งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา
๑๓ มีนาคม ๒๕๖๐

2 กรอบการนำเสนอ 1.วัตถุประสงค์การเยี่ยมเสริมพลัง =>พัฒนาศูนย์เรียนรู้ในอำเภอ 2.การเตรียมการรับเยี่ยมเสริมพลัง => รพ.สต.ติดดาวทั้งอำเภอ 3.ใบงาน การประชุมภาคเช้า และภาคบ่าย 4.เก็บตก รพ.สต.ติดดาว

3 วัตถุประสงค์ การเยี่ยมเสริมพลัง
1

4 ทุกความหมายเพื่อการพัฒนาปฐมภูมิ
PCA ปฐมภูมิ PCC DHS HCA รพ.สต.ติดดาว

5 เกณฑ์มาตรฐาน รพ.สต.ติดดาว การสนับสนุนจาก รพ.แม่ข่าย
DHS PCA การสนับสนุนจาก รพ.แม่ข่าย 1.การบริหารจัดการเป็นเอกภาพ (Unity District Health Team) 2. การบริหารทรัพยากรร่วมกัน 3.การบริการปฐมภูมิที่จำเป็น 4. การสร้างคุณค่าและคุณภาพกับเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 5. ประชาชนและภาคีมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหาสุขภาพ ระบบงานหลัก 1. IC 2. IT 3. LAB 4. คบส. 5. ระบบส่งต่อ 6. เยี่ยมบ้าน การจัดบริการ => บนหน่วยบริการ (OPD ER ANC WCC NCD ทันตะ แผนไทย) => ในชุมชน ( HHC SRRT คบส.) ระบบสุขภาพอำเภอ

6 การสั่งการของ นพ.สสจ.นม.
ให้ ผอ.รพ.และ สสอ.ทุกอำเภอ ออกเยี่ยม รพ.สต.ทุกแห่ง (เยี่ยมพร้อมกัน) จัดทีมเยี่ยมเสริมพลัง (ผชช.ว.และ ตัวแทน สสอ.) => เยี่ยมทีมสนับสนุน และเยี่ยม รพ.สต.ศูนย์เรียนรู้ในอำเภอ (ช่วงเดือนมีนาคม 60) => โซน 1 (ผชช.ว.1 & สสอ.เมือง โซน 2,3 (ผชช.ว.2 & สสอ.โนนไทย โซน 4,5 (ผชช.ว.3 & สสอ.สีคิ้ว) เป้าหมาย =>ทีมนำ รพช. ( เภสัช IC IT LAB ทันตะ การเงิน ฯลฯ) และ ทีม สสอ. ประเมิน รพ.สต. เพื่อร่วมกันวางแผนพัฒนา รพ.สต.ติดดาว ในสองเรื่องหลัก คือ 1. จะลงทุนอะไร ใน รพ.สต. ? 2. จะวางระบบอะไรและอย่างไร ใน รพ.สต. ?

7 กรอบการนำเสนอ เป้าหมายการเยี่ยมเสริมพลัง =>พัฒนาศูนย์เรียนรู้ในอำเภอ การเตรียมการเยี่ยมเสริมพลัง => สู่การพัฒนา รพ.สต.ติดดาวทั้งอำเภอ ใบงาน การประชุมภาคเช้า และภาคบ่าย => คณะกรรมการ ระดับจังหวัด โซน และอำเภอ => ทีมงาน เขียนเอกสารประกอบการประเมิน => ทีมงานอ่านเอกสารเตรียมรับประเมิน

8 การเตรียมการ การเยี่ยมเสริมพลัง
2

9 แนวทางการเยี่ยมเสริมพลัง
จัดประชุมที่ รพ.สต.ที่เป็นศูนย์เรียนรู้ในอำเภอ ผู้เข้าประชุม คือ ทีมสนับสนุนของอำเภอ =>ทีมนำของ รพช./ทีม สสอ. ทีม รพ.สต.ศูนย์เรียนรู้ในอำเภอ ผู้บริหาร (ผอ.รพช. และ สสอ.) ร่วมประชุมด้วย ออกแบบการพัฒนา รพ.สต.ศูนย์เรียนรู้ สู่ รพ.สต.ติดดาว

10 การเตรียมรับการเยี่ยมเสริมพลัง
1.รพ.สต.ศูนย์เรียนรู้ฯ => เตรียมสถานที่ ฯลฯ => สำรวจส่วนขาดจากเกณฑ์ 2.ทีมนำ/ทีมสนับสนุนระบบ => ทำการบ้าน นำส่วนขาดของศูนย์เรียนรู้ วางแผนพัฒนาให้เข้าเกณฑ์ => มองภาพรวมในการพัฒนา รพ.สต.ติดดาว ทั้งอำเภอ 3.กำหนดการ => นำเสนอโดยสรุปสาระสำคัญ (ข้อ 1,2 แบบกระชับ) เปิดเวทีแลกเปลี่ยน => เยี่ยมระบบสนับสนุนหลักและระบบบริการบนสถานบริการ

11 ใบงาน ภาคเช้า/ภาคบ่าย
3

12 ภาคเช้า แบ่งกลุ่มตามบทบาทหน้าที่/ระบบสนุบสนุน เป้าหมาย นำเสนอ 5 นาที
=> ผช.สสอ.และ ผอ.รพ.สต.ศูนย์เรียนรู้ อยู่ห้องเดียวกัน => เข้ากลุ่มตามภารกิจของระบบสนับสนุน (IC LAB IT ฯลฯ) เป้าหมาย => ศึกษาเกณฑ์ รพ.สต.ติดดาว => ระดมความคิดเห็น ในกลุ่ม “ระบบที่เป็นเจ้าของร่วมกัน เป็นมิตร ยั่งยืน สร้างการอยู่ร่วมและอยู่รอด” นำเสนอ 5 นาที

13 ภาคบ่าย 1.แบ่งกลุ่มตามโซน เพื่อ.......
=> คัดเลือก คกก.ประเมินฯ ประจำโซน ซึ่งจะมีบทบาท 2 เรื่อง คือ (1) เป็น คกก. ประเมินระดับจังหวัด และ (2) เป็นทีมพี่เลี้ยงระดับโซนของโซนตนเอง => คัดเลือกตัวแทน 3 คน (ตัวแทน สสอ.1 คน ตัวแทน ผอ.รพ.สต. 1 คน ตัวแทน รพ.1คน) เพื่อแต่งตั้งเป็น คกก.สนับสนุนการพัฒนา รพ.สต.ติดดาวระดับจังหวัด (เช่น การเขียน เอกสารเป็นตัวอย่าง อ่านเอกสารก่อนรับประเมิน เป็นต้น ) => ระดมความคิดเห็นเพื่อการพัฒนางานระดับโซน 2.แบ่งกลุ่มเป็นอำเภอ เพื่อ...... => หารือเตรียมการรับเยี่ยมเสริมพลัง และ เสนอร่าง คกก.ประเมิน/พี่เลี้ยงระดับอำเภอ

14 รพ.สต.ติดดาว เก็บตก

15

16 PCC ตัวชี้วัด PA ปี 2560 กระทรวงสาธารณสุข รพ.สต. ติดดาว Service
แผนงานที่ 5 การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ 12. ร้อยละของพื้นที่ที่มีคลินิกหมอครอบครัว (Primary Care Cluster) 13. อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 14. อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ 15. ลดระยะเวลารอคอย ผ่าตัด เคมีบำบัด รังสีรักษา ของมะเร็ง 5 อันดับแรก 16. อัตราตายจากโรคมะเร็งตับ 17. อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ 18. ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR<4 ml/min/1.73m2/yr 19. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและ หลอดเลือด (CVD Risk) 20. ร้อยละของโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล แผนงานที่ 6 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ Service Excellence แผนงานที่ 7 ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ครบวงจรและระบบการส่งต่อ 21. ร้อยละของโรงพยาบาล F2 ขึ้นไป ที่มีระบบ ECS คุณภาพ รพ.สต. ติดดาว แผนงานที่ 8 การพัฒนาคุณภาพหน่วยงานบริการด้านสุขภาพ 22. ร้อยละของหน่วยบริการที่ผ่านการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (HA) 23. ร้อยละของ รพ.สต. ในแต่ละอำเภอที่ผ่านเกณฑ์ระดับการพัฒนาคุณภาพ

17 ประเด็นการตรวจราชการปี 2560
ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ Prevention & Promotion Excellence บริการเป็นเลิศ Service Excellence 1. ร้อยละของพื้นที่ที่มีคลินิกหมอครอบครัว (Primary Care Cluster) 2. ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ 3. อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 4. ร้อยละของโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล 5. อัตราตายของทารกแรกเกิด อายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 28 วัน 6. ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่ได้มาตรฐาน 7. อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ 8. อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ 9. ลดระยะเวลารอคอย ผ่าตัด เคมีบำบัด รังสีรักษาของมะเร็ง 5 อันดับแรก 10. ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR<4 ml/min/1.73m2/yr 11. ร้อยละของผู้ป่วยตาบอดจากต้อกระจก (Blinding Cataract) ได้รับการผ่าตัดภายใน 30 วัน 12. จำนวนการปลูกถ่ายไตสำเร็จ 13. ร้อยละของ รพ.F2 ขึ้นไปที่มีระบบ ECS คุณภาพ 14. อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ (Trauma) 15. ร้อยละของ รพ.สต. ในแต่ละอำเภอที่ผ่านเกณฑ์ ระดับการพัฒนาคุณภาพ 16. ร้อยละของหน่วยบริการผ่านการรับรองคุณภาพตามมาตรฐาน (HA) บุคลากรเป็นเลิศ People Excellence บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมมาภิบาล Governance Excellence PCC รพ.สต. ติดดาว

18 การพัฒนาคุณภาพ รพ.สต.(รพ.สต.ติดดาว)
การบริหาร การพัฒนา การประเมิน Award กระทรวงสธ. (สนย.) ปลัดสธ./ผอ.สนย. Core Team (14 คน) เกณฑ์คุณภาพรพ.สต.ติดดาว รพ.สต. 5 ดาว Award ประเทศ 1 แห่ง/เขต (12 แห่ง) เขตสุขภาพ 12 เขต ผู้ตรวจราชการ ทีมพี่เลี้ยงระดับเขต (ครู ก) (120 คน) ทีมประเมินระดับเขต รับรอง รพ.สต. 5 ดาว Award 1 แห่ง/จังหวัด (76 แห่ง) จังหวัด 76 จังหวัด นพ.สสจ. ทีมพี่เลี้ยงระดับจังหวัด (760 คน) ทีมประเมินระดับจังหวัด คัดเลือก รพ.สต. 5 ดาว 1 แห่ง/จังหวัด (76 แห่ง) อำเภอ 878 อำเภอ ประธาน/รองปธ.คปสอ.. ทีมพี่เลี้ยงระดับอำเภอ (8,780 คน) ทีมประเมินระดับอำเภอ ประเมินรพ.สต. 5 ดาว 10% /จังหวัด (988 แห่ง) รพ.สต. 9,878 แห่ง ผอ.รพ.สต. ทีมพัฒนาคุณภาพ รพ.สต. (2,445 ทีม) ประเมินตนเอง PA ผู้ปฏิบัติงาน (39,512 คน) เครือข่ายคุณภาพ

19 เป้าหมาย รพ.สต.ติดดาว เป้าหมาย ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564
รับรอง 5 ดาว Award ระดับประเทศ จังหวัดละ 1 แห่ง (76 จังหวัด : 76 แห่ง) เขตละ 1 แห่ง (12 เขต : 12 แห่ง) จังหวัดละ 1 แห่ง (76 จังหวัด : 76 แห่ง) โดยการรับรอง/มอบรางวัล 5 ดาว (Award ระดับประเทศ) ต้องไม่ใช่ รพ.สต.เดิม ที่เคยได้รับรางวัลในปีที่ผ่านมา Appreciate, Accredit 10% (988 แห่ง) 25% (2,470 แห่ง) 50% (4,939 แห่ง) 75% (7,409 แห่ง) 100% (9,878 แห่ง) เข้าร่วมโครงการ 100% (9,878 แห่ง) - จำนวน รพ.สต. 9,878 แห่ง หน่วยงาน รพ.สต. ทุกเขต/ ทุกจังหวัด รพ.สต + PCU รพ. รพ.สต + PCU รพ.+PCC หมายเหตุ - ระดับ 5 ดาว จังหวัดและเขตร่วมพัฒนา และรับรองผลให้ได้ 5 ดาว - รักษาสภาพ 5 ดาว 2 ปี ก่อนเข้ารับการประเมินใหม่

20 รายละเอียดในปี 2560 KPI เป้าหมาย ปี 60 12 เดือน 3 เดือน 6 เดือน
ร้อยละของ รพ.สต. ในแต่ละอำเภอที่ผ่านเกณฑ์ระดับการพัฒนาคุณภาพ เป้าหมาย ปี 60 รพ.สต. ผ่านเกณฑ์คุณภาพ รพ.สต.ติดดาว ระดับ 5 ดาว อย่างน้อย ร้อยละ 10 3 เดือน 1. มีคณะทำงานระดับกระทรวง 2. มีคู่มือเกณฑ์คุณภาพ รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) 3. มีการประชุมชี้แจงใหญ่/ Kick off 4. มีการสื่อสารองค์กรอย่างเป็นรูปธรรม 5. อบรมทีมพี่เลี้ยงระดับเขตสุขภาพ (ครู ก) 6 เดือน 1. ทีมเลี้ยงระดับเขตสุขภาพชี้แจงการดำเนินงานและพัฒนาทีมพี่เลี้ยงระดับจังหวัด/อำเภอ 2. รพ.สต.ร้อยละ 100 มีการนำเกณฑ์คุณภาพประเมินตนเอง 3 รพ.สต. พัฒนาคุณภาพตามส่วนขาด (Gap) 9 เดือน 1. ทีมประเมินระดับอำเภอ ประเมินรับรองผล รพ.สต. 5 ดาว ให้ได้ รพ.สต. ที่ผ่านการประเมินอย่างน้อย ร้อยละ 10 2. ทีมประเมินระดับจังหวัดประเมินและคัดเลือก รพสต.5 ดาว จากร้อยละ 10 ให้ได้ 1 แห่ง ส่งรายชื่อให้เขตสุขภาพ 3 ทีมประเมินระดับเขต เยี่ยมประเมินรับรอง รพ.สต 5 ดาว ระดับจังหวัดที่ส่งชื่อ เพื่อรับ Award 4. ทีมประเมินระดับเขตสุขภาพ คัดเลือกรพ.สต. 5 ดาวระดับเขต 1 แห่ง เพื่อรับ Award 12 เดือน 1. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และมอบรางวัลให้กับ รพ.สต. 5 ดาว ระดับเขต ระดับประเทศ

21 รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) 30% 10% 10% 30% 20% ส่วนที่ 1 บริหารดี
หมวด 1 การนำองค์กรและการจัดการดี 1.1 ภาวะผู้นำ การนำ ธรรมมาภิบาล 1.2 แผนกลยุทธ์ด้านสุขภาพ 1.3 ระบบงาน/กระบวนการที่สำคัญ 30% - การจัดการการเงินและบัญชี - การจัดการอาคาร สถานที่ สภาพแวดล้อม - การจัดระบบบริการสนับสนุน รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) หมวด 2 การให้ความสำคัญกับประชากรเป้าหมาย ชุมชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 2.1 การได้มาซึ่งปัญหาของชุมชน (ODOP/OTOP) ประชากรกลุ่มเป้าหมาย ฐานข้อมูลผู้รับบริการ 2.2 ประสานงานภายในเครือข่าย 2.3 ประสานงานภายนอก และภาคีเครือข่าย 2.4 ภาคีเครือข่ายสุขภาพมีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพ 2.5 ความสัมพันธ์ความพึงพอใจ ของประชากรกลุ่มเป้าหมายชุมชน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และการจัดการข้อร้องเรียน 10% ส่วนที่ 1 บริหารดี ส่วนที่ 2 ประสานงานดี ภาคีมีส่วนร่วม หมวด 3 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 3.1 มีการจัดการอัตรากำลังด้านสุขภาพ 3.2 มีการสร้างความผาสุกและความพึงพอใจแก่บุคลากร 3.3 มีระบบพัฒนาการเรียนรู้ของบุคลากรและการประเมินผลการการปฏิบัติงาน 3.4 มีการเสริมพลังประชาชนและครอบครัวให้มีศักยภาพในการดูแลสุขภาพตนเอง (self care) 10% ส่วนที่ 3 บุคลากรดี หมวด 4 การจัดระบบบริการครอบคลุมประเภทและประชากรทุกกลุ่มวัย 4.1 จัดบริการตามสภาพปัญหาชุมชน ODOP /OTOP 4.2 การบริการในสถานบริการ 4.3 การบริการในชุมชน ส่วนที่ 4 บริการดี 30% ส่วนที่ 5 ประชาชนมีสุขภาพดี หมวด 5 ผลลัพธ์ 5.1 บทบาทของบุคคลและครอบครัวในการดูแลตนเอง (Self Care) 5.2 ผลลัพธ์ตามตัวชี้วัด (KPI) 5.3 นวัตกรรม งานวิจัย การจัดการองค์ความรู้ 20%

22 หมวด 1 การนำองค์กรและการจัดการดี
ส่วนที่ 1 บริหารดี (30%) หมวด 1 การนำองค์กรและการจัดการดี (14 คะแนน) (10%) (4 คะแนน) (5%) (282 คะแนน) (15%) 1.1 ภาวะผู้นำ การนำ ธรรมาภิบาล 1.2 แผนกลยุทธ์ด้านสุขภาพ 1.3 ระบบงาน/กระบวนการที่สำคัญ 1.1.1 ภาวะผู้นำของผู้บริหารองค์กร 1.2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ 1.3.1 การจัดการการเงินและบัญชี (5 คะแนน) มีการทำงานร่วมกันของคณะกรรมการสุขภาพอำเภอ(DHS)/ คณะกรรมการสุขภาพตำบล เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ 1.3.2 การจัดการอาคาร สถานที่ สภาพแวดล้อม (47 คะแนน) การกำหนดและถ่ายทอดทิศทาง 1.2.2 การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ 1.3.3 การจัดระบบบริการสนับสนุน การกำกับดูแล การจัดการข้อร้องเรียน การจัดทำแผนปฏิบัติการ ถ่ายทอดแผนไปสู่การปฏิบัติ การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ (IC) (20 คะแนน) การทบทวนผลการดำเนินการ ระบบคุณภาพและมาตรฐานทางห้อง ปฏิบัติการด้านการแพทย์และสาธารณสุข (LAB) (107 คะแนน) 1.1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม เภสัชกรรม/ คุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ(คบส.) (44 คะแนน) การดำเนินการอย่างมีจริยธรรม ระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ (IT) (60 คะแนน) การให้การสนับสนุนต่อชุมชนที่สำคัญ

23 หมวด 2 การให้ความสำคัญกับประชากรเป้าหมาย ชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ส่วนที่ 2 ประสานงานดี ภาคีมีส่วนร่วม (10%) (10 คะแนน) หมวด 2 การให้ความสำคัญกับประชากรเป้าหมาย ชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 2.1 การได้มาซึ่งปัญหาของชุมชน (ODOP/OTOP) ประชากรกลุ่มเป้าหมาย ฐานข้อมูลผู้รับบริการ - คปสอ. 2.2 ประสานงานภายในเครือข่าย - รพ.สต. ในเครือข่าย - สถานบริการสาธารณสุขนอกเครือข่าย 2.3 ประสานงานภายนอก และภาคีเครือข่าย - อปท. 2.4 ภาคีเครือข่ายสุขภาพมีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพ - ชุมชน - หน่วยงานอื่นๆ 2.5 ความสัมพันธ์ ความพึงพอใจของประชากรกลุ่มเป้าหมายชุมชน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และการจัดการข้อร้องเรียน

24 หมวด 3 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ส่วนที่ 3 บุคลากรดี (10%) หมวด 3 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล (10 คะแนน) 3.1 มีการจัดการอัตรากำลังด้านสุขภาพ 3.2 มีการสร้างความผาสุกและความพึงพอใจแก่บุคลากร 3.3 มีระบบพัฒนาการเรียนรู้ของบุคลากรและการประเมินผลการการปฏิบัติงาน 3.4 มีการเสริมพลังประชาชนและครอบครัวให้มีศักยภาพในการดูแลสุขภาพตนเอง (self care)

25 หมวด 4 การจัดระบบบริการครอบคลุมประเภทและประชากรทุกกลุ่มวัย
ส่วนที่ 4 บริการดี (30%) หมวด 4 การจัดระบบบริการครอบคลุมประเภทและประชากรทุกกลุ่มวัย (9คะแนน) (10%) (7คะแนน) (5%) 4.3 การบริการในชุมชน (บทบาท เจ้าหน้าที่ / อสม./ กสค./ อสค./ ญาติผู้ป่วย) ฐานข้อมูลผู้รับบริการ การลงข้อมูล (Electronic file) ที่ให้บริการ/ Family Folder 4.1 จัดบริการตามสภาพปัญหาชุมชน (ODOP/OTOP) (14 คะแนน) (15%) 4.2 การบริการในสถานบริการ (บทบาทเจ้าหน้าที่ ) 4.3.1 การดูแลบริการสุขภาพที่บ้าน (Home Health Care)/ LTC และ Palliative care ช่องทางการติดต่อสื่อสารกับ ผู้รับบริการและภาคีเครือข่าย 4.2.1 OPD 4.3.2 การควบคุมและป้องกันโรค (SRRT) 4.2.2 ER Flow chart การทำงาน ของ FCT ทุกระดับ 4.3.3 คุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ (คบส.) 4.2.3 ANC 4.2.4 WCC 4.2.5 NCD CPG รายบริการที่สนับสนุนจากแม่ข่าย + Refer(ทะเบียน) 4.2.6 แผนไทย 4.2.7 ทันตกรรม เครื่องมือที่ให้บริการ

26 ส่วนที่ 5 ประชาชนมีสุขภาพดี(20%)
หมวด 5 ผลลัพธ์ (15 คะแนน) (10%) (20คะแนน) (5%) 5.1 บทบาทของบุคคลและครอบครัวในการดูแลตนเอง (Self Care) - 3 อ./2ส. - Self help group 5.2 ผลลัพธ์ตามตัวชี้วัด (KPI) 5.2.1 ตัวชี้วัดตาม QOF ประเทศ 5.1.1 ODOP/OTOP 5.2.2 ตัวชี้วัดระดับกระทรวง/เขต/ จังหวัด/อำเภอ 5.1.2 การบริการในสถานบริการ (5 คะแนน) (5%) 5.1.3 การบริการในชุมชน 5.3 นวัตกรรม งานวิจัย การจัดการองค์ความรู้ 5.3.1 มีนวัตกรรม งานวิจัย การจัดการองค์ความรู้ที่สอดคล้องกับปัญหาชุมชน 5.3.2 มีผลลัพธ์และมีการเผยแพร่ เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน 5.3.3 มีการใช้ประโยชน์ของผลงาน นำไปสู่การดูแลตนเองได้

27 กระบวนการประเมิน สนง.เขตสุขภาพ รพ.สต. 5 ดาว รพ.สต. 5 ดาว รพ.สต. 5 ดาว
-พัฒนาพื้นที่โดยทีมพี่เลี้ยง -ประเมิน รับรองโดย คกก.อำเภอ รพ.สต. 5 ดาว (ระดับอำเภอ) Self assessment/ Profile รวบรวม/ประมวลผลการลงประเมิน -ประเมิน/รับรอง โดย คกก. เขตฯ รพ.สต. 5 ดาว (ระดับจังหวัด) สนง.เขตสุขภาพ -พัฒนาพื้นที่โดยทีมพี่เลี้ยง -ประเมินรับรองโดย คกก.จังหวัด Award ระดับประเทศ ผู้บริหารส่วนกลางลงเยี่ยม แห่งใดแห่งหนึ่ง รพ.สต. 5 ดาว (ระดับเขต) รพ.สต. 5 ดาว (จังหวัดละ 1 แห่ง) รพ.สต. 5 ดาว Award (เขตละ 1 แห่ง) ผู้บริหารส่วนกลางลงเยี่ยม/ ถอดบทเรียน

28 คะแนน รพ.สต.ติดดาว ≥ 90 คะแนน ผ่านเกณฑ์ (5 ดาว) ต้องมีทุกข้อต่อไปนี้
ลำดับ เกณฑ์ น้ำหนัก คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้ 5 ดาว 1 หมวด 1 การนำองค์กรและการจัดการที่ดี ≥ 90 คะแนน 1.1 ภาวะผู้นำ การนำ ธรรมาภิบาล 10 14 ≥ 80% 1.2 แผนกลยุทธ์ด้านสุขภาพ 5 4 1.3 ระบบงาน/กระบวนการที่สำคัญ 15 282 2 หมวด 2 การให้ความสำคัญกับประชากรเป้าหมาย ชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3 หมวด 3 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล หมวด 4 การจัดระบบบริการครอบคลุมประเภทและประชากรทุกกลุ่มวัย 4.1 จัดบริการตามสภาพปัญหาชุมชน (ODOP/OTOP) 7 4.2 การบริการในสถานบริการ (บทบาทเจ้าหน้าที่ ) 4.3 การบริการในชุมชน 9 หมวด 5 ผลลัพธ์ 5.1 บทบาทของบุคคลและครอบครัวในการดูแลตนเอง (Self Care) 5.2 ผลลัพธ์ตามตัวชี้วัด (KPI) 20 5.3 นวัตกรรม งานวิจัย การจัดการองค์ความรู้ รวม 100 390 ผ่านเกณฑ์ (5 ดาว) ต้องมีทุกข้อต่อไปนี้ 1. แต่ละหมวดต้องได้คะแนนไม่ต่ำกว่า 80% 2. คะแนนรวมมากกว่าหรือเท่ากับ 90 คะแนน

29 ปัจจัยแห่งความสำเร็จ =>เก็บตกจากเขต 8 จ.อุดรธานี
ผู้ประเมิน (1-3ปีแรก ทุกข์ระทม /ปัจจุบัน มีความสุขกับงานและเพื่อนๆ) ผู้บริหารระดับสูง (สสจ.) เอาจริง =>สร้างระบบการควบคุมกำกับ ผู้บริหารระดับอำเภอ (ผอ.รพช./สสอ.) => ไฟเขียวระบบสนับสนุน => สร้างความเป็นเจ้าของร่วมในการบริหาร (โดยเฉพาะหมวดบริหารดี) ความเป็นเจ้าของในระบบสนับสนุนจาก รพ.ชุมชน (แม่ข่าย) การจัดการระบบข้อมูลใน รพ.สต.

30


ดาวน์โหลด ppt รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google