งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติ ระดับกระทรวง รอบที่ 2 ประจำปี 2562 คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ People Finance Manangement Excellence Governance จังหวัดชัยนาท 10-12 กรกฎาคม 2562

2 เขตสุขภาพ ระบบธรรมาภิบาล
ร้อยละของเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการกำลังคนที่มีประสิทธิภาพ HRH Transformation จำนวนหน่วยงานที่เป็นองค์กรแห่งความสุข เขตสุขภาพมีการดำเนินงาน Digital Transformation Digital Transformation มีการใช้ Application สำหรับ PCC ใน PCC ทุกแห่ง ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤติทางการเงินระดับ 7 ≤ ร้อยละ 4 Financial Management ร้อยละของ รพ. สังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีคุณภาพมาตรฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น 3 Quality Organization ร้อยละความสำเร็จของส่วนราชการในสังกัด สป.ที่ดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐผ่านเกณฑ์ที่กำหนด เขตสุขภาพ ร้อยละของเขตสุขภาพที่มีนวัตกรรมการบริหารจัดการ ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA ระบบธรรมาภิบาล ระดับความสำเร็จของหน่วยงานสังกัด สป. มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด

3 HRH Transformation ตัวชี้วัดที่ 1
ร้อยละของเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการกำลังคนที่มีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัดที่ 2 จำนวนหน่วยงานที่เป็นองค์กรแห่งความสุข

4 จังหวัดชัยนาท เขตสุขภาพที่ 3
รายงานผลการตรวจราชการและนิเทศงาน เขตสุขภาพ(จังหวัด)ที่มีการบริหารจัดการกำลังคนที่มีประสิทธิภาพ จังหวัดชัยนาท เขตสุขภาพที่ 3 การตรวจราชการ รอบที่ 2/2562 คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ สนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ รายงานโดย คณะตรวจราชการและนิเทศงานของกอง บค. ประจำเขตสุขภาพที่ 3 รายงาน ณ วันที่ 12 กรกฎาคม 2562

5 แผนความก้าวหน้าในสายอาชีพ จำนวนการสูญเสีย 61 คน (2.65%)
ตัวชี้วัด: ร้อยละของเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการกำลังคนที่มีประสิทธิภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 (มีข้อมูล มีแผนการบริหารตำแหน่ง มีการดำเนินการตามแผน และบุคลากรสาธารณสุขเพียงพอ ≥ ร้อยละ 71) ที่มา : แบบฟอร์มรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดฯ จังหวัดชัยนาท ประเด็นที่ 1 มีข้อมูล 1.1 ข้อมูลบุคลากรสาธารณสุขเป็นปัจจุบัน ประเด็นที่ 2 มีแผนการบริหารตำแหน่ง* เขตสุขภาพมีแผนกำลังคน ดังนี้ แผนกำลังคนและแผนบริหารตำแหน่ง แผนความก้าวหน้าในสายอาชีพ แผนสรรหาเชิงรุก แผนพัฒนาบุคลากร ประเด็นที่ 3 มีการดำเนินการตามแผน (เกณฑ์ ≤ 3%) ร้อยละตำแหน่งว่างคงเหลือ ตำแหน่งว่างคงเหลือ (ข้าราชการ + พนักงาราชการ) (99 + 9) 7.24 % 1. ใบประกอบวิชาชีพ (13 สายงาน) 2. วุฒิการศึกษา (ขรก./พรก.) (วุฒิในตำแหน่ง) 3. จำนวนหน่วยงานที่บันทึก คำสั่งเลื่อนเงินเดือน (ขรก.) (คำสั่งรอบ 1 เม.ย. 62) 97.39% 100% ครบทุกหน่วยงาน 969 คน / 995 คน 1,384 คน 108 ตำแหน่ง 1.2 มีการรายงานข้อมูลบุคลากร จำนวนการสูญเสีย 61 คน (2.65%) (2,298 คน) จำนวนบุคลากร ที่ปฏิบัติงานจริงทั้งหมด 2,193 คน ผลการประเมินในเบื้องต้น สาเหตุการสูญเสียบุคลากร ประเด็นที่ 4 บุคลากรสาธารณสุขเพียงพอ เกณฑ์ ≥ 71% สายงานให้บริการทางการแพทย์ ยกเว้น สายขาดแคลนสูง 100% กรอบอัตรากำลัง 1,998 คน ปฏิบัติงานจริง 1,331 คน ขาดจากกรอบฯ 667 คน บุคลากรสาธารณสุขเพียงพอ ร้อยละ 66.62 ขรก. (1,304 คน) พรก. (80 คน) พกส. (520 คน) ลจค. (181 คน) ลจป. (108 คน) ลาออก 61 คน ‹70 คะแนน 1.3 มีการใช้ประโยชน์จากข้อมูลบุคลากรสาธารณสุข* ให้จังหวัดส่งเอกสาร/หลักฐานเพิ่มเติม ในประเด็นที่ 1.3 และ ประเด็นที่ 2 การบริหารตำแหน่ง สนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร การวางแผนกำลังคน การวิเคราะห์ภาระงาน คณะตรวจราชการและนิเทศงานของกอง บค. เขต 3 รายงาน ณ วันที่ 12 กรกฎาคม 2562

6 การบริหารจัดการกำลังคนที่มีประสิทธิภาพ
ประเด็น ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ การบริหารตำแหน่ง แนวทางการบริหารอัตรากำลังและการบริหารตำแหน่ง ที่ไม่ชัดเจน ระบบ HROPS ผู้รับผิดชอบขาดความรู้ความเข้าใจในการใช้ระบบ ข้อมูลไม่เป็นปัจจุบันและไม่ถูกต้อง อื่นๆ ขาดความรู้ความเข้าใจระเบียบ หลักเกณฑ์ต่างๆ การประสานงานขาดความเป็นเอกเทศ มีการเปลี่ยนงานที่รับผิดชอบ จึงเกิดความไม่ต่อเนื่องในการปฏิบัติงาน การบริหารตำแหน่ง สป. กำหนดแนวทางที่ชัดเจนและจัดอบรมพัฒนาความรู้ในการจัดทำแผนการบริหารอัตรากำลังและการบริหารตำแหน่งระบบ HROPS เข้าร่วมอบรม/ประชุม/สัมนา ที่ทาง สป.จัด เพิ่มช่องทางการเผยแพร่คู่มือ และปรับปรุงคู่มือให้ทันสมัย กำหนดมาตรการในการบันทึกข้อมูลในระบบให้เป็นปัจจุบันและถูกต้อง และมีช่องทางแสดงความคิดเห็นในการพัฒนา อื่นๆ จัดให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในจังหวัดเดียวกัน จัดทำรายละเอียดหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละกลุ่มงานให้ชัดเจน จัดทำคู่มือเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้จากผู้ที่มีประสบการณ์สูง เพื่อถ่ายทอดแก่ผู้มาปฏิบัติงานใหม่ โดย คณะตรวจราชการและนิเทศงานของกอง บค. เขต 3

7 จำนวนหน่วยงานที่เป็นองค์กรแห่งความสุข (Happy Organization) จังหวัดละ 1 แห่ง
ขั้นที่ 2 ค่าเฉลี่ยความสุขรวมHappinometer 63.7% และ HPI 58.1% จ.ชัยนาท ขั้นที่ 1 ประเมิน Happinometer91.6% และ HPI 88.7% ขั้นที่ 5 คัดเลือกองค์กรแห่งความสุข เดือน ส.ค.62 ขั้นที่ 3 จัดทำแผน/โครงการ ครบทุกแห่ง ขั้นที่ 4 อยู่ระหว่างดำเนินการโครงการ

8 ค่าเฉลี่ยความสุขรวมของบุคลากร (Happinometer)
สุขภาวะรวมขององค์กร (Happy Public organization Index) กำแพงเพชร 56.3% นครสวรรค์ 57.2% ชัยนาท 58.1% พิจิตร 58.6% อุทัยธานี 53.4% กำแพงเพชร 63.5% นครสวรรค์ 64.6% ชัยนาท 63.7% พิจิตร 65.3% อุทัยธานี 62.5%

9 Digital Transformation
ตัวชี้วัดที่ 3 เขตสุขภาพมีการดำเนินงาน Digital Transformation ตัวชี้วัดที่ 4 มีการใช้ Application สำหรับ PCC ใน PCC ทุกแห่ง

10 Digital Transformation

11

12 เขตสุขภาพมีการดำเนินงาน Digital Transformation เพื่อก้าวสู่การเป็น Smart Hospital
ค่าเป้าหมาย Small Success 9 เดือน : รพศ/รพท ผ่านเกณฑ์ Smart Hospital ระดับ 2 ร้อยละ 60 รพช ผ่านเกณฑ์ Smart Hospital ระดับ 2 ร้อยละ 35 ผลการดำเนินงาน : รพศ/รพท ผ่านเกณฑ์ Smart Hospital ระดับ 2 ร้อยละ 100 รพช ผ่านเกณฑ์ Smart Hospital ระดับ 2 ร้อยละ 100(ผ่านทั้ง 7 แห่ง) จุดเด่นที่พบ : สสจ.มีการกำกับดูแลโรงพยาบาลในการดำเนินการ ให้ รพท ชัยนาทนเรนทร เป็นพี่เลี้ยงในการช่วยเหลือและให้คำแนะนำ รพช ในการดำเนินการด้านเทคนิค และมีการทำงานเป็นเครือข่ายช่วยเหลือกัน ทำให้การดำเนินการในปัจจุบันสูงกว่าค่าเป้าหมาย 12 เดือน ที่ รพท ร้อยละ 100 (ทำได้ร้อยละ 100) และรพช ร้อยละ 50 (ทำได้ร้อยละ 57.1)แล้ว

13 ตัวชี้วัดที่ 4 มีการใช้ Application สำหรับ PCC ใน หน่วยบริการปฐมภูมิ
เนื่องจากตัวชี้วัด PCC App เป็นการชี้วัดในจังหวัดกำแพงเพชรจังหวัดเดียว และยังไม่มีการเปลี่ยนแปลง หรือความคืบหน้าของผลงาน จึงไม่มีรายงานในส่วนนี้

14 ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤติทางการเงินระดับ 7 ≤ ร้อยละ 4
Financial Management ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤติทางการเงินระดับ 7 ≤ ร้อยละ 4

15 ไม่พบหน่วยบริการที่มี ภาวะวิกฤติทางการเงินระดับ 7
การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ (Financial Management) ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงินระดับ 7 < ร้อยละ 4 ไม่พบหน่วยบริการที่มี ภาวะวิกฤติทางการเงินระดับ 7 Risk 7 scoring Plus เดือน พฤษภาคม 2562 A A- B B- C C- D F มโนรมย์, วัดสิงห์, สรรพยา, สรรคบุรี, หันคา, เนินขาม, 1 ชัยนาทนเรนทร หนองมะโมง, 2 3 4 5 6 7 หมายเหตุ : ค่ากลาง Operating Margin และ Return on Asset ใช้ของไตรมาสที่ 2/2561

16 สรุประดับวิกฤติทางการเงินจังหวัดชัยนาท ณ เดือน พฤษภาคม 2562
สรุประดับวิกฤติทางการเงินจังหวัดชัยนาท ณ เดือน พฤษภาคม 2562

17 เงินบำรุงคงเหลือหลังหักหนี้สิน จังหวัดชัยนาท ณ 31 พฤษภาคม 2562

18 ผ่าน 0 แห่ง =0.00% ณ 31 พ.ค.62 Org Risk Scoring
มาตรการ เรื่องติดตามกำกับด้วยประสิทธภาพทางการเงิน ร้อยละของหน่วยบริการที่ผ่านเกณฑ์ประเมิน 7 Plus Efficiency > 5 ตัว ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ผ่าน 0 แห่ง =0.00% ณ 31 พ.ค.62 Org Risk Scoring เงินบำรุงคงเหลือ(หักหนี้แล้ว) EBITDA Operating Margin Return on Asset A Payment Period A Collection Period-UC A Collection Period -CSMBS A Collection Period-SSS Inventory Management GradePlus R G + รพ.ชัยนาทนเรนทร 1 2,644,598.57 22,708,109.58 B- 1B- รพ.มโนรมย์ 4,267,093.54 11,304,172.22 C 0C รพ.วัดสิงห์ 2,782,113.28 9,815,964.56 รพ.สรรพยา 8,155,418.13 9,846,879.06 รพ.สรรคบุรี 10,521,330.16 25,313,887.15 รพ.หันคา 24,513,404.97 16,441,056.94 รพ.หนองมะโมง 3,537,612.92 7,705,305.12 1C รพ.เนินขาม 9,287,956.24 8,332,536.73

19 มาตรการ เรื่องติดตามกำกับด้วยแผนทางการเงิน (PlanfinManagement)

20 มาตรการ เรื่องติดตามกำกับด้วยแผนทางการเงิน (PlanfinManagement)
ณ 31 พ.ค.62 ผ่าน 6 แห่ง =75.00 %

21 สรุปข้อเสนอแนะ / โอกาสในการพัฒนา
1. เฝ้าระวังสถานการณ์การเงินการคลังของหน่วยบริการที่มีความเสี่ยง 1.1การลงทุน 1.2ควบคุมค่าใช้จ่าย 1.3ประสิทธิภาพศูนย์จัดเก็บรายได้ 2. การใช้Planfin ติดตาม กำกับ ควบคู่กับผลการดำเนินงาน

22 Quality Organization ตัวชี้วัดที่ 6
ร้อยละของ รพ. สังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีคุณภาพมาตรฐาน ผ่านการรับรอง HA ขั้น 3 ตัวชี้วัดที่ 7 ร้อยละความสำเร็จของส่วนราชการในสังกัด สป.ที่ดำเนินการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐผ่านเกณฑ์ที่กำหนด

23 ตัวชี้วัด : ร้อยละโรงพยาบาลมีคุณภาพมาตรฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น 3
ผลการดำเนินงาน รพท.ร้อยละ 100 (เป้าหมาย 100 %) รพช.ร้อยละ 60 (เป้าหมาย 90 %) ข้อเสนอแนะ 1. เตรียมความพร้อมในการขอรับการ รับรองคุณภาพโรงพยาบาล โดยบูรณาการ การใช้ Internal survey สร้างความตื่นตัวในการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 2. ด้านความรู้ ความเข้าใจ การใช้มาตรฐาน HA ฉบับ 2๐๑๘ โดยให้ใช้กลไกของ QLN ที่เป็นต้นทุนเดิมขับเคลื่อนการพัฒนา ทั้งในเรื่องการจัดการความรู้ในรูปแบบต่าง ๆภายในเครือข่าย ลงเยี่ยมหน่วยบริการตามประเด็นสำคัญที่เครือข่ายมุ่งเน้น 3.สนับสนุนงบประมาณการเยี่ยมสำรวจ จากส่วนกลาง

24 ยุทธศาสตร์ 4 บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล (Governance Excellence)
ตัวชี้วัดที่ 45 : ร้อยละความสำเร็จของส่วนราชการในสังกัด สป.ที่ดำเนินการ พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐผ่านเกณฑ์ที่กำหนด ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน ไตรมาส 3/2562 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการPMQA สสจ.ร้อยละ 100 , สสอ.ร้อยละ 40 สสจ. 1 แห่ง สสอ. 8 แห่ง (รอบ 9 เดือน) ดำเนินการและส่งผลการดำเนินงานเข้าระบบได้ตามกำหนดเวลา (ภายในวันที่ 2 ก.ค. 62) เชิงปริมาณ : สสจ. , สสอ. ส่งรายงานผลการดำเนินงานผ่านระบบออนไลน์ทันเวลา จำนวน 9 แห่ง (100%) เชิงคุณภาพ : ประเด็นปรับปรุงแจ้งผู้รับผิดชอบงานจังหวัด (ตามแบบ ตก.1) ประเด็นที่พบจากการตรวจราชการ การดำเนินการ PMQA ได้รับการส่งเสริม สนับสนุนจากผู้บริหาร ประกาศเป็นนโยบายให้ความสำคัญ และเครือข่ายให้ความร่วมมือในการดำเนินงาน มาตรการสำคัญที่ดำเนินงานในช่วงไตรมาส 9 เดือน การส่งรายงานตามแบบฟอร์ม F2 – F5 ในระบบออนไลน์ ที่สอดคล้องกับผลการดำเนินงานตามเอกสารอ้างอิง ของหน่วยงาน ความเสี่ยง 1.การตรวจ ติดตามความก้าวหน้าผลการดำเนินงานตามแผน พัฒนาองค์กรและผลลัพธ์ตัวชี้วัด PMQA ผ่านระบบออนไลน์ 2. กระบวนการพัฒนา PMQA บุคลากรในองค์กรทุกระดับ ไม่ต่อเนื่อง ข้อเสนอแนะต่อหน่วยรับตรวจ พี่เลี้ยงระดับจังหวัดร่วมกันจัดกระบวนการเรียนรู้ ทบทวน องค์ความรู้ แนวทาง การประเมิน การส่งรายงานผลการดำเนินงาน ผ่านระบบออนไลน์ให้ถูกต้องและครบถ้วน ตามเกณฑ์ อย่างต่อเนื่อง

25 ระบบธรรมาภิบาล ตัวชี้วัดที่ 9
ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของหน่วยงานสังกัด สป. มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด

26 การตรวจราชการ ITA รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จังหวัดชัยนาท
1. สสจ. 1 แห่ง 2.รพ.ชัยนาทนเรนทร 1 แห่ง 3. รพช. 7 แห่ง 4. สสอ. 8 แห่ง รวมจำนวน 17 แห่ง เป้าหมาย รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน ๔ ข้อ ระดับ 5 ๔ (5) ร้อยละ 80 ร้อยละ 85 ร้อยละ 90 Formular ข้อ EB 1 – EB 26 การประเมินรอบไตรมาสที่ 3 : ประเมินตนเองตามแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ ข้อ EB 1 – EB 26 ในปีงบประมาณ พ.ศ พบว่า หน่วยงานใน สังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชัยนาท จำนวน 17 หน่วยงาน พบว่า หน่วยงานทุกแห่งผ่านเกณฑ์ การประเมิน ITA ร้อยละ 85 คิดเป็นคะแนนเฉลี่ยของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชัยนาทที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA ร้อยละ 97.96

27 เป้าหมายต้องผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 85

28 ปัญหาและข้อเสนอแนะจากการตรวจประเมิน ITA จังหวัดชัยนาท
ปัญหา/อุปสรรค/ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงานไม่บรรลุวัตถุประสงค์ ข้อเสนอแนะที่ให้ต่อหน่วยรับตรวจ 1.หน่วยงานบางแห่งขาดความเข้าใจในการกำหนดมาตรการหรือกลไกในการปฏิบัติงาน และการเผยแพร่กระบวนการอำนวยความสะดวกหรือการให้บริการประชาชนตามข้อ EB 25–26 1.หน่วยงานควรศึกษาคู่มือและรายละเอียดการดำเนินงานเพื่อให้สามารถกำหนดมาตรการหรือกลไกในการปฏิบัติงาน และการเผยแพร่กระบวนการอำนวยความสะดวกหรือการให้บริการประชาชนได้ 2.หน่วยงานบางแห่งมีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนภายในหน่วยงานตามข้อ EB 20 แต่ไม่ได้กำหนดมาตรการ กลไกป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนภายในหน่วยงานตามข้อ EB 21 2.หน่วยงานควรเชื่อมโยงการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานเพื่อนำไปสู่การจัดการความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานโดยกำหนดมาตรการ กลไกป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนภายในหน่วยงานให้สอดคล้องกัน

29 สถานการณ์ ผลการดำเนินงาน เกณฑ์การประเมิน
หัวข้อ : ประเด็นที่ 6 ระบบธรรมาภิบาล ตัวชี้วัดที่ 10 : ระดับความสำเร็จของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขมีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด สถานการณ์ สสจ.ชัยนาท กำกับติดตามให้หน่วยบริการดำเนินการประเมินระบบควบคุมควบคุมภายใน 5 มิติด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (EIA) ครบทุกหน่วยบริการทั้งสิ้น 8 แห่ง และหน่วยบริการตามกลุ่มเป้าหมายได้รับการประเมินการตรวจสอบงบการเงิน ครบทั้ง 3 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลวัดสิงห์ โรงพยาบาลมโนรมย์ และโรงพยาบาลสรรพยา มาตรการดำเนินงานในพื้นที่ 1. กำกับและติดตามผลการประเมินระบบควบคุมภายในด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (EIA) 2. ประเมินการตรวจสอบงบการเงินของหน่วยบริการตามกลุ่มเป้าหมาย เกณฑ์การประเมิน ผลการดำเนินงาน 1. มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงาน ประเมินระบบควบคุมภายใน 5 มิติ ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์(EIA) ครบทุกหน่วยบริการ 2. การดำเนินการประเมินระบบควบคุมภายใน 5 มิติ ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (EIA) 3. หน่วยบริการตามกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสอบงบการเงิน 4. หน่วยบริการมีการแก้ไขข้อทักท้วงและข้อเสนอแนะจากผลการตรวจสอบงบการเงิน ครบทุกหน่วยบริการ อยู่ระหว่างดำเนินการ 5. ผลการประเมินระบบการควบคุมภายในด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์(EIA)ภาพรวมผ่านเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ผลการประเมิน

30 หัวข้อ : ประเด็นที่ 6 ระบบธรรมาภิบาล
ตัวชี้วัดที่ 10 : ระดับความสำเร็จของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขมีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด เกณฑ์ 80%ขึ้นไป *เกณฑ์การประเมินต้องได้คะแนนร้อยละ 80 ขึ้นไป ต่ำกว่า 80 ต้องทำแผนพัฒนาองค์กร ดีมาก – 90 ดี พอใช้ (ต้องจัดทำแผนพัฒนาองค์กร)

31 หัวข้อ : ประเด็นที่ 6 ระบบธรรมาภิบาล
ตัวชี้วัดที่ 10 : ระดับความสำเร็จของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขมีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด ปัญหาและอุปสรรค 1. การส่งเอกสารเพื่อประเมินในระบบ EIA ไม่ครบถ้วนตามที่กำหนด ผู้รับรองการประเมินมีความเข้าใจคลาดเคลื่อนในการสอบทานข้อมูลก่อนส่งในระบบ 2. ข้อทักท้วงจากการตรวจสอบงบการเงินในบางข้อยัง ไม่มีผู้รับผิดชอบชัดเจน ข้อเสนอแนะ 1. การประเมินระบบควบคุมภายในควรดำเนินการโดยคณะกรรมการ/คณะทำงาน เพื่อสะท้อนความเสี่ยงที่แท้จริง 2. ประชุมร่วมกันทุกกลุ่มงานที่เกี่ยวข้องเพื่อดำเนินการแก้ไขข้อทักท้วงและรายงานเป็นลายลักษณ์อักษร

32 คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ
เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ


ดาวน์โหลด ppt คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google