งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบริหารงานส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคตามกลุ่มวัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบริหารงานส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคตามกลุ่มวัย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 การบริหารงานส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคตามกลุ่มวัย
การบริหารจัดการข้อมูล ทุกหน่วยงานใช้ข้อมูลจาก HDC ข้อมูลมีคุณภาพเพิ่มขึ้น ตรงเวลา  ครบถ้วน  ถูกต้อง  (Key ข้อมูล) มี Web application แสดงผลใน Smart Phone การบริหารงบประมาณ ภาพรวมผลการเบิกจ่ายงบดำเนินงาน ณ 30 มิ.ย.2559 = 67.36% (เป้าหมายไตรมาส 3 = 81%) การเบิกจ่ายงบดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค = 48.29% มีมาตรการเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ ผลการดำเนินงาน การบริหารงานส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคตามกลุ่มวัย จ.พระนครศรีอยุธยา การนำแผนไปสู่การปฏิบัติ ภาพรวมทุกโครงการมีการดำเนินงานไปแล้ว 50% โครงการด้านส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค ดำเนินการแล้วเสร็จ 14 โครงการ จากทั้งหมด 60 โครงการ คิดเป็น % การติดตาม กำกับ และประเมินผล มีแผนการนิเทศ ครั้งที่ 3 ในช่วง กลางเดือนสิงหาคม มีการกำกับติดตามและเร่งรัดการ ดำเนินงานทุกเดือน ชื่นชม ประสบความสำเร็จในการทำ MOU กับ อปท. ในการสนับสนุนงบประมาณการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

3 การพัฒนาคุณภาพงานอนามัยแม่และเด็ก
อัตราส่วนมารดาตาย ต่อการเกิดมีชีพแสนคน เขตสุขภาพที่ 4 การพัฒนาคุณภาพงานอนามัยแม่และเด็ก เป้าหมาย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 15 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน ANC ครบ 5 ครั้ง > 60% ANC < 12 wk. > 60% ภาวะโลหิตจาง < 18% หญิงตั้งครรภ์ ทารก LBW < 7% อัตรา ผลการดำเนินงาน ANC < 12 wk % (41.29% ปี 58) ANC ครบ 5 ครั้ง 44.96% (62.64% ปี 58) ภาวะโลหิตจาง12.95% (35.42% ปี58) LBW (<2,500 g.)9.46% (8.49% ปี 58) ที่มา : รายงานการนิเทศงานรอบ 2 สำนักตรวจประเมินผล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ปี พ.ศ (ต.ค.58 – พ.ค.59) สาเหตุการตายมารดา จ. พระนครศรีอยุธยา ปีงบประมาณ จำนวน Direct Indirect 2558 1 (Splenic vessel tear) 2559 ( 8 เดือน) 2 (Sepsis c Retained Placenta) (Lung Infection) ทารกคลอดมีชีพ ปี จำนวน 7,881 ราย ปี (8 เดือน) จำนวน 5,073 ราย แหล่งข้อมูล : สสจ.พระนครศรีอยุธยา รอบ8เดือน ปี 2559 (ต.ค. – พ.ค. 2559)

4 เป้าหมาย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา  (Pre-term   LBW ) Quick Win
ลูกเติบโตพัฒนาการสมวัย เกิดรอด ปลอดภัย พ่อแม่คุณภาพ ร้อยละ (เป้าหมาย ร้อยละ 40) เป้าหมาย Anemia <18 %  MMR < 15 : แสนการเกิดมีชีพ ANC คุณภาพ> 60% LBW < 7 % ผลงาน 39.8 45.42 12.95 9.46 ระบบบริหารจัดการดูแลสุขภาพแม่และเด็ก การจัดระบบข้อมูลมารดาตาย ระบบบริการที่มีคุณภาพ การส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพและลดปัจจัยเสี่ยงของมารดา MCH Board จ.พระนครศรีอยุธยา เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จัดทำ CPG ระดับจังหวัด การจัด Zoning รพ.พระนครศรีอยุธยา/รพ.เสนา พัฒนาศักยภาพ Node รพ.บางปะอิน การส่งต่อ High Risk โซนนิ่งผู้เชี่ยวชาญLR FAST TRACK (รพ.พระนครศรีอยุธยา) จ.พระนครศรีอยุธยา การดูแลและป้องกันการเจ็บครรภ์ คลอดก่อนกำหนด  (Pre-term   LBW ) ประกาศใช้ CPG หญิงมีครรภ์กลุ่มเสี่ยง โรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน (5เม.ย.59) ANC LR คุณภาพ สรุปรายงานที่ประชุม MCH Board High Risk Pregnancy เยี่ยมเสริมพลัง ประเมินมาตรฐานคุณภาพแบบไขว้ Conference Case / มาตรการแก้ไขปัญหา Screening at first Visit ANC พัฒนาคุณภาพบุคลากร/บูรณาการงานHA MCH Board เขตสุขภาพที่ 4 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Best Practice ระดับเขต ข้อมูลสืบสวนการตายมารดา ปี สถานบริการสาธารณสุข ผ่านการรับรองมาตรฐาน Quick Win สร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ระบบ DHS / ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ตำบลพัฒนาการเด็กดี เริ่มที่นมแม่

5 กลุ่มสตรี ชื่นชม Best Practice โอกาสพัฒนา ข้อเสนอแนะ
ทีมนิเทศ MCH Board พัฒนารูปแบบการเยี่ยม เสริมพลัง ประเมินคุณภาพ ระบบบริการ รพ. มาตรฐานอนามัยแม่และ เด็ก แบบจับฉลากไขว้ทีม (คิดใหม่ ทำใหม่) การนิเทศติดตาม การ พัฒนากิจกรรมโรงเรียน พ่อแม่ (พ่อแม่คุณภาพ) จัดทำคะแนนประเมิน ประสิทธิผลได้ครอบคลุม ทุกรพ. ภาพรวมร้อยละ 71.56 และมีผลงานสูงสุด 3 ลำดับแรกคือ รพ.บางปะอิน (ร้อยละ90.) รพ.บางบาล (ร้อยละ90) รพ.พระนครศรีอยุธยา (ร้อยละ85.5) การบริหารจัดการไลน์กลุ่ม เพื่อส่งต่อการดูแลมารดาหลังคลอด การพัฒนาคุณภาพงานคลินิกฝากครรภ์ เพื่อส่งเสริมภาวะ โภชนาการมารดากลุ่มเสี่ยง ภาวะโลหิตจาง การพัฒนาระบบส่งต่อมารดาที่มีภาวะเสี่ยงสูงด้วยระบบLR FAST TRACK (รับส่งฉับไว เข้าใจตรงกัน) การส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพเชิงรุกให้เข้าถึงกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ในสถานประกอบการ และกลุ่มปกปิดการตั้งครรภ์ ขยายแนวคิดการส่งเสริมภาวะโภชนาการในมารดากลุ่มเสี่ยงภาวะโลหิตจาง และน้ำหนักน้อย การเยี่ยมหลังคลอดโดยพยาบาลวิชาชีพ และตรวจประเมินร่างกายมารดาหลังคลอดตามมาตรฐาน CPG พัฒนา CPG การดูแลมารดาหลังคลอดให้Update ต่อปัญหาภาวะสุขภาพมารดาในปัจจุบัน สร้างการมีส่วนร่วม และบันทึกข้อตกลงกับเจ้าของสถานประกอบการในการสนับสนุนการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพสตรีในสถานประกอบการเข้าถึงบริการคุณภาพ พัฒนาศักยภาพบุคลากรรพช. / รพ.สต.ในการให้คำปรึกษา และส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์ พัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุขระดับ รพ.สต. เน้นการเยี่ยมมารดาหลังคลอด และปฏิบัติตามCPG อย่างเคร่งครัด

6 สถานการณ์พัฒนาการเด็ก
ร้อยละของเด็กปฐมวัยอายุ 9,18,30,42 เดือน ที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า (ภาพรวมประเทศ และเขตบริการสุขภาพที่ 4) ร้อยละของเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า จ.พระนครศรีอยุธยา ร้อยละ ร้อยละ กลุ่มอายุ ที่มา :โปรแกรม Thai Child Development 8 เดือน (1ต.ค.58 – 31 พ.ค.59) ร้อยละของเด็กปฐมวัยอายุ 9, 18, 30, 42 เดือน ที่ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ และพัฒนาการสมวัยหลัง 1 เดือน ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ พัฒนาการสมวัย หลังกระตุ้น 1 เดือน ล่าช้า ส่งต่อเข้าระบบ รอบ 1 100% (501/501 คน) 91.9% (216/ 235 คน * ) (19/19 คน) ที่มา : โปรแกรม Thai Child Development ปี 2558 ที่มา : ข้อมูลตรวจราชการรอบ 1/2559 ร้อยละของเด็กปฐมวัยอายุ 9, 18, 30, 42 เดือน พัฒนาการสมวัย : จ.พระนครศรีอยุธยา ความครอบคลุมร้อยละ 82.67 ร้อยละ ค่าเป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 ที่มา : โปรแกรม Thai Child Development 8 เดือน (1ต.ค.58 – 31 พ.ค.59)

7 สถานการณ์การเจริญเติบโตเด็กปฐมวัย
ค่าเป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 48 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ภาพรวมประเทศ และเขตสุขภาพ ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี รูปร่างดีสมส่วน เขตสุขภาพที่ 4 (รายจังหวัด) ร้อยละ ร้อยละ ที่มา : ข้อมูลจาก HDC ไตรมาส 1 /2559 ที่มา : ข้อมูลจาก HDC ไตรมาส 1 /2559 ร้อยละของเด็ก ปี รูปร่างดีสมส่วน : จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (รายอำเภอ) ร้อยละ ความครอบคลุมร้อยละ 45 ที่มา : แหล่งข้อมูล HDC ไตรมาส 1/2559 ไตรมาส 2/2559 ไตรมาส 3/2559

8 กลุ่มเด็กปฐมวัย ชื่นชม โอกาสพัฒนา ข้อเสนอแนะ 1. รพ.พระนครศรีอยุธยา
1. รพ.พระนครศรีอยุธยา กุมารแพทย์พัฒนาการเด็กที่มีบทบาทสำคัญในการวางแผนและจัดระบบการดูแลพัฒนาการเด็กของจังหวัด ขณะนี้อยู่ระหว่างการจัดทำระบบ Fast track ในการรับการส่งต่อจาก รพช. 2. รพ.เสนา มีการดำเนินงานกระตุ้นและส่งเสริมพัฒนาการเด็กทั้งในเด็กสงสัยพัฒนาการล่าช้าและเด็กพิเศษ โดยความร่วมมือกับศูนย์การศึกษาพิเศษ ของกระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้เฉพาะความพิการ มีกุมารแพทย์เป็นผู้ดูแลการทำงาน มีพยาบาลเฉพาะทางด้านจิตเวชเด็กฯ ครูการศึกษาพิเศษ ดูแลเด็กทั้งในคลินิก และในหอผู้ป่วยเด็กที่ป่วยเรื้อรัง บุคลากรในสาธารณสุข ใน รพช.บางแห่งยังขาด ทักษะ เทคนิค และความ มั่นใจ ในการแจ้งผลการ ประเมินพัฒนาการเด็ก ในกรณีสงสัยล่าช้า ควรสนับสนุนให้มี พยาบาลเฉพาะทางด้านพัฒนาการเด็ก/สุขภาพจิตเด็ก ประจำ รพช.ทุกแห่ง มี 4 แห่ง คือ รพ.พระนครศรีอยุธยา รพ.เสนา รพ.บางบาล รพ.บางไทร

9 สถานการณ์ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนในเด็กวัยเรียน
ประเทศ และเขตสุขภาพ ร้อยละ เป้าหมายไม่เกิน ร้อยละ 10 เขตสุขภาพที่ 4 และรายจังหวัด ร้อยละ แหล่งข้อมูล : ระบบรายงาน HDC ณ วันที่ 3 มิ.ย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558

10 ร้อยละความครอบคลุม เด็กที่ได้รับการชั่งน้ำหนัก และวัดส่วนสูง
ความครอบคลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 เทอม 1/ เทอม 2/ /2559 ร้อยละเด็กนักเรียน (อายุ 5-14 ปี) มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน เป้าหมายไม่เกิน ร้อยละ 10 ร้อยละ เทอม 1/ เทอม 2/ เทอม 1/2559 แหล่งข้อมูล : ระบบรายงาน HDC ณ วันที่ 3 มิถุนายน 2559 ร้อยละโรงเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ร้อยละ 10 ร้อยละ แหล่งข้อมูล :รายงานของสสจ. พระนครศรีอยุธยา ณ วันที่ 3 มิ.ย.59

11     ข้อสังเกต โรงเรียน ประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
ร.ร.วัดเกาะเลิ่ง อ.บางปะหัน จ.พระนครศรีอยุธยา ร.ร.แสงทวีป อ.ท่าเรือ จ. พระนครศรีอยุธยา โรงเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ร้อยละ 10 โรงเรียน อบรม SKC ครู ค เครื่องชั่งน้ำหนัก+ส่วนสูงได้มาตรฐาน ชั่งน้ำหนัก-วัดส่วนสูง เทอมละ 1 ครั้ง มิ.ย., พ.ย. เครื่องชั่งน้ำหนัก+ส่วนสูงได้มาตรฐาน แปลผลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ของกรมอนามัย แปลผลโดยวิธีเทียบกราฟ แปลผล โรงเรียน +ผู้ปกครอง ให้ความรู้ครูโภชนาการ เช่น การตักอาหาร ประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ติดตาม นำข้อมูลมาวิเคราะห์ นำผลที่ได้จากการชั่งนน.+สส. มาวิเคราะห์ ผู้ปกครอง ผู้บริหารโรงเรียน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข/อปท. จัดการเรียนการสอน เรื่อง โภชนาการรายชั้น ทุกชั้น แจ้งผล เทอมละ 1 ครั้ง ก.ค., ธ.ค. ให้คำแนะนำ/ปรึกษา จัดเมนูผักเพิ่มในเด็กอนุบาล ออกกำลังกายสำหรับทุกคน ทุกวัน(ตอนเช้า) ในเด็กกลุ่มเสี่ยงจะมีการออกกำลังกาย ทุกวันอังคาร ดำเนินการส่งเสริม/แก้ไข อาหารในโรงเรียน/บ้าน ออกกำลังกาย -ออกกำลังกาย -โครงการอาหารกลางวัน ส่งต่อเด็กอ้วน กลุ่มเสี่ยงให้ สถานบริการสาธารณสุข ชุมชน อาหาร รอบรั้วร.ร./ชุมชน

12 ชื่นชม โอกาสพัฒนา ข้อเสนอแนะ
การดำเนินงานแก้ไขภาวะอ้วนเด็กนักเรียน (อายุ 5-14 ปี) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา การดำเนินการ มี PM ในการจัดการแก้ไขปัญหาเด็กอ้วน ระดับจังหวัด(สาธารณสุข) มีแผนการแก้ไขปัญหาแก้ไขปัญหาเด็กอ้วน (Smart Kids Coacher: SKC) มีสถานการณ์เด็กอ้วน/ข้อมูลโรงเรียนที่มีเด็กอ้วนเกิน ร้อยละ 10 ครู ก (จังหวัด/รพท.) พัฒนา/ถ่ายทอดจัดการน้ำหนักเด็กวัยเรียน (Smart Kids Coacher: SKC) ครู ข/ค สนับสนุนคู่มือ/เอกสาร/มาตรฐานต่างๆ แก่พื้นที่ เช่น การแนวทางการคัดกรองและส่งต่อเด็กอ้วน ,คู่มือโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ผลงาน บุคลากรที่เป็น ครู ก (สสจ./รพท.) ,ครู ข (รพช./สสอ/รพ.สต./เทศบาล/ศูนย์แพทย์= 41 แห่ง), ครู ค (ครู =79 แห่ง ) ครู ค ที่ต้องอบรมเพิ่มเติมอีก 134 แห่ง (อ.นครหลวง,วังน้อย,บางไทร, บางปะหัน, ผักไห่,บ้านแพรก, บางซ้าย) โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร 5 แห่ง (ปี อ.พระนครศรีอยุธยา= 1 แห่ง ,อ.บางบาล= 2 แห่ง, อ.บางปะอิน = 1 แห่ง,อ.วังน้อย= 1 แห่ง ปี 59 อ.พระนครศรีอยุธยา= 1 แห่ง รอส่งเอกสาร) ชื่นชม โอกาสพัฒนา ข้อเสนอแนะ อำเภอลาดบัวหลวง องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น(เทศบาลลาดบัวหลวง)ให้ ความสำคัญและมีส่วนร่วมในการสนับสนุน งบประมาณในการจัดโครงการแก้ไขปัญหา ลดภาวะอ้วนในเด็ก ปี 2559 อำเภอพระนครศรีอยุธยามีการจัดทำ โครงการแก้ไขปัญหาโรคอ้วนอย่างต่อเนื่อง และมีการคืนข้อมูลให้กับผู้บริหารโรงเรียน ปี ขาดข้อมูลด้านพฤติกรรมหรือ สาเหตุ/ปัจจัยที่ทำให้เด็กอ้วน เพื่อ การวางแผนแก้ไข ขาดจุดเน้นด้านโภชนาการและการ ออกกำลังกายในกระบวนการ จัดการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ขาดระบบส่งต่อเด็กอ้วนสู่สถาน บริการสาธารณสุข ขาดแผนการติดตาม SKC การคืนข้อมูลแก่ภาคีเครือข่าย อปท.และผู้บริหารโรงเรียน เพื่อสร้างความตระหนัก การบูรณาการร่วมกับเครือข่ายในการติดตาม/กำกับ การ จัดการอาหารในโรงเรียน/สหกรณ์และติดตามการใช้ เครื่องมือและวิธีการวัดส่วนสูง ของโรงเรียนให้ได้มาตรฐาน เพิ่มความครอบคลุมของการเฝ้าระวัง และการตรวจสอบ ความถูกต้องของการบันทึกข้อมูล HDC เพิ่มการขับเคลื่อนโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ เร่งรัดการดำเนินงาน SKC ในระดับพื้นที่ (ครู ข ครู ค )

13 พระนครศรีอยุธยา พื้นเสี่ยงน้อย เกณฑ์ : มีทีมผู้ก่อการดี
กลุ่มวัยเรียน เป้าหมาย อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ไม่เกิน 6.5/แสนประชากรเด็กอายุ <15 ปี ประเด็นการติดตาม อัตราการเสียชีวิต และ มีการสร้างทีมผู้ก่อการดีที่สมัครใจดำเนินงานป้องกันการจมน้ำ เป้าหมายเขต 4 อัตราการเสียชีวิต ไม่เกิน 3.7 /แสนประชากรเด็กอายุ <15 ปี (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ≤ 4 ราย) ปี 2555 เสียชีวิต 11 ราย อำเภอลาดบัวหลวง(3ราย) พระนครศรีอยุธยา/บางซ้าย(2ราย) บางปะอิน/วังน้อย/ภาชี/นครหลวง (1ราย) ปี 2556 เสียชีวิต 9 ราย อำเภอบางปะอิน/เสนา (2ราย) พระนครศรีอยุธยา/นครหลวง/ บางไทร/ผักไห่/อุทัย (1ราย) ปี 2557 เสียชีวิต 2 ราย อำเภอพระนครศรีอยุธยา/วังน้อย (1ราย) ปี 2558 เสียชีวิต 10 ราย อำเภอบางบาล/ผักไห่ (2 ราย)พระนครศรีอยุธยา/อุทัย/เสนา/ ลาดบัวหลวง/ท่าเรือ/บ้านแพรก (1ราย) ปี 2559 ไม่พบผู้เสียชีวิต พระนครศรีอยุธยา พื้นเสี่ยงน้อย เกณฑ์ : มีทีมผู้ก่อการดี อย่างน้อย = 1 ทีม ผลการดำเนินงานมีผู้สมัคร 1 ทีม คือ อบต.บ้านป้อม อ.พระนครศรีอยุธยา (ผ่านประเมินระดับทองแดง) จุดเด่น โอกาสพัฒนา ควรมีการสร้างทีมผู้ก่อการดีเพิ่มเติมในพื้นที่เสี่ยง อบต.บ้านป้อม เป็นหัวหน้ากู้ภัยทางน้ำจังหวัด

14 ร้อยละการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี(ไม่เกินร้อยละ 10)
อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ ปี (ไม่เกิน 50 ต่อประชากรหญิงอายุ ปี 1000 คน) กลุ่มวัยรุ่น ต่อพัน 50 ต่อพัน อัตราต่อพัน ประเทศ 47.9 เขต 4 49.4 พระนครศรีอยุธยา 57.3 สำนักอนามัยเจริญพันธ์ ปี 2557 ร้อยละการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่นอายุ ปี(ไม่เกินร้อยละ 10) ความชุกผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ในประชากรอายุ ปี ประเทศ ปี 2557 = 51.5% (BSS กรม คร.) 10% พระนครศรีอยุธยา NA ข้อมูลจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

15 ตรวจราชการที่มุ่งเน้น
กลุ่มวัยรุ่น ชื่นชม มีทีมงานเข้มแข็งทั้งในและนอกระบบสาธารณสุขในการดูแลนักเรียนกลุ่มเสี่ยงในสถานศึกษา (โรงเรียนบางปะหัน) ประเด็น ตรวจราชการที่มุ่งเน้น สิ่งที่พบ ข้อเสนอแนะ ทีมนักจัดการสุขภาพวัยรุ่น (Teen Manager) ขับเคลื่อนงานผ่าน TO BE NUMBER ONE /ผ่านอำเภออนามัยเจริญพันธ์ มีการพัฒนาทีมนักจัดการสุขภาพวัยรุ่น ภายใต้ พ.ร.บ.การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ปี2559 ระบบเชื่อมโยงการดูแลช่วยเหลือนักเรียน (OHOS) โรงเรียนคู่เครือข่าย(OHOS) และโรงเรียนคู่เครือข่าย โรงเรียนมัธยมขยายโอกาส สอนหลักสูตรเพศศึกษา ทักษะชีวิต ทักษะปฏิเสธ 16 อำเภอ 19 แห่ง พัฒนางานและช่วยเหลือนักเรียนกลุ่มเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น และการตั้งครรภ์ซ้ำ ทุก รพช. มีทีมงานดูแลการคุมกำเนิดในวัยรุ่นผ่าน MCH Board ขยายผลระบบการป้องกันการตั้งครรภ์ทั้งในและระบบสถานศึกษา ทบทวนระบบฐานข้อมูลการตั้งครรภ์และตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น การติดตามประเมินผล การป้องกันการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในวัยรุ่น มีทีมตรวจเตือนร้านค้า มีการตรวจเตือนบังคับใช้กฎหมายควบคุมเครื่องดื่มแอกอฮอล์โดยมีการเน้นช่วงเทศกาล สร้างการมีส่วนร่วมกับสถานศึกษา/ชุมชนในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงเข้าสู่ระบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพิ่มทักษะบุคลากรในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงและการช่วยเหลือเบื้องต้น

16 กลุ่มวัยทำงาน อัตราตายจากการจราจรทางถนนในปี 59
เป้าหมาย : ไม่เกิน 16 ต่อประชากรแสนคน (จ.พระนครศรีอยุธยา≤ 128 ราย) อัตราตายต่อแสน สถานการณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา บูรณาการข้อมูล 3 ฐาน ปี = 164 คน (20.54 ต่อแสนประชากร) ปี = 237 คน (29.48 ต่อแสนประชากร) ปี 2559* = 187 คน (23.12 ต่อแสนประชากร) (*ต.ค.58 – มี.ค.59) เปรียบเทียบการเสียชีวิตช่วงเทศกาลสงกรานต์ ปี 2558 = บาดเจ็บ 486 ราย ตาย 6 ราย ปี 2559 = บาดเจ็บ 481 ราย ตาย 4 ราย แหล่งข้อมูล : ข้อมูลมรณบัตร สำนักนโยบายและยุทธ์ศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข เดือนตุลาคม-มีนาคม ปี พ.ศ.2559 จุดเด่น -มีคณะกรรมการ ศปถ. ทั้งระดับจังหวัด และอำเภอ -มีการใช้มาตรการองค์กรอย่างเคร่งครัด 1.การรณรงค์สวมหมวกนิรภัย 83% 2.อบรม Safety ambulance ทุกคน ไม่พบอุบัติเหตุ ด่านชุมชน 18 ด่าน ดำเนินการเฉพาะช่วงเทศกาล ดำเนินการร่วมกับศูนย์สร่างเมา จุดเสี่ยง รายอำเภอ 80 จุด แก้ไข 73 จุด ร้อยละ 91.25 ชื่นชม การแก้ไข - เพิ่มไฟส่องสว่าง - สัญญาณไฟกระพริบ - ติดป้ายเตือน - ตีเส้นสะดุ้ง - ปรับภูมิทัศน์ เพิ่มแสงสว่าง จุดเสี่ยงอำเภอวังน้อย (ถนนพหลโยธิน) ไม่พบอุบัติเหตุเพิ่ม จุดเสี่ยงอำเภอบางปะหัน อุบัติเหตุลดลง เนื่องจาก... ความเข้มแข็งของคณะกรรมการ ศปถ.ระดับอำเภอ

17 อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ ลดลงร้อยละ 10 ภายในปี 2562
กลุ่มวัยทำงาน โรคไม่ติดต่อ อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ ลดลงร้อยละ 10 ภายในปี 2562 เป้าหมาย อัตราตายโรคหลอดเลือดหัวใจ จ.พระนครศรีอยุธยา ปี 2559 ≤ ต่อแสนฯ ประเด็นการติดตาม ลดพฤติกรรมเสี่ยงและปัจจัยเสี่ยง 2. พัฒนาการจัดการโรคและลดเสี่ยงรายบุคคล ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด เป้า หมาย สถานะ 1. ผู้ป่วย DM ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี 40% 29.21% 2. ผู้ป่วย HT ควบคุมความดันโลหิตสูงได้ดี 50% 24.19% 3.คัดกรอง CKD 80 % 78.16% 4.ประเมิน CVD risk 70 % 82.30% 5.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงสูง 100% 6.คลินิก NCD คุณภาพ ผ่านเกณฑ์ จุดเด่น ตำบลจัดการสุขภาพ, ชุมชนลดเสี่ยงลดโรค, การจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพ, นโยบายสาธารณะ/มาตรการสังคม/พันธะสัญญา เป้าหมายปี 2559 อัตราตายปี 2559 (ณ มิ.ย.) 51.95 32.10

18 กลุ่มวัยสูงอายุ สัดส่วนประชากรสูงอายุ
ร้อยละ ร้อยละ แหล่งข้อมูล : ระบบรายงาน HDC 2558 2559 ร้อยละผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิง (ไม่เกินร้อยละ 15) ปี 59 คัดกรอง ADL ทั้งจังหวัด ครอบคลุม ร้อยละ 87.19 กลุ่มพึ่งพิง ปี 2558 กลุ่มพึ่งพิง ปี 2559 กลุ่มพึ่งพิงมีแนวโน้ม โดยเฉพาะกลุ่มติดบ้าน (4% %) 1 ร้อยละ ความครอบคลุมเพิ่มขึ้น กลุ่มติดสังคม ติดบ้าน กลุ่ม กลุ่ม กลุ่ม 3 2 1 ความครอบคลุมเพิ่มขึ้น กลุ่มติดสังคม คัดกรองครอบคลุม จาก ร้อยละ เป็น 94.61 กลุ่ม กลุ่ม กลุ่ม 3 แหล่งข้อมูล : สสจ.พระนครศรีอยุธยา (มิ.ย และ ก.ค.2559) 2 จำนวน (แห่ง) เป้าหมาย (แห่ง) ผลงาน (แห่ง) ตำบล LTC ผ่านเกณฑ์ (ร้อยละ 40) แหล่งข้อมูล : สสจ.พระนครศรีอยุธยา ก.ค.2559 ร้อยละ 76.19 100 33.33 60

19 ชื่นชม : โอกาสของการพัฒนา : ข้อเสนอแนะ :
ผลการดำเนินงานการอบรม CM/CG ชื่นชม : เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานผู้สูงอายุ สำนักงาน สาธารณสุขระดับจังหวัด และระดับพื้นที่ เห็น ความสำคัญเกี่ยวกับการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ มีการ วางแผนการขับเคลื่อนงานและขยายเป้าหมายการดำเนินงาน ให้ครอบคลุมทั้งจังหวัด สามารถบูรณาการงานผู้สูงอายุได้ อย่างมีประสิทธิภาพ โรงเรียนผู้สูงอายุตำบลสิงหนาท 2 อำเภอลาดบัวหลวง มีการจัดการเรียนการสอนสำหรับผู้สูงอายุในพื้นที่ มี อปท. ร่วมขับเคลื่อน โดยมีหน่วยงานสาธารณสุขเป็นผู้สนับสนุน เป็นตัวอย่างของการดูแลผู้สูงอายุโดยชุมชนมีส่วนร่วม โอกาสของการพัฒนา : - สัดส่วน CG บางพื้นที่ไม่เพียงพอในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ (อ.พระนครศรีอยุธยา และ อ.บางปะอิน) ข้อเสนอแนะ : - อบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ (CG) ในพื้นที่ที่มีสัดส่วนไม่เพียงพอ - ส่งเสริมกิจกรรมในกลุ่มติดสังคม (92.68%) เช่น ชมรมผู้สูงอายุ/วัดส่งเสริมสุขภาพ - เฝ้าระวังพื้นที่ที่มีสัดส่วนผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิงเพิ่มขึ้น *อำเภอบางซ้าย* พื้นที่ CM (1 : 40) CG (1 : 10) เป้าหมาย ผลงาน จังหวัด 43 ตำบล ปี 58 ปี 59 42 ตำบล 58 สสจ. - 1 พระนครศรีอยุธยา 28 5 109 18 ท่าเรือ 13 3 52 11 30 48 นครหลวง 51 45 บางไทร 16 2 63 6 38 บางบาล 8 4 32 บางปะอิน 42 บางปะหัน 19 36 24 ผักไห่ 9 7 69 ภาชี 40 10 ลาดบัวหลวง 27 วังน้อย 43 20 เสนา 35 137 80 บางซ้าย 12 47 อุทัย 33 มหาราช 53 บ้านแพรก รวม 215 25 802 153 175 495 เพิ่มสัดส่วน CG -- พื้นที่เป้าหมายส่วนใหญ่มี CM,CG กระจายครอบคลุมอยู่ในพื้นที่ --

20 การดำเนินงานกลุ่มวัยสูงอายุ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
คัดกรอง (ADL) ครอบคลุม ร้อยละ 87.19 กลุ่มติดบ้าน (ร้อยละ 6.15) กลุ่มพึ่งพิง (ร้อยละ 7.32) กลุ่มติดสังคม (ร้อยละ 92.68) กลุ่มติดเตียง (ร้อยละ 1.17) ตำบลการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ตรวจและคัดกรองปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยและ Geriatric Syndromes ส่งเสริมการเข้าสังคมอย่างมีส่วนร่วม เช่น การดำเนินงานชมรมผู้สูงอายุตำบลลาดชิด อ.ผักไห่/ โรงเรียนผู้สูงอายุตำบลสิงหนาท2 อ.ลาดบัวหลวง การสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพ ผู้สูงอายุ โดยการดำเนินงานวัดส่งเสริมสุขภาพ เช่น วัดไก่จ้น, วัดแดง อ.ท่าเรือ/วัดขนอนใต้, วัดธรรมนาวา อ.บางปะอิน เป็นต้น กลุ่มติดสังคมร่วมดูแลกลุ่มพึ่งพิง พัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อตรวจและคัดกรอง ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยและ Geriatric Syndromes อบรมพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุในพื้นที่ (CG) วางแผนให้การดูแลที่บ้าน โดยทีม HHC/FCT/CM บริการด้านสังคม การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน บริการ อุปกรณ์ช่วยเหลือส่งเสริมการร่วมกิจกรรมนอกบ้าน เครือข่าย อปท. ในพื้นที่ พัฒนาความสามารถ การดำเนิน กิจวัตรประจำวัน ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุทุกกลุ่ม ยืดระยะเวลาเจ็บป่วยและเข้าสู่ภาวะพึ่งพิง และลดการเจ็บป่วยซ้ำซ้อน ความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันดีขึ้น / Active Aging / 80 ปียังแจ๋ว

21 ผู้ว่าฯ และ นพ.สสจ ให้ความสำคัญ ระบบควบคุมโรค
เป้าหมาย:ร้อยละ 50 ของอำเภอที่สามารถควบคุมโรคติดต่อสำคัญ ของพื้นที่ได้ (ไข้เลือดออก) ชื่นชม อัตราป่วยจากโรคไข้เลือดออก รายจังหวัด เขตสุขภาพที่ 4 ปีงบประมาณ 2559 (ตุลาคม 58-กรกฎาคม 59) ไตรมาส 3 ผู้ว่าฯ และ นพ.สสจ ให้ความสำคัญ จุดเด่น ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 1. บริหารจัดการโดยคณะกรรมการ 5 ด้าน 2. เร่งรัดมาตรการ 3. นโยบาย 5 ส. 3 เก็บ ในสถานที่ ราชการ เสนอ ผู้ว่าฯ ทุกเดือน 4. การสุ่มตรวจลูกน้ำทุกเดือน ผลการดำเนินงานควบคุมได้ร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานควบคุมได้ร้อยละ 56.25 ผลการดำเนินงานควบคุมได้ร้อยละ 93.75


ดาวน์โหลด ppt การบริหารงานส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคตามกลุ่มวัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google