งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
สรุปภาพรวมการตรวจราชการและนิเทศงาน คณะที่ 1 การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และการจัดการสุขภาพ นพ.ดนัย เจียรกูล ผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 อุบลราชธานี Promotion Prevention & Protection Excellence

2 คณะที่ 1 การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและการจัดการสุขภาพ ( 5 ประเด็นหลัก /12 KPIs)
ตัวชี้วัด (*) หมายถึง ลำดับตัวชี้วัดตาม Template กยผ. หน่วยงานหลัก 1.การพัฒนาสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย 1 (2) อัตราส่วนการตายมารดาไทย กรมอนามัย 2 (3) ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย 3 (4) ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และส่วนสูงเฉลี่ยที่ อายุ 5 ปี 2.การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยเรียนและวัยรุ่น 4 (8) ร้อยละเด็กกลุ่มอายุ 0-12 ปีฟันดีไม่มีผุ (Cavity free) 5 (9) อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ ปี 3.การพัฒนาสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุ 6 (11) ร้อยละของตำบลที่มีระบบ Long Term Care ผ่านเกณฑ์ 4.การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ 7 (13) ร้อยละของ คกก.พัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ที่มีคุณภาพ กบส./สสว. 5. การลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ 8 (14) ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง กรมควบคุมโรค 9 (17) อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุน้อยกว่า 15 ปี 10 (18) อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน 11 (19) อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน และอัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง 12 (23) ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN and CLEAN Hospital กรมอนามัย/ กรมควบคุมโรค

3 อัตราส่วนการตายมารดา รายเขตสุขภาพ เดือนต.ค.60-ก.พ.61
ตัวชี้วัดที่ 1 อัตราส่วนมารดาตาย ไม่เกิน 20 ต่อแสนการเกิดมีชีพ อัตราส่วนการตายมารดา รายเขตสุขภาพ เดือนต.ค.60-ก.พ.61 อันดับ 3 ของประเทศ ที่มา สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย

4 สถานการณ์มารดาตายเขตสุขภาพที่10 ผลการดำเนินงานเขตสุขภาพที่10
ตัวชี้วัดที่ 1 อัตราส่วนมารดาตาย ไม่เกิน 20 ต่อแสนการเกิดมีชีพ สถานการณ์มารดาตายเขตสุขภาพที่10 ผลการดำเนินงานเขตสุขภาพที่10 -มารดาเสียชีวิต 1 ราย จาก Herpes Zoster & Encephalitis -ฝากครรภ์ครั้งแรก ≤ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 76.31  -ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง ร้อยละ 62.77  -หญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน ร้อยละ -โลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ ร้อยละ -การดูแลหลังคลอด 3 ครั้ง ร้อยละ -รพ.มาตรฐานอนามัยแม่และเด็ก ร้อยละ100 ข้อมูลจาก HDC 25 มีนาคม 61

5 ข้อมูลปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
ตามตัวชี้วัดแม่ตาย ปี 2561 Early ANC % ANC 5ครั้ง……… % เยี่ยมหลังคลอด……56.4 % ได้ยาเม็ดไอโอดีน…81.4 % หญิงตั้งครรภ์ซีด… 11.8 % Early ANC % ANC 5ครั้ง……… % เยี่ยมหลังคลอด……63.3 % ได้ยาเม็ดไอโอดีน…98.1 % หญิงตั้งครรภ์ซีด… % Early ANC % ANC 5ครั้ง……… % เยี่ยมหลังคลอด……55.9 % ได้ยาเม็ดไอโอดีน…74.5 % หญิงตั้งครรภ์ซีด… % Early ANC % ANC 5ครั้ง………… % เยี่ยมหลังคลอด…… 48.4 % ได้ยาเม็ดไอโอดีน… 77.9 % หญิงตั้งครรภ์ซีด … % Early ANC % ANC 5ครั้ง……… % เยี่ยมหลังคลอด……64.7 % ได้ยาเม็ดไอโอดีน…80.9 % หญิงตั้งครรภ์ซีด… % ตัวหนังสือสีแดง : ไม่ผ่านเกณฑ์ ที่มา : ข้อมูลจาก HDC (ตค-25 มีค 61)

6 ไม่เกิน 20 ต่อ แสนการเกิดมีชีพ
ตัวชี้วัดที่ 1 อัตราส่วนมารดาตาย ไม่เกิน 20 ต่อ แสนการเกิดมีชีพ SI3M GAP ข้อเสนอแนะ จุดเด่น S : Structure I : Information I : Intervention + Innovation I : Integration M : Monitoring - การลงข้อมูล ANC จาก คลินิก/รพ.เอกชน ขาดการกำกับติดตามการใช้ CPG แก้ไขภาวะซีดของ หน่วยบริการในรพ.ที่ไม่ใช่ Node กำหนดผู้รับผิดชอบหลักในการลงข้อมูลให้ทันเวลา พัฒนาให้มีระบบการให้ความรู้FP ในคลินิกโรคเรื้อรัง เพื่อลดปัญหา Indirect cause กำกับติดตามการถ่ายทอดนโยบาย/การปฏิบัติตามนโยบายใน CUP ที่ไม่ใช่ Node MCH board ระดับจังหวัดเข้มแข็ง/พัฒนางานMCH อย่างต่อเนื่อง มีระบบส่งต่อ FAST TRACK มีการปรับใช้แนวทาง คัดกรอง risk ที่เหมาะสมตามบริบท(ยโสธร /อุบลฯ / ศรีสะเกษ)

7 ตัวอย่างเอกสารการเยี่ยมหลังคลอด

8 เด็กอายุ 0-5 ปี พัฒนาการสมวัย
ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย เด็กอายุ 0-5 ปี พัฒนาการสมวัย ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 85 อันดับ 9 อันดับ 7 ระดับประเทศ อันดับ 7 อันดับ 7 71.5 19.6 72.2 อันดับ 3 อันดับ 6

9 อันดับ 7 ของประเทศ

10 อันดับ 6 ประเทศ

11 อันดับ 7 ของประเทศ

12 ติดตามมากระตุ้นพัฒนาการได้ดี เป็นอันดับที่ 4
เป้าหมาย ≥ 60 ติดตามมากระตุ้นพัฒนาการได้ดี เป็นอันดับที่ 4

13 125 5 2 1 4 39 14 (35.90) 20 14 (70) 10 4 (3.20) 3 (30)

14 ผลการดำเนินงาน คัดกรองพัฒนาการเด็กภาพรวม 4 กลุ่มอายุ พบสงสัยล่าช้า
ผลการดำเนินงาน คัดกรองพัฒนาการเด็กภาพรวม 4 กลุ่มอายุ พบสงสัยล่าช้า การติดตามภายใน 1 เดือน และการกระตุ้นด้วย TEDA-4I จำแนกรายจังหวัด ในเขตสุขภาพที่ ปีงบประมาณ – 2561 (ตค-มีค.) จังหวัด 2559 2560 2561 คัดกรอง ล่าช้า ติดตาม 1 ด. ใช้ TEDA4I ศรีสะเกษ 67.4 24.2 80.2 N/A 84.4 19.5 79.8 74.3 (2) 22.9 73.2 36.1 อุบลราชธานี 42.9 20.1 51.6 80.8 24.5 70.6 68.9 23.2 (1) (3) ยโสธร 81.2 13.8 70.8 75.5 12.4 65.2 74.6 11.4 64.1 35.6 อำนาจเจริญ 77.0 7.9 54.4 63.3 11.9 67.2 16.4 76.5 57.7 มุกดาหาร 78.4 9.1 86.0 74.2 11.3 47.9 55.2 11.8 50.7 35.7 รวมเขต 51.1 15.1 66.0 79.5 19.9 72.2 70.2 20.5 69.3 30.8 > 90% 2 > 20% 1 3 5 100 % 4

15 เด็กอายุ 0-5 ปี พัฒนาการสมวัย
ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย เด็กอายุ 0-5 ปี พัฒนาการสมวัย ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 85 SI3M GAP ข้อเสนอแนะ จุดเด่น S : Structure I : Information I : Intervention + Innovation I : Integration M : Monitoring - -การลงข้อมูลใน HDC ไม่ทันเวลา/ไม่ปรับเป้าหมาย -ระบบบริการไม่สอด คล้องกับวิถีชีวิตของประชาชน/ความไม่ตระหนักรู้ของประชาชน -ความเข้มข้นการกำกับCUP จัดซื้อยาตามชุดสิทธิประโยชน์ให้เพียงพอ -กำกับการบันทึกข้อมูลใน HDC ให้ทันเวลา/ปรับข้อมูลเป้าหมายให้เป็นปัจจุบัน -เพิ่ม Health Literacy ให้กับพ่อแม่/ผู้เลี้ยงดู เพื่อให้ตระหนักและมีส่วนร่วม -ปรับระบบบริการให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตและความต้องการของประชาชน -กำกับติดตามให้ CUP มีการจัดหายา/เวชภัณฑ์ให้ได้รับบริการตาม ชุดสิทธิประโยชน์ -MCH board ระดับ จังหวัดที่เข้มแข็ง -ขับเคลื่อนงานภายใต้ โครงการ Smart kids และโครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต By NEST -บูรณาการงานร่วมกับ กระทรวงหลัก/คกก.พัฒนาการเด็กระดับ จว.

16 เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ร้อยละ 54
ส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี ดช. 113 cm/ดญ.112 cm ตัวชี้วัดที่ 3 : ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และ ส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี ร้อยละ เด็กปฐมวัย สูงดีสมส่วน เตี้ย ผอม เปรียบเทียบ รายเขตสุขภาพ ปี 2561 อันดับ 7 ของประเทศ ที่มา : จาก HDC กระทรวงสาธารณสุข

17 ตัวชี้วัดที่ 3 : ร้อยละของเด็กอายุ ส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี
เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ร้อยละ 54 ส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี ดช. 113 cm/ดญ.112 cm ตัวชี้วัดที่ 3 : ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และ ส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี สถานการณ์ ดช cm ดญ cm

18 ที่มา : ข้อมูลจาก HDC (ตค-25 มีค 61)
ข้อมูลโภชนาการ ตามตัวชี้วัด ปี 2561 1 สูงดีสมส่วน % ส่วนสูง ดช.……… cm ส่วนสูง ดญ……… cm ผอม…………………7.68 % เตี้ย.....…………… % สูงดีสมส่วน % ส่วนสูง ดช.……… cm ส่วนสูง ดญ……… cm ผอม…………………4.22 % เตี้ย.....…………… % 2 สูงดีสมส่วน % ส่วนสูง ดช.……… cm ส่วนสูง ดญ……… cm ผอม…………………4.33 % เตี้ย.....…………… % 4 สูงดีสมส่วน % ส่วนสูง ดช.……… cm ส่วนสูง ดญ……… cm ผอม…………………5.35 % เตี้ย.....…………… % 3 สูงดีสมส่วน % ส่วนสูง ดช.……… cm ส่วนสูง ดญ……… cm ผอม…………………5.25 % เตี้ย.....…………… % ตัวหนังสือสีแดง : ไม่ผ่านเกณฑ์ ที่มา : ข้อมูลจาก HDC (ตค-25 มีค 61)

19 เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ร้อยละ 54
ส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี ดช. 113 cm/ดญ.112 cm ตัวชี้วัดที่ 3 : ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี SI3M GAP ข้อเสนอแนะ จุดเด่น S : Structure I : Information I : Intervention + Innovation I : Integration M : Monitoring - -ประชาชนขาดความตระหนักรู้/ส่วนร่วมในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ -ท้องถิ่นมีส่วนร่วมน้อยในการสนับสนุนเครื่องมือวัดความยาวและวัดส่วนสูงที่ได้มาตรฐาน สำหรับ อสม. -ขาดความเข้มข้นในการกำกับติดตามเทคนิคการวัดความยาว/ส่วนสงของ อสม. -เพิ่ม Health Literacy ให้กับพ่อแม่/ผู้เลี้ยงดู เพื่อให้ตระหนักและมีส่วนร่วม -ผลักดันให้ อปท. สนับสนุน/จัดหาเครื่องมือวัดความยาวและวัดส่วนสูง ที่ได้มาตรฐานสำหรับ อสม. -Coaching เทคนิคการวัดความยาว/ส่วนสูงของ อสม. อย่างสม่ำเสมอ -MCH board ระดับ จังหวัด ที่เข้มแข็ง -ทุกจังหวัดขับเคลื่อนงานภายใต้ โครงการ Smart kids และโครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต By NEST

20 ฟันดี + ฟันที่อุดแล้ว ฟันดี
. ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละของเด็กกลุ่มอายุ 0-12 ปีฟันดีไม่มีผุ (cavity free)ไม่น้อยกว่า ค่าเป้าหมาย สถานการณ์ ผลการดำเนินงาน ฟันดี + ฟันที่อุดแล้ว ฟันดี

21 ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละของเด็กกลุ่มอายุ 0-12 ปีฟันดีไม่มีผุ (cavity free)ไม่น้อยกว่า
ค่าเป้าหมาย SI3M GAP ข้อเสนอแนะ จุดเด่น S : Structure มีการหมุนเวียน ทภ. ในอำเภอ เนื่องจากขาดแคลนบุคลากรไม่ครบทุก รพ.สต I : Information ใช้ข้อมูลจากระบบHDC I : Intervention การส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพเคลือบฟลูออไรด์และการอุดฟันด้วยSmart technic I : Integration บูรณาการงานทันตสุขภาพใน รร.ส่งเสริมทันตสุขภาพ และในงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก M : Monitoring ควบคุมกำกับด้วยการตรวจราชการและการประเมินเยี่ยมเสริมพลังจากโครงการทันตสุขภาพในปีงบประมาณ 2561 -ประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม คือบริเวณในชุมชนยังมีร้านค้าที่เอื้อต่อการซื้อน้ำอัดลมขนมหวาน ขนมถุงกรุบกรอบอยู่ -เด็กยังไม่มีการตัดสินใจในการเลือกซื้อขนมที่มีประโยชน์ได้ จึงมีพฤติกรรมการบริโภคที่เสี่ยงต่อโรคฟันผุอยู่ -การควบคุมในโรงเรียนสามารถทำได้ แต่เมื่ออยู่ในครอบครัวเสาร์อาทิตย์เด็กก็ยังหาซื้อทานได้ -ด้านข้อมูลการส่งออกไม่ครบถ้วนของโปรแกรม Hos XP & J -การให้ครู ผู้ปกครองและเด็กมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ สามารถเลือกบริโภคอาหารที่ส่งเสริมสุขภาพ งดขนมเครื่องดื่มที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ -การควบคุมกำกับการบริหารเรื่องข้อมูล HDC ในด้านบุคลากรให้ลงข้อมูล การกำกับความสมบูรณ์ของข้อมูล -อุดฟันด้วย SMART TECHNIC ทั้งจังหวัดมุกดาหาร -การให้บริการให้ครอบคลุมทุกอำเภออาศัยการหมุนเวียนเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขไปยัง รพ.สต -การดำเนินงานถึงระดับชุมชน โดยมีการพัฒนาศักยภาพ อสม 42 คน ของจังหวัดอำนาจเจริญ ให้ตรวจฟันได้ ผ่านการบันทึกใน google application โดยส่งให้กับ สสจ

22 ตัวชี้วัดที่ 6 Long Term Care
ร้อยละของตำบลที่มีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชนผ่านเกณฑ์ (ร้อยละ 60) ตัวชี้วัดที่ 6 Long Term Care สถานการณ์ ผลการดำเนินงาน ร้อยละตำบล LTC ผ่านเกณฑ์ ปี ร้อยละตำบลเข้าร่วมโครงการและตำบล LTC ผ่านเกณฑ์ ปี 2561 ร้อยละ 50 ร้อยละ 60 Background ตำบล LTC : ประเทศไทยปี =3,718 ตำบล คิดเป็นร้อยละ (ตำบลที่เข้าร่วมโครงการ 4,512ตำบล) ตำบล LTC :เขตสุขภาพที่ 10 ปี = 409 ตำบล คิดเป็นร้อยละ (ตำบลเข้าร่วมโครงการ 413 ตำบล) ยอดสะสมตำบล LTC ปี 2559 และปี 2560 ข้อมูล ณ ธ.ค.60 ตำบล LTC : เขตสุขภาพที่ 10 ปี = 417 ตำบล คิดเป็นร้อยละ (ตำบลทั้งหมด 612 ตำบล) ยอดสะสมตำบล LTC ปี ข้อมูล ณ มี.ค.61

23 ตัวชี้วัดที่ 6 Long Term Care ร้อยละเมื่อเทียบเป้าหมาย
ร้อยละของตำบลที่มีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชนผ่านเกณฑ์ (ร้อยละ 60) ตัวชี้วัดที่ 6 Long Term Care ผลการดำเนินงาน กิจกรรมสำคัญ เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ร้อยละเมื่อเทียบเป้าหมาย ผลิต CM 1,202 (คน) 1,202 100 ผลิต CG 6,205 (คน) 6,205 CM: ผส.พึ่งพิง 1:35-40 1: 22.51 - CG: ผส.พึ่งพิง 1:10 1: 4.72 จัดทำ Care plan 29,318 (ฉบับ) 24,320 82.95 ผู้สูงอายุเปลี่ยนจากกลุ่มติดบ้านเป็นติดสังคม 1,685 6.47 ผู้สูงอายุเปลี่ยนจากกลุ่มติดเตียงเป็นติดบ้าน 194 5.93 ข้อมูล ณ มี.ค.61

24 ตัวชี้วัดที่ 6 Long Term Care
ร้อยละของตำบลที่มีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชนผ่านเกณฑ์ (ร้อยละ 60) ตัวชี้วัดที่ 6 Long Term Care SI3M GAP ข้อเสนอแนะ จุดเด่น S : ทุกจังหวัดมีนโยบาย แผนและทรัพยากรในการดำเนินงานที่ชัดเจน และมีการสื่อสารนโยบายลงสู่พื้นที่ I : มีการจัดเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลทุกเดือน มีสถานการณ์การดำเนินงานที่เป็นปัจจุบัน I : CM จัดทำ Care plan และมอบหมายให้ CG ดูแลผู้สูงอายุ ตาม Care plan มีการรายงานผลการดำเนินงานผ่าน PM อำเภอและจังหวัด มีช่องทางสื่อสารหลากหลาย I : มีการบูรณาการการดำเนินงานระหว่างหน่วยงาน /ภาคีที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ ได้แก่ สปสช.รพช. กศน. รพ.สต. อปท. และชุมชน M : มีการนิเทศติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานของจังหวัดได้แก่ การนิเทศผสมผสานและการ Ranking บันทึกการคัดกรอง ADL ในระบบ HDC ได้ % จัดทำ Care Plan ได้ % มีตำบลที่ยังไม่สมัครเข้าร่วมโครงการ 19 ตำบล ดำเนินการเบิกจ่ายเงินจากกองทุน LTC ได้ % PM จังหวัด และ อำเภอ เร่งรัดให้พื้นที่บันทึกข้อมูล ลงระบบ ให้ครบถ้วนเป็นปัจจุบันและให้ CM จัดทำ Care Plan ให้ครอบคลุมผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงทุกคน ใช้กลไก พชอ. สร้างความเข้าใจในเชิงรุกกับ อปท.ใน 19 ตำบลที่ยังไม่เข้าร่วมโครงการให้สมัครเข้าร่วมโครงการ และสร้างความเข้าใจในระเบียบการเบิกจ่ายเงินกองทุน LTC กับ อปท.ทุกแห่งที่ยังไม่ดำเนินการเบิกจ่าย โดยศึกษาวิธีการเบิกจ่ายจาก อปท. ที่ทำการเบิกจ่ายเงินแล้ว กำกับ ติดตามงาน ต่อเนื่อง และรายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินงานทุกเดือน ทีม PM จังหวัดและอำเภอที่เข้มแข็ง มี “กุง โมเดล” เป็นตัวอย่างในการดำเนินงาน

25 และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง
ตัวชี้วัดที่ 8 ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง ร้อยละ 85 สถานการณ์ ปี 2560 ผลงาน ปี 2561 เขต 10 100% ลำดับ ผลสำเร็จ อุบลฯ ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจ มุกดาหาร 1 ผู้บัญชาการผ่านอบรม ICS ผู้บริหาร (2 คน) 2 จัดทีมปฏิบัติการ (MERT, EMS, MCAT, SRRT) 3 จัดทีม SAT ระดับจังหวัด 4 วิเคราะห์ความเสี่ยงของจังหวัด ประเมินรอบที่ 2 5 มีแผน IAP หรือจัดฝึกซ้อมแผน

26 และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง
ตัวชี้วัดที่ 8 ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง ร้อยละ 85 SI3M GAP ข้อเสนอแนะ จุดเด่น S: Structure - มีโครงสร้าง ICS-SAT ชัดเจน ทำงานร่วมกันของภาค Non-Health I: Information ❖ เกณฑ์ (DCIR) ไม่ครอบคลุมทุกโรค/ภัย และไม่เชื่อม Operation team ❖ ไม่มีเกณฑ์ Activate EOC ควรพัฒนาเกณฑ์ DCIR และเกณฑ์ Activate EOC มีข้อมูลเฝ้าระวังและ ผลการสอบสวนโรค/ภัยสุขภาพ I: Intervention ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ติดตามโรค ภัยที่สำคัญในพื้นที่ พัฒนาศักยภาพบุคลากรต่อเนื่อง I: Integration บางจังหวัดกรรมการ EOC ไม่ทราบบทบาทภารกิจ ประชุม ทบทวน ฝึกซ้อมแผน EOC จังหวัด M: Monitoring นำระบบ Ranking EOC-SAT ไปใช้ในระดับอำเภอ

27 และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง
ตัวชี้วัดที่ 8 ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง ร้อยละ 85 จุดเด่น (Best Practice) 1. ทีมระบาดวิทยาอันดับ 1 ระดับประเทศ ปี 60 (อำนาจเจริญ) 2. ระบบติดตามควบคุมโรคด้วย GIS-DHF (ศรีสะเกษ) 3. ศูนย์ EOC ควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ (มุกดาหาร) 4. ต้นแบบตอบโต้โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า (อุบลราชธานี) 5. ระบบ Model และ Zika Online (ยโสธร)

28 มาตรการดำเนินงานในพื้นที่
ตัวชี้วัดที่ 11 อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน และอัตราประชากรกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงในเขตรับผิดชอบได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน เป้าหมาย New DM <= 2.40 % วัด BP ที่บ้าน >= 10 % สถานการณ์ ปี 2561 ผลการดำเนินงาน ตัวชี้วัด ผลงาน มาตรการดำเนินงานในพื้นที่ อัตราผู้ป่วย DM รายใหม่จากPre DM≤ 2.4 1.06 % S : Structure มีคณะกรรมการขับเคลื่อนการ ดำเนินงาน NCD Board, DHB, SP I : Information มีการตรวจสอบความถูกต้องของ ข้อมูลรายไตรมาส I : Intervention ใช้มาตรการ 3อ.2ส., MI, SKT, ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรค DM, HT I : Integration บูรณาการ DHS, service plan NCDs มีตำบลจัดการสุขภาพ ตามกลุ่มวัย M : Monitoring จังหวัดกำกับ/ติดตามการ ดำเนินงานในพื้นที่ อัตราประชากรกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วย ความดันโลหิตสูงในเขตรับผิดชอบได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน >ร้อยละ 10 ผลคัดกรอง HT = % สงสัยป่วย HT = 49,874 ราย HBPM 10% = 4,990 ราย พื้นที่กำหนดเป้าหมาย = 13,963 ราย 27.82% (13,687ราย ) ข้อมูล HDC ณ 25 มี.ค.2561

29 SI3M GAP ข้อเสนอแนะ จุดเด่น
ตัวชี้วัดที่ 11 อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน และอัตราประชากรกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงในเขตรับผิดชอบได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน เป้าหมาย New DM <= 2.40 % วัด BP ที่บ้าน >= 10 % SI3M GAP ข้อเสนอแนะ จุดเด่น S : Structure การดำเนินงานตามบทบาทหน้าที่ในคำสั่ง NCD Board ยังไม่ชัดเจนในบางพื้นที่ มีผู้ประสานงาน/กำกับ/ติดตามการดำเนินงานในแต่ละส่วนที่รับผิดชอบให้เป็นไปตามบทบาทหน้าที่ - I : Information ข้อมูลยังมีความคลาดเคลื่อนไม่ตรงกับฐานข้อมูลของจังหวัดในบางพื้นที่ มีผู้ประสานข้อมูลให้มีความถูกต้อง/เป็นปัจจุบันในพื้นที่ที่ยังมีปัญหาให้ถูกต้องอย่างต่อเนื่อง I : Intervention มีการขยายการใช้กระบวนการ MI , SKT ที่ได้ผลดีในพื้นที่เครือข่ายแต่ละจังหวัด I : Integration การมีส่วนร่วมของสหวิชาชีพในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม M : Monitoring ยังไม่มีการติดตามประเมินผลกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างชัดเจน ควรติดตามประเมินประสิทธิผลการดำเนินงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง มีกระบวนการ Ranking อย่างต่อเนื่อง

30 นวัตกรรม Best Practices
ตัวชี้วัดที่ 11 อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน และอัตราประชากรกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงในเขตรับผิดชอบได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน เป้าหมาย New DM <= 2.40 % วัด BP ที่บ้าน >= 10 % นวัตกรรม ยา 9 เม็ด 7 อรหันต์ อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร วงล้อปิงปองจราจรชีวิต 7 สี อำเภอเมืองศรีสะเกษ Best Practices เม็ดมะค่าตรวจฝ่าเท้า รพ.สต.โคกหล่าม อำเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ อำเภออุทุมพรพิสัย NCD Clinic Plus ผลงานดีเด่นระดับประเทศปี 2560

31 ตัวชี้วัดที่............................... ข้อมูลระดับประเทศ
ตัวชี้วัดที่ 12 ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital เป้าหมาย 1. รพ.ผ่านระดับพื้นฐานขึ้นไป ร้อยละ 95 (ไตรมาส 2) 2. รพ.ผ่านระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 50 (ไตรมาส2) ตัวชี้วัดที่ ข้อมูลระดับประเทศ ผลการดำเนินงาน 2 4 5 3 1 98.65 59.46 ข้อมูล ณ วันที่ 30 มีนาคม 2561 ข้อมูล ณ วันที่ 25 มีนาคม 2561

32 SI3M GAP ข้อเสนอแนะ จุดเด่น
ตัวชี้วัดที่ 12 ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital เป้าหมาย 1. รพ.ผ่านระดับพื้นฐานขึ้นไป ร้อยละ 95 (ไตรมาส 2) 2. รพ.ผ่านระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 50 (ไตรมาส2) ตัวชี้วัดที่ SI3M GAP ข้อเสนอแนะ จุดเด่น S : Struture - 1.ทุกจังหวัดมีการแต่งตั้งคณะกรรมการ GCH ระดับจังหวัด /ระดับอำเภอ I : Information 1.การลงข้อมูลการขนส่งมูลฝอยติดเชื้อไปกำจัด ยังไม่ครอบคลุมทุก รพ ได้แก่ อุบลฯ ศรีสะเกษ อำนาจฯ มุกดาหาร และจังหวัดยโสธร ยังไม่ลงทุก รพ 1.เร่งรัดให้ทุก รพ. ลงข้อมูลการส่งมูลฝอยติดเชื้อไปกำจัด โดยโปรแกรมกำกับการขนส่งมูลฝอยติดเชื้อ

33 SI3M GAP ข้อเสนอแนะ จุดเด่น
ตัวชี้วัดที่ 12 ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital เป้าหมาย 1. รพ.ผ่านระดับพื้นฐานขึ้นไป ร้อยละ 95 (ไตรมาส 2) 2. รพ.ผ่านระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 50 (ไตรมาส2) ตัวชี้วัดที่ SI3M GAP ข้อเสนอแนะ จุดเด่น I : Intervention 1.มีนวัตกรรมที่เกิดขึ้นใน รพ. แต่ยังขาดการรวบรวมนวัตกรรม GREEN ในทุกจังหวัด 1.ให้มีการรวบรวมรายชื่อ รพและประเภทนวัตกรรม 2.จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้กับ รพ. 1.รพ.ม่วงสามสิบ จ.อุบลฯ นวัตกรรม “ถีบช่วยโลก” 2.รพ.อำนาจฯ รพ.หัวตะพาน นวัตกรรม “นำน้ำเสียกลับมาใช้ประโยชน์” 3.รพ.ยโสธร “ธนาคารขยะ ” 4.รพ.มุกดาหาร “เลี้ยงไส้เดือนกำจัดขยะ” “ผลิตน้ำยาเอนกประสงค์ทำความสะอาด” “ผลิตดินปลูกจากกาตะกอนระบบบำบัด”

34 SI3M GAP ข้อเสนอแนะ จุดเด่น
ตัวชี้วัดที่ 12 ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital เป้าหมาย 1. รพ.ผ่านระดับพื้นฐานขึ้นไป ร้อยละ 95 (ไตรมาส 2) 2. รพ.ผ่านระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 50 (ไตรมาส2) ตัวชี้วัดที่ SI3M GAP ข้อเสนอแนะ จุดเด่น I : Integration 1.จ.อุบลฯ มีการบูรณากับงาน HA 2.จ.ศรีสะเกษ กำหนดเป็นตัวชี้ ในRanking 3.จ.ยโสธร มีการบูรณากับงานยุทธ์ศาสตร์ฯ ในการประชุม/นิเทศงาน 3.จ.อำนาจ มีการนิเทศงานแบบผสมผสานและจัดระดับการพัฒนาระดับอำเภอ Ranking 4.จ.มุกดาหาร บูรณาการร่วมกับคณะกรรมการ พชอ. ในการนิเทศติดตาม

35 SI3M GAP ข้อเสนอแนะ จุดเด่น
ตัวชี้วัดที่ 12 ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital เป้าหมาย 1. รพ.ผ่านระดับพื้นฐานขึ้นไป ร้อยละ 95 (ไตรมาส 2) 2. รพ.ผ่านระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 50 (ไตรมาส2) ตัวชี้วัดที่ SI3M GAP ข้อเสนอแนะ จุดเด่น M : Monitoring 1.จ.มุกดาหาร กำหนดการเยี่ยม/ติดตาม/ประเมินผล ปีละ 2 ครั้ง 2.จ.อำนาจฯ กำหนดแผนออกประเมิน ไม่สอดคล้องกับเป้าหมายการดำเนินงาน 1.ทบทวนจำนวนครั้งของการกำหนดแผนเยี่ยม แผนประเมินรับรอง ให้สอดคล้องกลุ่มเป้าหมาย 2.ให้จังหวัดกำหนดแผนเร่งรัดในการประเมินรับรอง 1.จังหวัดอุบลฯ มีแผนเยี่ยม รพ.ที่ไม่ผ่านมาตรฐาน จำนวน 4 ครั้ง

36 Thank you


ดาวน์โหลด ppt เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google