งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แผนงานปี 2561 กลุ่มงานพัฒนารูปแบบบริการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แผนงานปี 2561 กลุ่มงานพัฒนารูปแบบบริการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แผนงานปี 2561 กลุ่มงานพัฒนารูปแบบบริการ
1. งานสุขภาพภาคประชาชน 2. งานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ 3. งานแพทย์แผนไทย และแพทย์ทางเลือก 4. งานสาธารณภัย 5. งานระบบส่งต่อ EMS และอุบัติเหตุ 6. งานกิจการพิเศษ (พอ.สว./ผู้ป่วยในพระบรมฯ/ปฐมพยาบาล)

2 งานสุขภาพภาคประชาชน

3 ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ (ตำบล LTC) ตัวชี้วัด: ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชนผ่านเกณฑ์ (บูรณาการ 3 กรม) 1. สถานการณ์ของจังหวัดที่ผ่านการวิเคราะห์แล้ว จังหวัดเชียงใหม่ขับเคลื่อนตำบลจัดการทุกตำบล (ยกเว้นเขต ทน. 7 ตำบล) 197 ตำบล ผ่านการประเมินระดับดีขึ้นไปทุกแห่ง ส่วนของงาน สช. จะดูแลเรื่องกระบวนการจัดการสุขภาพในชุมชนครอบคลุมทั้ง 4 กลุ่มวัย แต่เน้นหนักไปที่กลุ่มวัยสูงอายุ เพื่อบรรลุถึงเกณฑ์ตำบล LTC โดยจะมีการพัฒนา อสม. นักจัดการสุขภาพ อสม. เฝ้าระวังกลุ่มวัย (วัยทำงาน/วัยสูงอายุ) และ อสค. ครอบคลุมทุกตำบล เพื่อทำหน้าที่เชื่อมโยงงานชุมชน 2. GAP ในเชิงกระบวนการ/พื้นที่ 1) ทีมนักจัดการสุขภาพมีความเข้าใจกระบวนการจัดการดี แต่อธิบายเชื่อมโยงบูรณาการงานสู่ตำบล LTC ไม่ได้ 2) เข้าใจเนื้อหาของแบบประเมินไม่ตรงกัน และ 3) ชี้แจงผู้รับผิดชอบอำเภอ แต่บางอำเภอถ่ายไประดับตำบลได้ไม่ครบ 3. เป้าหมายระยะสั้น 12 เดือน (Task List) 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน -ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน ทุกตำบล (บูรณาการทุกงาน สช. + การจ่ายเงินค่าป่วยงานผ่าน e-payment) -พื้นที่ดำเนินการจัดการสุขภาพ -จังหวัดนิเทศติดตามในพื้นที่ -พื้นที่บันทึกผลงาน และผลการประเมิน -จังหวัดตรวจสอบผลงาน/ผลประเมิน -สรุปผล และแลกเปลี่ยนเรียนรู้พื้นที่ดีเด่น 4. มาตรการ/กลยุทธ์ระดับจังหวัด ชี้แจงกระบวนงาน / นิเทศงานในพื้นที่ / รายงานผลการประเมิน 5.มาตรการ /กลยุทธ์ระดับพื้นที่ ดำเนินงาน/เบิกจ่ายงบประมาณ คีย์ประเมินหมู่บ้าน และส่งประเมินตำบลตรงตามแผนที่กำหนดไว้

4 อาสาสมัครประจำครอบครัว ตัวชี้วัด: ร้อยละของครอบครัวที่มีศักยภาพในการดูแลสุขภาพตนเองได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด 1. สถานการณ์ของจังหวัดที่ผ่านการวิเคราะห์แล้ว หลายๆ ตำบลเข้าใจผิดว่าต้องมีการเชิญมาอบรม แต่จริงๆ แล้วควรเป็น On the job training (เยี่ยมบ้าน/พาผู้ป่วยมา รพ.สต.) ทำให้ยอดของ อสค. ที่มีอยู่ต่ำกว่าความเป็นจริง ทั้งๆ ที่มีญาติผู้ป่วยที่ได้รับการฝึกการดูแลผู้ป่วยเรื้อรังที่รับออกจาก รพ. มาดูแลที่บ้าน, มี กสค., มี care giver ชุมชน ฯลฯ ที่เป็น อสค. ได้ ซึ่งจะไม่ต้องใช้งบประมาณในการอบรมเลย แต่ปีนี้จะมีเอกสารสนับสนุนให้ 2. GAP ในเชิงกระบวนการ/พื้นที่ 1) การเข้าใจผิดเกี่ยวกับนิยามการพัฒนาศักยภาพ อสค )การนำ อสม. มาขึ้นทะเบียนเป็น อสค. / อสม. ต้องเป็นพี่เลี้ยง อสค และ 3) ไม่ขึ้นทะเบียน อสค. 3. เป้าหมายระยะสั้น 12 เดือน (Task List) 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน -ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน ทุกตำบล (บูรณาการตำบลจัดการ+ การจ่ายเงินค่าป่วยงานผ่าน e-payment) -พื้นที่ดำเนินการพัฒนาศักยภาพ อสค. และขึ้นทะเบียน -จังหวัดนิเทศติดตามในพื้นที่ -ประเมินผลการดูแลสุขภาพตนเอง -จังหวัดตรวจผลงาน/ผลประเมิน -สรุปผล และค้นหา Best Practice ของ อสค. 4. มาตรการ/กลยุทธ์ระดับจังหวัด ชี้แจงกระบวนงาน / สนับสนุนคู่มือ อสค. / ช่วยขึ้นทะเบียน 5.มาตรการ /กลยุทธ์ระดับพื้นที่ เขียนงบฯ เพิ่มในพื้นที่ / ขึ้นทะเบียนตามเวลาที่กำหนดไว้ / เน้น อสม. เป็นพี่เลี้ยง / แนะนำ อสค. ค้นความรู้จาก web อสค.com

5

6 การขึ้นทะเบียน อสค. ประจำปี 2559-2560 (ผลงาน 18.42%)
การขึ้นทะเบียน อสค. ประจำปี (ผลงาน %)

7 งานอื่นๆ ของสุขภาพภาคประชาชน
1. พัฒนาศักยภาพ อสม. (อสม. นักจัดการสุขภาพ 5 คน / อสม. เฝ้าระวังสุขภาพวัยทำงาน 3 คน / อสม. เฝ้าระวัง สุขภาพวัยสูงอายุ 2 คน ต่อตำบล) งบเบิกแทนกัน 2. จ่ายค่าป่วยการผ่านระบบ e-payment เริ่ม ตุลาคม พระอาสาสมัครสุขภาพประจำวัด (อบรม พระ อสว. + รณรงค์ถวายสังฆทานด้วยอาหารเพื่อสุขภาพ) งบเบิก แทนกัน 4. หมู่บ้านจัดการสุขภาพ (ประเมินหมู่บ้าน / ประเมิน HB/HL) งบเบิกแทนกัน 5. คัดเลือก อสม. ดีเด่น เพิ่มสาขาที่ 11 ทันตสุขภาพ (แจ้งอำเภอเจ้าภาพตัวแทนสาย) 6. โครงการ 3 ล้าน 3 ปี เลิกบุหรี่ทั่วไทย เทิดไท้องค์ราชัน (บูรณาการกับงาน คร. – อสม. 1 คน เชิญ 1 คนเลิกสูบ บุหรี่) 7. โครงการ อสม. คนดีคุณสีอะไร? ปี 4 (ตรวจคัดกรอง และประเมินปิงปอง 7 สีใน อสม.)

8 งานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
กลุ่มงานพัฒนารูปแบบบริการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

9 ภารกิจงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ปี 2561
1. สถานการณ์ : มีสถานบริการผ่านการรับรองมาตรฐานงานสุขศึกษาระดับจังหวัด (เป้าหมาย รพ.ทุกแห่ง / อำเภอละ 2 รพ.สต.) * อำเภอที่ผ่าน มต. 100% = 6 อำเภอ (แม่ริม/สันทราย/หางดง/สารภี/ดอยหล่อ/กัลยาฯ) * อำเภอที่ผ่าน มต.แล้ว 1 รพสต.ขึ้นไป = 14 อำเภอ (เมือง/จอมทอง/เชียงดาว/ดสก./แม่แตง/สะเมิง/ฝาง/สปต./ฮอด/อมก๋อย/ชปก./มว./แม่ออน/มจ.) * อำเภอที่ รพ.สต.ยัง ไม่ผ่าน มต. = 5 อำเภอ (แม่อาย / พร้าว / สันกำแพง / ดอยเต่า / เวียงแหง) 2. GAP : 1. บางพื้นที่ยังขาดความรู้ ความเข้าใจ และมองว่างานสุขศึกษาไม่เป็นรูปธรรม ไม่จริงจังและต่อเนื่อง 2. จนท. มีการเปลี่ยนแปลงโยกย้ายบ่อย มีภารกิจงานอื่นมาก จึงไม่สามารถดำเนินงานได้ครอบคลุมทุกปัญหา และต่อเนื่อง 3. บางแห่งงานสุขศึกษาไม่ได้แยกออกมาเต็มรูปแบบ ไม่มีผู้รับผิดชอบหลัก ขาดการเก็บรวบรวมข้อมูล / หลักฐานในการดำเนินงาน 4. รพ.สต. ส่วนใหญ่ ยังไม่มีผลงานวิจัยในพื้นที่ เนื่องจากภาระงานมาก/ไม่มีเวลาเพียงพอในการเก็บข้อมูล และขาดงบประมาณสนับสนุนในการทำวิจัย เป็นต้น 3. เป้าหมายระยะสั้น 12 เดือน(Task List) : กิจกรรมสำคัญ 3 เดือน 6 - 9 เดือน 12 เดือน 1. ส่งเสริมพัฒนา ติดตามกำกับคุณภาพมาตรฐานระบบบริการสุขภาพด้านสุขศึกษา 1. ประสานพื้นที่เพื่อกำหนดสถานบริการ เป้าหมาย ปี 61 2. จัดทำคำสั่งและฟื้นฟูศักยภาพคณะกรรมการ ประเมินคุณภาพมาตรฐาน 3. ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานพัฒนา และการประเมิน 1.สถานบริการพัฒนาคุณภาพงานสุขศึกษา ให้เป็นไปตามมาตรฐาน 2.คณะกรรมการออกตรวจประเมินสถาน บริการเป้าหมายของปี 60 3.นิเทศ/ติดตาม/ควบคุมกำกับการพัฒนา คุณภาพงานสุขศึกษา 1. สถานบริการเป้าหมาย ปี 61 ประเมินตนเอง 2. วิเคราะห์ สรุปผลการประเมินตนเองของสถานบริการ เป้าหมาย ปี 61 เพื่อวางแผนออกตรวจประเมินในปีถัดไป 3.จัดทำทำเนียบสถานบริการที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน สุขศึกษา 4.มาตรการ/กลยุทธ์ระดับจังหวัด : 1. ส่งเสริมพัฒนา ติดตามกำกับคุณภาพมาตรฐานระบบบริการสุขภาพด้านสุขศึกษา 2. พัฒนาศักยภาพทีมงาน ทักษะการเป็นผู้เยี่ยมประเมิน 3. พัฒนาความรู้และทักษะในการจัดทำแผนงาน/การวิจัยด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่สถานบริการสาธารณสุขเป้าหมาย 5.มาตรการ /กลยุทธ์ระดับพื้นที่ : สถานบริการดำเนินการพัฒนาคุณภาพงานสุขศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐาน

10 ภารกิจงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ปี 2561
1. สถานการณ์ : รูปแบบของการพัฒนา “หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด” เป็นรูปแบบที่ประชาชนและชุมชน มีบทบาทสำคัญต่อการขับเคลื่อนกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และมีเป้าหมายสุดท้ายคือ ประชาชนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ ที่ถูกต้องตามเกณฑ์ สามารถพึ่งตนเองด้านสุขภาพได้ รวมทั้งชุมชนมีความเข็มแข็ง สามารถจัดการปัญหาสุขภาพได้ด้วยชุมชนเอง 2. GAP : 1. ผู้รับผิดชอบและเครือข่ายในพื้นที่ ขาดความรู้ ความเข้าใจ ความชัดเจนในแนวทางการดำเนินงาน 2. ขาดสิ่งสนับสนุน/เครื่องมือในการดำเนินงาน 3. เป้าหมายระยะสั้น 12 เดือน(Task List) : กิจกรรมสำคัญ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน กิจกรรมสำคัญ 3 เดือน 6 - 9 เดือน 12 เดือน 1.ส่งเสริมพัฒนา และเพิ่มศักยภาพการมีส่วนร่วม ของประชาชนและเครือข่ายในการจัดการสุขภาพ 1.จัดทำแผนงานโครงการ/แนวทางการดำเนินงาน นำนโยบายสู่การปฏิบัติ 2. คัดเลือก รร./หมู่บ้านเป้าหมาย อำเภอละ 1 แห่ง 3.ประสานความร่วมมือกับเครือข่าย 4.ประชุมชี้แจงและพัฒนาเครือข่ายการเสริมสร้างความรอบรู้ฯในพื้นที่ เป้าหมาย 1. สนับสนุนเครื่องมือ ชุดแนวทางการ ดำเนินงาน/ชุดการเรียนรู้ 2. พื้นที่เป้าหมายดำเนินงานตามแนวทาง 3. เยี่ยมให้คำแนะนำ/ติดตามความก้าวหน้า 4. นิเทศ/ติดตาม 1. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 2. ประกวดหมู่บ้านฯ และโรงเรียน ต้นแบบระดับจังหวัด 3. ประเมินผลการดำเนินงาน 4.มาตรการ/กลยุทธ์ระดับจังหวัด : ส่งเสริมพัฒนา และเพิ่มศักยภาพการมีส่วนร่วมของประชาชนและเครือข่ายในการจัดการสุขภาพ 5.มาตรการ /กลยุทธ์ระดับพื้นที่ : ภาคีเครือข่าย (รพ.สต.) ในพื้นที่ตำบลจัดการสุขภาพเป้าหมายดำเนินการเสริมสร้างความรอบรู้ ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ

11 งานการแพทย์แผนไทย และแพทย์ทางเลือก
กลุ่มงานพัฒนารูปแบบบริการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

12 งานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน
การเข้าถึงบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก และจำนวนบุคลากรแพทย์แผนไทย ระดับหน่วยบริการ พท. ผช.พท. จำนวนบริการผู้ป่วยนอกทั้งหมด (ครั้ง) จำนวนบริการด้านแพทย์แผนไทย(ครั้ง) ร้อยละ รพศ (1 แห่ง) 2 4 370,837 8,291 2.24 รพท. (2 แห่ง) 5 8 351,507 20,815 5.92 รพช (21 แห่ง) 45 57 1,392,487 121,165 8.70 รพ.สต. (269 แห่ง) 15 106 1,454,338 254,631 17.51 สถานการณ์ของจังหวัด แพทย์แผนไทยมีคุณสมบัติ/ศักยภาพไม่ครอบคลุม เช่น ใบประกอบวิชาชีพ บางหน่วยบริการมีบุคลากรด้านการแพทย์แผนไทยไม่เพียงพอต่องานบริการ บางหน่วยมีบุคลากรฯ แต่ไม่เปิดงานบริการด้านแพทย์แผนไทย ผลงานบริการ ไม่บรรลุ KPI ของกรมการแพทย์แผนไทยฯ การประสานงานในกลุ่มภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องไม่ต่อเนื่อง GAP ในเชิงกระบวนการ/พื้นที่ การบันทึกข้อมูลบริการ บุคลากรไม่เพียงพอต่อการให้บริการ และยังมีการใช้คนไม่ตรงกับงาน การเชื่อมประสานระหว่างบุคลากรแพทย์แผนไทยในระบบและนอกระบบ รวมทั้งภาคีเครือข่ายสุขภาพในชุมชนไม่ต่อเนื่อง 3. เป้าหมายระยะสั้น 12 เดือน(Task List) 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน มีคณะทำงานการแพทย์แผนไทยฯ ระดับ คปสอ.ทุกแห่ง มีการเชื่อมประสานงานกันระหว่างหน่วยบริการในระบบและนอกระบบสาธารณสุข มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้/ส่งต่อบริการ ในเครือข่ายบริการสุขภาพ มีข้อมูลการใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้าน/การแพทย์แผนไทย/ทางเลือกในชุมชน บุคลากรด้านสาธารณสุขได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการแพทย์แผนไทย แพทย์แผนไทยได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการดูแลผู้ป่วย Palliative Care/LTC/การเลิกบุหรี่ มีการบูรณาการงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นรูปธรรม การเข้าถึงบริการฯของหน่วยบริการสาธารณสุขเพิ่มขึ้นจากปีก่อน ร้อยละ 5 มีแหล่งเรียนรู้ที่พร้อมจะพัฒนาเป็นศูนย์การเรียนรู้ชุมชนฯ มีหมอไทยน้อย ในชุมชน มีสวนสมุนไพรใน รพ.สต./โรงเรียน/ชุมชน มีศูนย์การเรียนรู้ชุมชนด้านสมุนไพรและภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน 4.มาตรการ/กลยุทธ์ระดับจังหวัด 5.มาตรการ /กลยุทธ์ระดับพื้นที่ แผนพัฒนาระบบบริการ แผนพัฒนาวิชาการงานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก พัฒนาศักยภาพแพทย์แผนไทย พัฒนาศักยภาพ ผช.พท. เสริมสร้างองค์ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทยในเครือข่ายบุคลากรสาธารณสุข 3. แผนสนับสนุนและพัฒนาเครือข่ายภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน พัฒนามาตรฐานหน่วยบริการตามเกณฑ์ รพ.สส.พท. พัฒนาการจัดบริการการแพทย์แผนไทยฯต่อเนื่อง ทั้งเชิงรับและเชิงรุก พัฒนาบทบาทบุคลากรด้านการส่งเสริมสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทยให้ชัดเจน บูรณาการงานร่วมกับสหวิชาชีพในระบบการแพทย์แผนปัจจุบัน พัฒนาระบบข้อมูลต่อเนื่อง ปชส.เชิงการตลาด โดยกำหนดกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เพิ่มบุคลากรด้านการแพทย์แผนไทยให้ครอบคลุมหน่วยบริการ พัฒนาศูนย์เรียนรู้ชุมชนด้านสมุนไพรและภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน สร้าง “หมอไทยน้อย” ในโรงเรียนสู่ชุมชน หมายเหตุ: ใช้ชี้แจงให้อำเภอวันประชุมแผน 17 สค.60

13 งานการแพทย์ฉุกเฉิน งานส่งต่อ งานอุบัติเหตุ
กลุ่มงานพัฒนารูปแบบบริการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

14

15

16 ระบบส่งต่อผู้ป่วย สถานการณ์ GAP
กลยุทธ์ระดับจังหวัด ประชุมคณะทำงานจัดทำคู่มือการส่งต่อผู้ป่วย/การพัฒนาคุณภาพการส่งต่อผู้ป่วย จัดประชุมชี้แจง ประชุมวิชาการ จัดอบรมการใช้โปรแกรม Thai Refer สถานการณ์ คู่มือการส่งต่อผู้ป่วยล่าสุด ฉบับปี 2555 การใช้โปรแกรม Thai Refer ในการส่ง ต่อผู้ป่วย ระหว่าง โรงพยาบาล ร้อยละ 87 เป้าหมายระยะสั้น 12 เดือน จัดทำคู่มือการส่งต่อ พัฒนาระบบรายงานข้อมูลส่งต่อจากโปรแกรม Thai Refer วางแผนขยายผลกการใช้โปรแกรม Thai Refer ในการส่งต่อผู้ป่วยระดับ รพสต. พัฒนา แบบฟอร์ม ระบบการเก็บรวบรวมข้อมูลคุณภาพการส่งต่อผู้ป่วย GAP คู่มือแนวทาง การส่งต่อผู้ป่วยไม่update ไม่ครอบคลุม โรคในทุกสาขา เจ้าหน้าที่ยังไม่ได้ใช้ประโยชน์ ข้อมูลส่งต่อผู้ป่วยจาก โปรแกรม Thai Refer ยังไม่ได้ขยายผลการใช้โปรแกรม Thai Refer ในการส่งต่อผู้ป่วยระดับ รพสต. การพัฒนาคุณภาพการส่งต่อยังไม่ต่อเนื่อง กลยุทธ์ระดับอำเภอ วิเคราะห์และใช้ประโยชน์ข้อมูลผู้ป่วยส่งต่อ ในการพัฒนาคุณภาพการส่งต่อ

17 การป้องกันและลดการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุจราจรทางถนน
1. สถานการณ์การเสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปี (อัตราต่อแสนประชากร) การป้องกันและลดการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุจราจรทางถนน 2.GAP ในเชิงกระบวนการ/พื้นที่ 1. อำเภอที่มีอุบัติเหตุจราจรทางถนนสูง ยังไม่ค่อยมีการสอบสวนและเขียนรายงานสอบสวนการเกิดบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ 2. การดำเนินงานฯ ในรูปแบบบูรณาการความร่วมมือระหว่าง ศปถ.อำเภอ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ ยังไม่ค่อยชัดเจน ทำให้ไม่เห็นภาพการดำเนินงานป้องกันและลดอุบัติเหตุฯร่วมกัน มีเพียงบางอำเภอที่ดำเนินการได้ 3.เป้าหมายระยะสั้น 12 เดือน 1. สสอ./รพช. เป็นเลขาร่วมศปถ.อำเภอ โดยนำเสนอข้อมูลของพื้นที่อย่างน้อย 80% 2. มีอำเภอดำเนินงาน D-RTI (District Road Traffic Injury) มากกว่า 80% 3. อำเภอที่มีการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรมีการสอบสวนหาสาเหตุโดยทีมสหสาขาทุกอำเภอ หมายเหตุ: ปี 2560 ข้อมูล ตั้งแต่ ต.ค. 59- พค.60 (7เดือน) แหล่งข้อมูล : 1. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ รวบรวมจากรายงาน IS ของโรงพยาบาล/ 2. ข้อมูล 3 ฐาน จาก สนง.ปภ.จ.เชียงใหม่ ( ปี ) 4.มาตรการ/กลยุทธ์ระดับจังหวัด 1. จัดประชุม มอบนโยบายให้พื้นที่ บูรณาการความร่วมมือด้านการป้องกันและลดอุบัติเหตุจราจรทางถนนอย่างจริงจังกับภาคีเครือข่าย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผ่านศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนนระดับจังหวัด และระดับอำเภอ 2. สนับสนุน/กระตุ้นให้เกิดการขับเคลื่อนการป้องกันและลดอุบัติเหตุจราจรทางถนนในพื้นที่ ผ่านระบบ อำเภอป้องกันการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน(D-RTI) 5. มาตรการ /กลยุทธ์ระดับพื้นที่ 1. พัฒนาทีมศปถ.ตำบล/อำเภอ ร่วมกันแบบสหสาขาเพื่อกระตุ้นการสอบสวนการบาดเจ็บและเสียชีวิต อย่างต่อเนื่อง 2. เพิ่มประสิทธิภาพและใช้ข้อมูล สร้างการมีส่วนร่วม และกระตุ้นให้มีการแก้ไขจุดเสี่ยง หรือกำหนดมาตรการป้องกัน(คนเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยง ปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ) 3. บูรณการงานผ่านระบบอำเภอป้องกันการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน(D-RTI) เชื่อมกับศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนนระดับตำบล และอำเภอ

18 การป้องกันการเสียชีวิตจากการจมน้ำในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี
1. สถานการณ์การเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ปี (อัตราต่อประชากรเด็กแสนคน) การป้องกันการเสียชีวิตจากการจมน้ำในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี 2.GAP ในเชิงกระบวนการ/พื้นที่ 1. การดำเนินการผู้ก่อการดีด้านการป้องกันการจมน้ำยังไม่ครอบคลุมในอำเภอที่มีแหล่งน้ำเสี่ยง และมีผู้เสียชีวิต 2. การขับเคลื่อนงานป้องกันเด็กจมน้ำเป็นทีมผู้ก่อการดี จำเป็นต้องอาศัยเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ท้องถิ่น โรงเรียน ฯลฯ ซึ่งไม่อยู่ในอำนาจสั่งการของสาธารณสุข ต้องอาศัยความร่วมมือเป็นหลัก และมักประสบความสำเร็จในพื้นที่ ที่ผู้บริหารของหน่วยงานให้ความสำคัญ 3.เป้าหมายระยะสั้น 12 เดือน 1. มีทีมครูข และทีมผู้ก่อการดี ในพื้นที่ ที่มีรายงานการเสียชีวิตของเด็กฯ ครบทุกอำเภอ 2. มีทีมผู้ก่อการดีด้านการป้องกันการจมน้ำ ผ่านการประเมินระดับทองแดง อย่างน้อย 60% ของพื้นที่ ที่มีการดำเนินงาน แหล่งข้อมูล : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชียงใหม่ รับรายงานจากรพ.ต่างๆ ตั้งแต่ ต.ค. 59 – ส.ค. 60 4.มาตรการ/กลยุทธ์ระดับจังหวัด 1. ประชุมชี้แจงสถานการณ์ และสร้างความเข้าใจกับทุกพื้นที่ โดยเน้นให้เห็นความสำคัญของกระบวนการป้องกันแหล่งน้ำเสี่ยง และการให้ความรู้แก่ชุมชน มากกว่าการตอบสนองเมื่อเกิดเหตุ เนื่องจากเมื่อมีเหตุการณ์จมน้ำ มีโอกาสรอดชีวิตเพียง 4 นาทีแรกที่จมน้ำ 2. สนับสนุนการสร้างทีมครู ข. และทีมผู้ก่อการดีด้านการป้องกันการจมน้ำในพื้นที่เสี่ยง และพื้นที่ที่มีความพร้อมให้ครอบคลุมอำเภอที่มีรายงานการเสียชีวิต 3. นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานป้องกันการจมน้ำในพื้นที่ 5. มาตรการ /กลยุทธ์ระดับพื้นที่ 1. สร้างเครือข่ายผู้ก่อการดีด้านการป้องกันการจมน้ำในพื้นที่ และดำเนินงานป้องกันการจมน้ำ ตามองค์ประกอบของผู้ก่อการดี 2. สรุปผลการดำเนินงาน และประเมินสถานการณ์การจมน้ำพื้นที่ เพื่อดูแนวโน้ม/ความรุนแรง

19 งานปฐมพยาบาล สถานการณ์แนวโน้มในการจัดหน่วยปฐมพยาบาลในแต่ละปี
สภาพเหตุการณ์บ้านเมือง เศรษฐกิจ การเมือง ทำให้ต้องจัดหน่วยปฐมพยาบาลเพิ่มขึ้น การส่งเสริมการท่องเที่ยวของประเทศไทย และ นโยบายการกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาล/ ท้องถิ่น การรับเป็นเจ้าภาพการจัดประชุม การแข่งขันกีฬา การแข่งขันทางวิชาการ ระดับประเทศ/โลก การจัดกิจกรรมถวายความจงรักภักดีเนื่องในวโรกาสสำคัญๆ ของหน่วยงานภาครัฐและเอกชน การเสด็จฯ ประทับแรม ของพระบรมวงศานุวงษ์ การมาเยือนของ VIP ของ VVIP กลุ่มงานพัฒนารูปแบบบริการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ สรุปผลงาน การจัดหน่วยปฐมพยาบาล 5 ปี ย้อนหลัง ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ตามเสด็จฯ ทั่วไป 500 804 615 359 248 335 812 545 478 473 รวม 1,304 ครั้ง รวม 974 ครั้ง รวม 583 ครั้ง รวม 1,357 ครั้ง รวม 951 ครั้ง Gap การออกหน่วยปฐมพยาบาลแบบฉุกเฉิน ประสานการจัดทีมพยาบาลยาก การขอหน่วยปฐมพยาบาลในจังหวัดเชียงใหม่มากเกินไป

20 งานสำคัญที่ต้องทำ (Essential Task)
ระยะ 3 เดือน ระยะ 6 เดือน ระยะ 9 เดือน ระยะ 12 เดือน 1.เตรียมความพร้อมหน่วย ปฐมพยาบาลตามเสด็จฯ/ ทั่วไป -ประชุมหน่วยงานภาครัฐและเอกชน 31 แห่ง -จัดทำแผนรายภารกิจ/ แผนเตรียมความพร้อม ด้านการรักษาพยาบาล 2.ควบคุม ติดตาม กำกับ และให้คำปรึกษาแนะนำ/ แก้ปัญหา -จัดทำคู่มือ -จัดทำหนังสือขอความร่วม มือ/เตรียมความพร้อมฯ -จัดทำหนังสือขอความร่วมมือ/เตรียมความพร้อม -ประชุมระดับผอ.รพ.ให้ หน่วยงานที่มีศักยภาพให้ การสนับสนุน -ประสานงานทาง โทรศัพท์/Line/Mail -จัดเตรียมห้องพยาบาล และตรวจเยี่ยมหน่วย -สรุปผลการปฏิบัติงาน รายเดือน/ปี มาตรการสำคัญที่จะแก้ปัญหา ประชุมระดับผู้อำนวยการโรงพยาบาลที่เกี่ยวข้อง มอบหน้าที่รับผิดชอบให้โรงพยาบาลที่มีบุคลากรเพียงพอในการให้การสนับสนุนในกรณีฉุกเฉิน เช่น รพ.นครพิงค์, รพ.สันป่าตอง, จอมทอง, สันทราย เป็นต้น

21 มาตรการ/กลยุทธ์ระดับจังหวัด มาตรการ /กลยุทธ์ระดับพื้นที่
การดูแลผู้ป่วยในพระราชานุเคราะห์/ผู้ป่วยไม่ฉุกเฉิน ในพื้นที่ห่างไกล /หน่วยแพทย์เคลื่อนที่(พอ.สว.และพระบรมวงศานุวงศ์) สถานการณ์ GAP เชิงกระบวนการ Task List มาตรการ/กลยุทธ์ระดับจังหวัด มาตรการ /กลยุทธ์ระดับพื้นที่ การจัดทำแผนโดยจังหวัดหรือส่วนกลาง ไม่มีการบูรณาการกับแผนงานอื่นๆ เช่นงานกลุ่มวัยหรือLTC 1.การพัฒนาระบบฐานข้อมูลพื้นฐาน/ข้อมูลผู้ป่วย 2.การพัฒนาการจัดบริการทั้งมิติสุขภาพ/จิต/สังคม การจัดบริการพิเศษ เช่น การออกหน่วยเคลื่อนที่/การออกเยี่ยมแบบบูรณาการ 3.การพัฒนาระบบติดตามดูแลผู้ป่วยที่บ้าน หรือการส่งต่อผู้ป่วยเพื่อรับการรักษา 4.การพัฒนาเครือข่าย ทั้งในระบบสุขภาพ และจิตสังคม มีการประสานเครือข่าย อปท., พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์, เหล่ากาชาด, มูลนิธิต่างๆ 1.การรับ-ส่งต่อข้อมูลด้วยโปรแกรมการติดตามผู้ป่วยในพระราชานุเคราะห์(ของสบสส.) 2.การประสานแผน(งบ)หน่วยแพทย์พอ.สว./เดินเท้าพอ.สว.กับงานผู้ป่วยไม่ฉุกเฉินและงาน LTC ทีมหมอครอบครัว 3.สร้างเครือข่ายภาครัฐ/เอกชนในระดับจังหวัด 1.กำหนดพื้นที่เป้าหมาย 2.จัดทำแผนงานแบบบูรณาการงาน LTC ทีมหมอครอบครัว 3.ประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย 4.การรายงานผลทุกเดือน


ดาวน์โหลด ppt แผนงานปี 2561 กลุ่มงานพัฒนารูปแบบบริการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google