วน CG ต่อผู้สูงอายุพึ่งพิง 1 : 3 CM : 122 คน CG : 540 คน DE : 891 คน CP : 891 คน CM : 72 คน CG : 485 คน Care plan DE : 487 คน CP : 240 คน จำนวนผู้สูงอายุพึ่งพิง จำนวน Care plan ร้อยละ 8,590 6,277 73.1 หมายเหตุ : ปี 2561 อยู่ระหว่างดำเนินการ CM : 94 คน CG : 532 คน CM : 107 คน CG : 405 คน DE : 544 คน CP : 289 คน DE : 898 คน CP : 583 คน

21 ร้อยละตำบลที่ผ่านเกณฑ์ LTC (ต่อจำนวนตำบลทั้งหมด)
ผลการดำเนินงาน Long Term Care จังหวัด สงขลา สตูล ตรัง พัทลุง ปัตตานี ยะลา นราธิวาส รวมเขต ตำบลทั้งหมด 127 36 87 65 115 58 77 565 ตำบลที่เข้าร่วม 74 20 37 51 46 40 333 ร้อยละความครอบคลุม 58.27 55.56 42.53 100.00 44.35 79.31 51.95 58.94 ผลงาน (สะสม) 12 33 45 35 290 ร้อยละ (ตำบลทั้งหมด) 33.33 37.93 69.23 60.34 51.33 ร้อยละตำบลที่ผ่านเกณฑ์ LTC (ต่อจำนวนตำบลทั้งหมด)

22 ความเสี่ยง/ปัญหา อุปสรรค
ข้อเสนอแนะ ( 3c : CM, CG , CP) Care manager มีการโยกย้าย เปลี่ยนงาน ภาระงาน (จัดทำ Care Plan ในบางพื้นที่ มีความล่าช้า) Care Giver บางพื้นที่ มีการลาออก มีภาระ ,ขาดขวัญกำลังใจ Care Plan จัดทำแล้ว, อยู่ระหว่างรอคณะอนุกรรมการLTC ประชุม - สสจ. สสอ.กำกับติดตาม มอบหมาย CM CUP หรือพื้นที่ใกล้เคียง จัดทำ CP  - สสจ.จัดตั้งทีม CM พี่เลี้ยงแบ่ง Zone ติดตาม/เยี่ยมเสริมพลัง - มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของCM , CG - อปท. ไม่เข้าใจขั้นตอนการดำเนินงาน - ไม่มีการจัดตั้งศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุฯ (รอระเบียบการ จัดตั้งศูนย์ฯ จากกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น) - ประสานสปสช.ให้คำแนะนำ ติดตามเฉพาะพื้นที่ - ตั้งคณะกรรมการ LTC ระดับจังหวัด ติดตามแก้ปัญหาร่วมกัน - สสจ. ประสานพื้นที่ต้นแบบ ถอดบทเรียนการดำเนินงาน จัดทำแนวทางของจังหวัด ความครอบคลุม ตำบลที่มีการดำเนินงาน LTC (ร้อยละ 58.94) - อปท. สมัครเข้าร่วมโครงการ LTC น้อย เนื่องจากไม่มั่นใจในระเบียบการเบิกจ่ายงบประมาณกองทุน ขาดความพร้อมในการดำเนินงาน - สสจ. ขยายพื้นที่ดำเนินงาน LTC - สสจ. เชิญชวน อปท.ที่มีความพร้อมสมัคร เพื่อการดูแลผู้สูงอายุครอบคลุม การเบิกจ่าย งบกองทุน LTC ปี 2559 (ร้อยละ 84 ) ปี (ร้อยละ 40) - สสจ. ติดตาม เร่งรัดการเบิกจ่าย - ประสานท้องถิ่นจังหวัด เร่งรัดการดำเนินงาน

23 ส่งเสริมกิจกรรมสร้างความเข้มแข็งชมรมผู้สูงอายุ
ความพร้อมของอปท.และหน่วยบริการ ผู้บริหารให้ความสำคัญ กำกับติดตามอย่างต่อเนื่อง การประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน LTC แก่ อปท. จนท.สธ ทีมพี่เลี้ยง เพื่อรับทราบปัญหาอุปสรรค และเสริมพลังในพื้นที่ ปัจจัย ความสำเร็จ Best Practice 61 What Next ตำบล LTC ดีเด่นระดับเขต ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จ.สงขลา ตำบล LTC ดีเด่นระดับจังหวัด ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จ.พัทลุง ตำบลพิมาน อำเภอเมือง จ.สตูล ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหงโก-ลก จ.นราธิวาส ตำบลท่าสาป อำเภอเมือง จ.ยะลา ตำบลนาเกตุ อำเภอโคกโพธิ์ จ.ปัตตานี ตำบลท่างิ้ว อำเภอห้วยยอด จ.ตรัง (จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากชมรมต้นแบบ,เพื่อนช่วยเพื่อน ส่งเสริมกิจกรรมสร้างความเข้มแข็งชมรมผู้สูงอายุ เร่งรัดการทำ Care plan คุณภาพและเบิกจ่ายจากกองทุน

24 ตัวชี้วัด: ร้อยละ 50 ของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ
ตัวชี้วัด: ร้อยละ 50 ของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)ที่มีคุณภาพ สถานการณ์ ทั้ง 7 จังหวัด 77 อำเภอ มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ พชอ. ตามสัดส่วนที่กำหนด และมีการกำหนดประเด็นการพัฒนา ( 2 อำเภอของจังหวัดพัทลุงที่ยังไม่ได้กำหนดประเด็น ซึ่งมี เป้าหมายดำเนินการให้เสร็จสิ้นภายในสิงหาคม 2520 > %) มาตรการการดำเนินการ : อบรมพัฒนาศักยภาพทีมเลขาฯ พชอ. (สสอ.) ครบ 100 % >>> ทั้งระดับประเทศและเขต และมีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในระดับเขต ปัญหา/โอกาสพัฒนา ข้อเสนอแนะ การประสานงาน/เชื่อมโยงภาคีเครือข่ายในระดับอำเภอ มีความเข้มแข็งที่แตกต่างกัน โดยเฉพาะเขตเมือง ประสาน/ทบทวน ทำความเข้าใจพื้นที่ทุกระดับ

25

26

27 จังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง ร้อยละ 85 (ผลงาน 9 เดือน = ร้อยละ 71.43) จุดเด่นเขต 12 - จังหวัดยะลา ขยายระบบ EOC ไปถึงระดับอำเภอทุกอำเภออย่างเป็นรูปธรรม - พร้อมทั้งมีการประเมินผลทุกอำเภอด้วยตัวชี้วัดเดียวกันกับจังหวัด - จังหวัดมีศูนย์ EOCและทีม SAT ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง - จัดทำแผนเผชิญเหตุ(IAP)สำหรับ EOC 05 04 7 จังหวัด วิเคราะห์ระดับความเสี่ยงสำคัญของโรคและภัยสุขภาพระดับจังหวัด 6 จังหวัด (สงขลา) ทีม SAT สามารถดำเนินงานได้ บุคลากรเพียงพอ 03 6 จังหวัด (สตูล) © Copyright Showeet.com – Creative & Free PowerPoint Templates จัดทีมปฏิบัติการในส่วนภารกิจ Operation Section 02 7 จังหวัด 7 จังหวัด ผู้บัญชาการเหตุการณ์ได้รับการอบรมหลักสูตร ICS สำหรับผู้บริหาร 01 ***จังหวัดสตูลและจังหวัดสงขลามีแผนจะดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในเดือนสิงหาคม

28 อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุน้อยกว่า 15 ปี ไม่เกิน 4
อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุน้อยกว่า 15 ปี ไม่เกิน 4.5 ต่อแสนประชากรเด็ก (ผลงานรอบ 9 เดือน = 3.7 ต่อแสนประชากรเด็ก) อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี จำแนกรายจังหวัด ปี 2561 (มกราคม - มิถุนายน) ที่มา: รายงานการเสียชีวิตจากการจมน้ำเฉพาะราย

29 เป้าหมายทีมผู้ก่อการดี 46 ทีม
อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุน้อยกว่า 15 ปี (ไม่เกิน 4.5 ต่อแสนประชากรเด็ก) เป้าหมายทีมผู้ก่อการดี 46 ทีม จังหวัด เป้าหมาย ไม่เกิน (คน) ผู้เสียชีวิต ปี 2561 (ม.ค.-มิ.ย.) อำเภอที่มีเด็กเสียชีวิต (คน) เป้าหมายทีมผู้ก่อการดี (ทีมใหม่) จำนวนทีมผู้ก่อการดี ทีมใหม่ สงขลา 12 8 จะนะ (3) สทิงพระ (2) เทพา (1) 2 สตูล 5 3 ท่าแพ (1) ควนโดน (1) ละงู (1) ตรัง ห้วยยอด (3) วังวิเศษ (1) นาโยง (1) พัทลุง 1 กงหรา (2) ป่าบอน (1) 4 ปัตตานี 13 ยะรัง (4) มายอ (3) สายบุรี (2) เมือง (2) หนองจิก (2) 9 ยะลา 6 เมือง (4) ยะหา (1) เบตง (1) นราธิวาส เมือง (1) ตากใบ (1) ศรีสาคร (1) 10 เขต 12 45 41 46 24 ปัญหา/อุปสรรค ข้อเสนอแนะ การดำเนินการป้องกันการจมน้ำ (ทีมผู้ก่อการดี) ไม่ครอบคลุมอำเภอเสี่ยง ควรบูรณาการกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) จำนวนผู้เสียชีวิตสูงกว่าเป้าหมาย ควรสอบสวนหาสาเหตุเชิงลึกการเสียชีวิตจากการจมน้ำในเด็กทุกราย และแก้ไขความเสี่ยง

30 อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน ไม่เกิน 16
อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน ไม่เกิน 16.0 ต่อแสนประชากร (ผลงานรอบ 9 เดือน = 10.8 ต่อแสนประชากร) อัตราผู้เสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน จำแนกรายจังหวัด ปี 2561 (มกราคม-มิถุนายน) ที่มา: รายงานข้อมูล 3 ฐาน และรายงานการบาดเจ็บ 19 สาเหตุ

31 อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน (ไม่เกิน 16.0 ต่อแสนประชากร)
เป้าหมาย D-RTI 31 อำเภอ จังหวัด เป้าหมาย ไม่เกิน (คน) ผู้เสียชีวิต ปี 2561 (ม.ค.-มิ.ย.) (คน) อำเภอที่มีผู้เสียชีวิต สูงสุด 3 อันดับ จำนวน อำเภอ D-RTI ปี 2561 D-RTI อำเภอ (ร้อยละจากอำเภอ) สงขลา 320 183 รัตภูมิ, บางกล่ำ, สะเดา 16 6 5 (31.3) สตูล 44 23 ควนโดน, ควนกาหลง, ละงู 7 3 4 (57.1) ตรัง 175 99 เมืองตรัง, ย่านตาขาว, ห้วยยอด 10 4 5 (50.0) พัทลุง 120 60 เขาชัยสน, ศรีนครินทร์, ป่าพยอม 11 4 (36.4) ปัตตานี 53 83 ทุ่งยางแดง, สายบุรี, มายอ 12 5 ยะลา 81 40 บันนังสตา, เมืองยะลา, ยะหา 8 8 (100.0) นราธิวาส 96 47 เมือง, สุไหงโก-ลก, ยี่งอ 13 3 (23.1) เขต 12 889 535 77 31 29 (37.7) ปัญหา/อุปสรรค ข้อเสนอแนะ การขับเคลื่อน D-RTI ไม่ครอบคลุมอำเภอเป้าหมาย - ควรผลักดันเป็นตัวชี้วัดระดับจังหวัด - ควรบูรณาการกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ผ่านกลไกการขับเคลื่อนของคณะกรรมการศูนย์ความปลอดภัยทางถนนระดับอำเภอ (ศปถ.อำเภอ)

32 Pre-DM ตรวจน้ำตาลซ้ำ (1 ต.ค. 60 –30 มิ.ย. 61)
อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ≤ 2.40% (ผลงาน 9 เดือน = ร้อยละ ) ผลการดำเนินงาน - กลุ่มเสี่ยง DM ได้รับการตรวจน้ำตาลซ้ำ ร้อยละ เป็นผู้ป่วยรายใหม่ ร้อยละ 1.13  จังหวัด Pre-DM ตรวจน้ำตาลซ้ำ (1 ต.ค. 60 –30 มิ.ย. 61) รายใหม่จาก กลุ่มเสี่ยง จำนวน (คน) ร้อยละ สงขลา 39,697 93.15 1.13 สตูล 12,575 91.97 1.09 ตรัง 18,610 95.36 1.05 พัทลุง 36,838 95.34 1.41 ปัตตานี 23,833 0.88 ยะลา 10,304 95.06 1.24 นราธิวาส 34,103 93.67 1.03 เขต12 175,960 94.27 ประเทศ 1,694,193 92.59  1.40 ปัญหา/ข้อจำกัด ข้อเสนอแนะ - ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่มาจากกลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 13.42 - ควรวิเคราะห์และจำแนกกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ที่ไม่ได้มาจากกลุ่มเสี่ยง (ร้อยละ 86.58) เพื่อนำไปสู่การพัฒนาระบบบริการ แหล่งข้อมูล : HDC ณ วันที่ 30 มิ.ย. 61

33 อัตราประชากรกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงในเขตรับผิดชอบได้วัดความดันโลหิตที่บ้าน ≥ 10% (ผลงาน 9 เดือน = 17.96% ) จังหวัด จำนวนสงสัยป่วย ผลงาน HBPM รายใหม่ จาก HBPM จำนวน (คน) % สงขลา 18,970 2,911 15.35 6.91 สตูล 4,070 562 13.81 5.10 ตรัง 12,812 3,041 23.74 6.17 พัทลุง 20,595 3,486 16.93 8.81 ปัตตานี 10,726 1,511 14.09 8.66 ยะลา 4,598 1,876 40.80 6.85 นราธิวา ส 13,796 1,984 14.38 7.47 เขต 12 85,567 15,371 17.96 7.34 ประเทศ 875,156 223,907 25.58 6.50 ปัญหา/ข้อจำกัด ข้อเสนอแนะ - จำนวนเครื่องวัดความดันโลหิตอาจไม่เพียงพอ - ควรมีการบริหารจัดการเครื่องวัดความดันโลหิต โดยของบประมาณจากหน่วยงานและภาคีเครือข่ายต่างๆ เช่น สปสช. กองทุนสุขภาพตำบล ภาคประชาชนและเอกชน เป็นต้น แหล่งข้อมูล : HDC ณ วันที่ 30 มิ.ย. 61

34 ตัวชี้วัดติดตาม: ร้อยละของประชาชนวัยทำงานอายุ 30-44 ปี BMI ปกติ (เป้าหมายร้อยละ 55)
ผลการดำเนินงาน ปี 2561 ร้อยละของวัยทำงานอายุ ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติ ปี นราธิวาส 42.67% ยะลา 46.37% ปัตตานี 48.01% สงขลา 44.03% ตรัง 47.69 % พัทลุง 42.31% สตูล 45.43 % น้อยกว่าร้อยละ 55 ที่มา : รายงาน HDC ณ วันที่ 31 ก.ค. 2561

35 ข้อเสนอแนะต่อนโยบาย /ต่อ ส่วนกลาง / ต่อผู้บริหาร ต่อ ระเบียบ กฎหมาย
ตัวชี้วัด ติดตาม: ร้อยละของประชาชนวัยทำงานอายุ ปี BMI ปกติ (เป้าหมายร้อยละ 55) ข้อเสนอแนะต่อนโยบาย /ต่อ ส่วนกลาง / ต่อผู้บริหาร ต่อ ระเบียบ กฎหมาย ข้อค้นพบ โอกาสพัฒนา กระบวนการคืนข้อมูลแก่ ภาคส่วน เครือข่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อการมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาใน ระดับพื้นที่ ยังไม่เป็นระบบ - พัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูล และการคืนข้อมูลแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน ร่วมวิเคราะห์ ข้อมูลผลักดันเพื่อให้เห็นปัญหาร่วมกัน - การขับเคลื่อนการดำเนินงานผ่านคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ผลักดันให้มีแผนการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และพัฒนาระบบการติดตามประเมินผล  ความครอบคลุมในการเข้าสู่กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ของกลุ่มเป้าหมายกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย ในพื้นที่ - พัฒนาระบบการติดตามประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพทั้งกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วย ให้เข้าถึงกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างครอบคลุม - ปรับกลยุทธ์ดำเนินการให้เกิดการบูรณาการให้เอื้อต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อส่งเสริม สุขภาพ ป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ประชาชนกลุ่มเป้าหมายยังขาดความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และการมีกิจกรรมทางกาย การเคลื่อนไหวออกแรง พัฒนาการสร้าง health literacy พัฒนาสื่อ เพื่อการสื่อสารข้อมูลข่าวสาร ที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย เข้าใจง่าย และทันสมัย เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อสุขภาพที่ดี - ขับเคลื่อนการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อ และกำหนดมาตรการทางกฎหมาย เพื่อให้เป็นปัจจัยเอื้อต่อการควบคุมโรควิถีชีวิต ตลอดจนการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพเชิงรุก เปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนของสังคมเข้ามามีส่วนร่วม - จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รวบรวม นวัตกรรมเด่น แหล่งเรียนรู้ และการสร้าง health literacy ตลอดจนการจัดเวทีในการเสริมสร้างแรงจูงใจแก่ผู้ปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง - พัฒนาระบบการติดตามประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพทั้งกลุ่มปกติ /กลุ่มเสี่ยง /กลุ่มป่วยให้เข้าถึงกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ได้อย่างครอบคลุม โดยพัฒนาการดึงข้อมูลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จากฐานข้อมูล 43 แฟ้ม เพื่อการติดตาม กำกับ ในระบบ HDC - ระดับนโยบายควรบูรณาการการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรม ในการสร้างสุขภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค ที่ดำเนินการในชุมชน และองค์กร/หน่วยงาน/สถานประกอบการ ตลอดจนบูรณาการเกณฑ์มาตรฐานโดยเน้นกระบวนการ และผลลัพธ์สุขภาพของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย

36 ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital)
สรุปผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ผลการดำเนินงาน เป้าหมาย (แห่ง) ผลงาน (แห่ง) ร้อยละ ช่วง 9 เดือน โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ฯ ระดับพื้นฐานขึ้นไป ร้อยละ 100 83 100.00 ผ่าน ช่วง 12 เดือน โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ฯ ระดับดีมาก ร้อยละ 20 22 26.51 ระดับพื้นฐานขึ้นไป ร้อยละ 100 จังหวัดตรัง พัทลุง และปัตตานี ผลงานรอบ 12 เดือน ยังไม่ได้ตามเป้าหมายที่กำหนด ซึ่งขณะนี้ยังอยู่ระหว่างรอรับรองระดับดีมาก เนื่องจากศูนย์อนามัยร่วมกับสสจ.ปัตตานีประเมินแล้วยังพบประเด็นที่ต้องปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติม ตรัง มีเป้าหมายจำนวน 1 แห่ง รพ.ตรัง พัทลุง มีเป้าหมายจำนวน 2 แห่ง รพ.ศรีนครินทร์ฯ และรพ.บางแก้ว ปัตตานี มีเป้าหมายจำนวน 2 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลธัญญารักษ์ปัตตานี และโรงพยาบาลปัตตานี ตรัง เพิ่มระดับดีมาก 1 แห่ง พัทลุง เพิ่มระดับดีมาก 2 แห่ง ปัตตานี เพิ่มระดับดีมาก 1 แห่ง ขณะนี้อยู่ระหว่างรอรับรองระดับดีมาก ที่มา : รายงานจากศอ.12ยะลา ณ วันที่ 25 ก.ค. 61

37 ข้อเสนอแนะต่อการดำเนินงาน GREEN & CLEAN Hospital ของระดับจังหวัด
จากการตรวจเยี่ยมโรงพยาบาล ยังพบประเด็นต้องพัฒนาเพื่อให้ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด ประเด็นที่พบ ข้อเสนอแนะ การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ ภาชนะบรรจุมูลฝอยติดเชื้อไม่มีเครื่องหมายและข้อความที่บ่งบอกว่าเป็นภาชนะบรรจุมูลฝอยติดเชื้อ ขาดความต่อเนื่องในการรายงานข้อมูลปริมาณมูลฝอยติดเชื้อของรพ. และรพ.สต. การจัดการมูลฝอยทั่วไป ผู้มารับบริการทิ้งมูลฝอยไม่ถูกประเภทตามภาชนะที่จัดวางไว้ - ให้ดำเนินการตามมาตรฐานการจัดการมูลฝอยติดเชื้อตามกฎกระทรวงว่าด้วยการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ พ.ศ.2545 - ให้ผู้รับผิดชอบงานของโรงพยาบาลมีการรายงานข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน และรายงานข้อมูลให้แก่รพ.สต.(ผู้ฝากส่ง) ด้วย - สร้างความตระหนักและประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ การพัฒนาส้วมสาธารณะ พื้นห้องส้วม และสุขภัณฑ์ในห้องส้วมไม่สะอาด เช่น โถส้วม ก๊อกน้ำ และอ่าล้างมือ เป็นต้น - เพิ่มมาตรการในการกำกับการทำความสะอาด และควรดำเนินการตามมาตรฐานส้วมสาธารณะไทย(HAS) สะอาด เพียงพอ และปลอดภัย การจัดการด้านพลังงาน มาตรการยังไม่เป็นรูปธรรมที่ชัดการ และยังขาดการวิเคราะห์ข้อมูล - กำหนดมาตรการประหยัดพลังงานที่เป็นรูปธรรม และมีการวิเคราะห์ข้อมูลการใช้พลังงาน ได้แก่ ไฟฟ้า น้ำ และเชื้อเพลิง ข้อเสนอแนะต่อการดำเนินงาน GREEN & CLEAN Hospital ของระดับจังหวัด - ควรมีการส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม GREEN โดยการนำไปใช้ประโยชน์และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเครือข่ายรพ.และชุมชน - กำกับ ติดตาม และประเมินดำเนินงาน GREEN & CLEAN Hospital อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดความยั่งยืน

38 ผลงานนวัตกรรมที่ส่งเข้าร่วมในครั้งนี้ จำนวน 18 ผลงาน
กิจกรรมเด่น : การประกวดนวัตกรรม GREEN & CLEAN Hospital ปี 2561 (ระดับเขต) ผลงานนวัตกรรมที่ส่งเข้าร่วมในครั้งนี้ จำนวน 18 ผลงาน โดยศูนย์อนามัยที่ 12 ยะลา ร่วมกับเขตสุขภาพที่ 12 ได้ตัดสินผลงานดังนี้ รางวัลชนะเลิศ ชื่อผลงาน เรื่องสิ่งเล็กๆที่เรียกว่าขยะ เจ้าของผลงาน โรงพยาบาลระโนด จังหวัดสงขลา รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 ชื่อผลงาน การพัฒนามาตรฐานสุขาภิบาลอาหารต้นแบบครัวโรงพยาบาลสู่ครัวโรงเรียนตาม บริบทของพื้นที่ เจ้าของผลงาน โรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา จังหวัดนราธิวาส รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 2 ชื่อผลงาน รวมพลังบางกล่ำสีเขียว (GREEN Ranger) เจ้าของผลงาน โรงพยาบาลบางกล่ำ จังหวัดสงขลา หมายเหตุ : การประกวดนวัตกรรม GREEN & CLEAN Hospital ยังคงมีต่อเนื่องในปี 2562

39 ปัจจัยความสำเร็จ/ผลงานเด่น
หัวข้อ: การคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ตัวชี้วัด: ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด (96%) เขต 12: อาหาร ยา เครื่องสำอางผ่านการตรวจสอบได้มาตรฐานร้อยละ 94.05 ปัจจัยความสำเร็จ/ผลงานเด่น การดำเนินงานอย.น้อย เป็นแกนนำสร้างความตระหนักรู้ในการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์ไม่ปลอดภัย การดำเนินงานเฝ้าระวังเชิงรุกของสสจ. และภาคีเครือข่าย จัดตั้งห้องปฏิบัติการชุมชนต้นแบบ ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (ตรัง) ตรัง พัทลุง สตูล สงขลา ยะลา ปัตตานี นราธิวาส ปัญหา/ข้อจำกัด ข้อเสนอแนะ ความยุ่งยากในการส่งตัวอย่าง การเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบ ทำให้เกิดความคลาดเคลื่อนในการบังคับใช้กฎหมาย ส่วนกลางจัดทำแผนการส่งตัวอย่างให้ง่ายต่อการบริหารจัดการ ทำความเข้าใจกฎระเบียบต่างๆ เป็นลำดับขั้นจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา และสาธารณสุขจังหวัดมายังผู้ประกอบการเพื่อให้เกิดการปฏิบัติที่ถูกต้องและบังคับใช้กฎหมายได้

40 ปัจจัยความสำเร็จ/ผลงานเด่น
หัวข้อ: การคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ตัวชี้วัด: ร้อยละ 90 ของผลิตภัณฑ์นมโรงเรียน ณ สถานที่ผลิต มีคุณภาพมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด เขต 12: ผลิตภัณฑ์นมโรงเรียน ณ สถานที่ผลิต มีคุณภาพมาตรฐานร้อยละ 94.05 สถานการณ์ เขต 12 มีสถานที่ผลิตนมโรงเรียน 4 แห่งใน 3 จังหวัด คือ พัทลุง (1) สงขลา (2) และยะลา (1) สสจ.ตรวจสอบสถานที่ผลิต และร่วมกับผู้ประกอบการเก็บตัวอย่าง ผลการดำเนินงาน - นมโรงเรียนทั้ง 3 จังหวัด ผ่านมาตรฐาน 95.83% (23/24) รอผลวิเคราะห์ 2 ตัวอย่าง - นมโรงเรียนที่ไม่ผ่านมาตรฐาน 1 ตัวอย่าง สสจ.ได้แนะนำปรับปรุงกระบวนการผลิต และเก็บตัวอย่างซ้ำ ผ่านมาตรฐานแล้ว ปัจจัยความสำเร็จ/ผลงานเด่น ความร่วมมือในการส่งเสริมผู้ประกอบการจากทุกภาคส่วน เช่นปสุสัตว์จังหวัด เป็นต้น ผู้ประกอบการให้ความร่วมมือในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ได้มาตรฐาน และปลอดภัยกับผู้บริโภค กลไกการดำเนินงานของ milk board มีความเข้มแข็ง ส่งเสริมการดำเนินงานและควบคุมกำกับการผลิตนมโรงเรียน ตรัง พัทลุง สตูล สงขลา ยะลา ปัตตานี นราธิวาส ปัญหา/ข้อจำกัด ข้อเสนอแนะ - ระบบ cold chain ของนมโรงเรียนบางพื้นที่ยังไม่ได้มาตรฐาน ตั้งแต่การขนส่ง และการตรวจรับนมที่โรงเรียน บูรณาการให้มีกิจกรรมสารวัตรนมโรงเรียนในโครงการอย.น้อยอย่างครอบคลุมทุกโรงเรียน ให้แกนนำนักเรียนตรวจสอบคุณภาพนมก่อนรับประทาน ใช้กลไก milk board สร้างข้อกำหนดเกี่ยวกับมาตรฐานการขนส่ง และตรวจสอบนมโรงเรียนตลอดขั้นตอนการผลิตและการขนส่ง

41 สถานพยาบาลทั้งหมด (แห่ง) สถานพยาบาลรายใหม่ได้รับการตรวจผ่านเกณฑ์
สถานพยาบาลเอกชน (รายใหม่) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด (ร้อยละ 100) จังหวัด จำนวน สถานพยาบาลทั้งหมด (แห่ง) สถานพยาบาล รายใหม่ (แห่ง) สถานพยาบาลรายใหม่ได้รับการตรวจผ่านเกณฑ์ ตรัง 254 11 11(100%) พัทลุง 152 8 8 (100%) สงขลา 295 23 23 (100%) สตูล 82 4 4 (100%) ปัตตานี 117 16 15 (93.75%) ยะลา 121 6 6 (100%) นราธิวาส 91 5 5 (100%) รวม 1,112 73 72 (98.63%)

42 สถานประกอบการเพื่อสุขภาพผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด (ร้อยละ 65)
จังหวัด จำนวน สถานประกอบการทั้งหมด (แห่ง) สถานประกอบการ ได้รับการตรวจผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ตรัง 18 16 88.89 พัทลุง 8 2 25 สงขลา 152 104 68.42 สตูล 39 38 97.44 ปัตตานี 11 อยู่ระหว่างดำเนินการตรวจ N/A ยะลา 30 22 73.33 นราธิวาส 17 94.44 รวม 276 199 72.10

43 ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงานไม่บรรลุวัตถุประสงค์ (สถานพยาบาลเอกชน)
ปัญหา/อุปสรรค ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงานไม่บรรลุวัตถุประสงค์ (สถานพยาบาลเอกชน) ปัญหา/อุปสรรค/ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงาน ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ ข้อเสนอแนะ สิ่งที่ผู้ทำหน้าที่ตรวจราชการรับไปประสาน หรือ ดำเนินการต่อ 1. ผู้ประกอบกิจการ/ผู้ดำเนินการส่วนใหญ่รับราชการ ดังนั้น ไม่สามารถตรวจในเวลาราชการได้ 1. วางแผนการตรวจสถานพยาบาลประจำปี และนัดตรวจนอกเวลาในรายที่รับราชการ 2. บันทึกการตรวจมาตรฐานสถานพยาบาลมีการปรับเปลี่ยนอยู่เสมอ ทำให้ขาดความชัดเจนในการปฏิบัติงานและทำให้การทำงานของเจ้าหน้าที่เป็นไปด้วยความยากลำบาก 2. ควรปรับปรุงแก้ไขบันทึกการตรวจมาตรฐานสถานพยาบาลให้เหมาะสมกับการประกอบกิจการสถานพยาบาล

44 ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงานไม่บรรลุวัตถุประสงค์ (สถานพยาบาลเอกชน)
ปัญหา/อุปสรรค ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงานไม่บรรลุวัตถุประสงค์ (สถานพยาบาลเอกชน) ปัญหา/อุปสรรค/ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงาน ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ ข้อเสนอแนะ สิ่งที่ผู้ทำหน้าที่ตรวจราชการรับไปประสาน หรือ ดำเนินการต่อ 3. พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานในระดับจังหวัดและอำเภอยังขาดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายเมื่อเกิดเรื่องร้องเรียนสถานพยาบาลและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการโฆษณาสถานพยาบาล 3. ผู้นิเทศรับข้อเสนอแนะ เสนอต่อกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เพื่อจัดอบรมและสร้างความเข้าใจกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการโฆษณาสถานพยาบาล ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน

45 ปัญหา/อุปสรรค ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงานไม่บรรลุวัตถุประสงค์ (สถานประกอบการเพื่อสุขภาพ) ปัญหา/อุปสรรค/ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงาน ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ ข้อเสนอแนะ สิ่งที่ผู้ทำหน้าที่ตรวจราชการรับไปประสาน หรือ ดำเนินการต่อ 1. ผู้ประกอบการบางรายขาดงบประมาณในการพัฒนาสถานประกอบการให้ได้ตามมาตรฐาน 1. แนะนำให้ทำความเข้าใจกับผู้ประกอบการให้เห็นถึงผลดีและประโยชน์ของการปรับปรุงสถานที่ให้ได้มาตรฐาน 2. ผู้ประกอบการในพื้นที่เกาะไม่มีความสะดวกในการมายื่นขออนุญาต ขอให้เจ้าหน้าที่ลงไปให้บริการในพื้นที่ (จ.สตูล) 2. ผู้นิเทศรับขอเสนอแนะเสนอต่อกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เพื่อจัดสรรงบประมาณเพิ่ม ปัญหา/อุปสรรค ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงานไม่บรรลุวัตถุประสงค์ (สถานประกอบการเพื่อสุขภาพ)

46 ปัญหา/อุปสรรค ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงานไม่บรรลุวัตถุประสงค์ (สถานประกอบการเพื่อสุขภาพ) ปัญหา/อุปสรรค/ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงาน ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ ข้อเสนอแนะ สิ่งที่ผู้ทำหน้าที่ตรวจราชการรับไปประสาน หรือ ดำเนินการต่อ 3. แนวทางการดำเนินการของสถานประกอบการเพื่อสุขภาพไม่ชัดเจน กฎหมายที่ออกมากับแนวทางไม่สอดคล้องกันทำให้ผู้ประกอบการเสียผลประโยชน์และทำให้เจ้าหน้าที่ทำงานซ้ำซ้อน 3. ให้กรม สบส. เร่งดำเนินการเกี่ยวกับกฎหมายและแนวทางที่เกี่ยวข้องให้ชัดเจน 4. สถาบันการสอนนวดที่หลักสูตรได้รับการรับรองจากกรมสนับสนุนบริการสุขภาพหาผลประโยชน์ในการออกใบประกาศ 4. ผู้นิเทศรับข้อเสนอแนะ เพื่อเสนอต่อกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เพื่อตรวจสอบและเฝ้าระวังสถาบันการนวดที่ได้รับการรับรอง

47 อบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และการจัดการสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google