เอกสารแนบ 1 แนวทางปรับปรุงตัวชี้วัดของ WEF และ IMD ที่เป็นจุดอ่อน ที่เกี่ยวข้องกับด้าน HUMAN CAPITAL วันที่ 25 มกราคม 2561 ณ ห้องประชุม 531 อาคาร 5 ชั้น.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การศึกษาความต้องการและปัจจัยที่มีผล ต่อการเลือกสถานศึกษาเพื่อศึกษาต่อที่ โรงเรียน เทคนิควิมลบริหารธุรกิจ ของ นักเรียนในโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายใน โรงเรียนจังหวัด.
Advertisements

ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
กองแผนงาน สำนักงานอธิการบดี รายงานการวิจัย ความพึงพอใจของ นายจ้าง / ผู้ใช้บัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ รุ่นปีการศึกษา 2546 เสนอสภามหาวิทยาลัย 12 พฤศจิกายน.
ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
ด้านบริหารงานวิชาการ ฉบับปรับปรุง มิถุนายน 2554
รูปแบบการนำเสนอ หน่วยงาน
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดน่าน
ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานประกอบการต่อการฝึกงานของนักศึกษา ระดับปวส
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
KKU : แผนระยะยาว พ. ศ ( ) : แผนระยะกลาง ( พ. ศ ) ครึ่งแผนหลัง ( พ. ศ ) : แผนระยะกลาง 2020 ( พ. ศ.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ การประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษา พ. ศ
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ผลการประเมินระดับชาติและ
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
กลุ่มพัฒนาเครือข่ายและสถานศึกษาต้นแบบ (กพค.)
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
ระบบบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยงาน Department Research Management System DRMS โดยทีมพัฒนาระบบ DRMS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
การขอรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงาน ตามมาตรา 26
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
รศ. ทวีศักดิ์ สูทกวาทิน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
SMS News Distribute Service
การประชุมกรมอนามัย ครั้งที่ 10/2557 วันเสาร์ที่ 11 ตุลาคม 2557
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง (TOR) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม . . ฝ่ายวิชาการ . .
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เอกสารแนบ 1 แนวทางปรับปรุงตัวชี้วัดของ WEF และ IMD ที่เป็นจุดอ่อน ที่เกี่ยวข้องกับด้าน HUMAN CAPITAL วันที่ 25 มกราคม 2561 ณ ห้องประชุม 531 อาคาร 5 ชั้น 3 สศช. สพข.

ในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา อันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย มีแนวโน้มดีขึ้น เอกสารแนบ 1 ที่มา: IMD, WEF และ World Bank หมายเหตุ อันดับ Doing Business (DB) 2016-2018 ธนาคารโลกใช้วิธีการจัดอันดับแบบ Distance to Frontier(DTF) และในรายงานฉบับ 2016-2017 ธนาคารโลกได้ปรับอันดับปี 2016 ของไทย จากอันดับที่ 49 เป็น 46

ทั้งในด้านสถาบัน ทุนมนุษย์ โครงสร้างพื้นฐาน และความสามารถด้านนวัตกรรม อย่างไรก็ดี ผลการจัดอันดับของ WEF และ IMD ยังสะท้อนประเด็นที่ยังคงต้องปรับปรุง ทั้งในด้านสถาบัน ทุนมนุษย์ โครงสร้างพื้นฐาน และความสามารถด้านนวัตกรรม เอกสารแนบ 1 WEF เกณฑ์ใหม่ (นำมาใช้ปี 2018) IMD (2017)* Institution จำนวนครั้งของการก่อการร้าย/ อิสระของสื่อ/ ระบบคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาเข้าถึงยาก เสถียรภาพทางการเมือง (S) ปัญหาคอร์รัปชัน (S)/ ปัญหาอาชญากรรม (S) การคุ้มครองผู้ลงทุน (S) Human Capital ตัวชี้วัดจำนวนปีที่ได้รับการศึกษา(เฉลี่ย)/ คุณภาพของอาชีวศึกษา/ ทักษะด้านดิจิทัล/ และความง่ายในการหาแรงงานมีทักษะ การเรียนการสอน Critical Thinking/ค่าชดเชยในการเลิกจ้างและภาษีแรงงานมีอัตราสูง เอกชนขาดอิสระในการกำหนดค่าแรง จำนวนนักเรียนต่อครู (H) / การอ่านหนังสือไม่ออก (H) / คุณภาพการศึกษาคณิตและวิทย์ (S) /ภาษาอังกฤษ (B) / ทักษะด้านการเงิน (S) ดิจิทัล (S) / อัตราเติบโตของประชากรวัยแรงงาน (H)/ ค่าชดเชยในการเลิกจ้าง (H) /ด้านผลิตภาพแรงงาน Infrastructure อายุเฉลี่ยปีที่มีสุขภาพดี / ประสิทธิภาพของการขนส่งทางราง อัตราการเข้าถึงไฟฟ้า ประชากรที่บริโภคน้ำที่ไม่ปลอดภัย / จำนวนผู้ใช้อินเตอร์เน็ต สัดส่วนค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพต่อประชากร (H) /สัดส่วนประชากรต่อบุคลากรทางการแพทย์ (H) / การบริหารจัดการโลจิสติกส์ (S) / ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน (H) / การใช้คอมพิวเตอร์ (H) / การใช้ Big Data Digital Technology (H) Innovation อัตราการเป็นเมือง / จำนวนการจดสิทธิบัตร การลงทุนด้านวิจัยและพัฒนา (H) และบุคลากรด้านวิจัย/ จำนวนสิทธิบัตร (H) * ตัวอย่างประเด็นที่ต้องปรับปรุงของ WEF ที่สอดคล้องกับ IMD หมายเหตุ H : Hard Data, S : Survey Data,

ดังนั้น (a, H/S, Qx) = (อันดับ, / ประเภทข้อมูล, กลุ่มตามความยาก-ง่าย) กระบวนการวิเคราะห์เพื่อยกอันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศ จึงได้แบ่งกลุ่มตัวชี้วัด WEF และIMD ตามประเด็น อันดับ และความยาก-ง่ายในการขยับอันดับ เอกสารแนบ 1 จัดกลุ่มตัวชี้วัด WEF และ IMD ตามประเด็นเป็น 4 กลุ่ม ประกอบด้วย 1) Institution 2) Human Capital 3) Infrastructure 4) Innovation จัดกลุ่มตัวชี้วัดWEF และ IMD ตามอันดับ ตัวชี้วัดของ WEF xx.yy จัดอันดับจาก 137 ประเทศ ตัวชี้วัดของ IMD x.y.zz จัดอันดับจาก 63 ประเทศ โดยอ้างอิงการแบ่งจุดอ่อน (สีแดง) และจุดแข็ง (สีเขียว) ตามที่ IMD กำหนด ประเภทข้อมูลที่ใช้ S = Survey Data, H = Hard Data ตัวชี้วัด WEF ซึ่งเป็นตัวชี้วัดภายใต้เกณฑ์ใหม่ (GCI 4.0) สศช. และ สสช. ได้มีการ วิเคราะห์เพิ่มเติม ด้วยวิธี Quadrant Analysis เพื่อเป็นแนวทางในการทำงานร่วมกับ หน่วยงานรับผิดชอบตัวชี้วัด โดยพิจารณาจาก 2 เกณฑ์ ได้แก่ ความยาก-ง่ายในการ Implement และ Sensitivity ต่ออันดับความสามารถในการแข่งขัน ดังนี้ Q1 = Quick win 1-2 ปี (Sensitivity สูง, Implement ง่าย) : ควรรีบดำเนินการแก้ไข ปรับปรุงโดยด่วน Q2 = Monitor (Sensitivity ต่ำ, Implement ง่าย) : ควรดำเนินการแก้ไขปรับปรุงตามปกติ Q3 = Long term มากกว่า 5 ปี (Sensitivity ต่ำ, Implement ยาก) : ควรดำเนินการ ตามปกติซึ่งอาจจะเห็นผลช้า Q4 = Challenge 3-5 ปี (Sensitivity สูง, Implement ยาก) : ท้าทายในการดำเนินการ ถ้าทำได้จะเห็นผลชัด ต้องเร่งวางพื้นฐานทันทีเลย จุดแข็ง (สีเขียว) คือ ตัวชี้วัดที่มีอันดับตั้งแต่ 1 ถึง 35 ต้องเฝ้าระวัง (สีส้ม) คือ ตัวชี้วัดทีมีอันดับตั้งแต่ 71 ถึง 105 จุดอ่อน (แดง) คือ ตัวชี้วัดที่มีอันดับตั้งแต่ 106 เป็นต้นไป Q1 Q2 Q3 Q4 ดังนั้น (a, H/S, Qx) = (อันดับ, / ประเภทข้อมูล, กลุ่มตามความยาก-ง่าย)

ภาพรวมตัวชี้วัดของ WEF และ IMD ด้าน HUMAN CAPITAL จุดอ่อนส่วนใหญ่ สะท้อนว่าการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยและอาชีวศึกษา ไม่สามารถสร้างบุคลากรที่มีทักษะตรงต่อความต้องการของภาคธุรกิจ เอกสารแนบ 1 Primary education Higher education Skill Workforce 6.01 Mean years of schooling (83,H,Q3) 6.03 Quality of vocational training (74,S,Q4) 8.01 Redundancy costs (128,H,Q3) 8.02 Hiring and firing practices (30,S,Q2) 8.03 Cooperation in labor-employer relations (36,S,Q2) 8.04 Flexibility of wage determination (103,S,Q3) 8.05 Active labor policies (53,S,Q2) 8.06 Workers’ rights (62,H,Q2) 8.07 Ease of hiring foreign labor (52,S,Q1) 8.08 Internal labor mobility (67,S,Q1) 8.09 Reliance of professional management (51,S,Q1) 8.10 Pay and productivity (47,S,Q2) 8.11 Female participation in labor force (53,H,Q2) 8.12 Labor tax rate (18,H,Q2) 6.02 Extent of staff training (47,S,Q1) 6.04 Skillset of graduates (59,S,Q4) 6.09 Pupil-to-teacher ratio in primary education (51,H,Q2) 6.08 Critical thinking in teaching (104,S,Q3) 6.05 Digital skills among population (57,S,Q4) 6.07 School life expectancy (32,H,Q3) 6.06 Ease of finding skilled employees (86,S,Q4) 4.5.05 Pupil-teacher ratio (secondary education) (63,H) 3.2.11 Employee training (18,S) 4.5.03 Total public expenditure on education per pupil (41,H) 4.5.06 Secondary school enrollment (53,H) 3.2.18 Skilled labor (35,S) 3.2.19 Finance skills (42,S) 4.5.07 Higher education achievement (37,H) 3.2.21 Brain drain (26,S) 4.5.04 Pupil-teacher ratio (primary education) (27,H) 3.2.22 Foreign high-skilled people (24,S) 4.5.13 Educational system (46,S) 4.5.08 Women with degrees (44,H) 3.2.23 International experience (22,S) 4.5.14 Science in schools (46,S) 4.5.09 Student mobility inbound (53,H) 3.2.20 Attracting and retaining talents (23,S) 3.1.08 Workforce productivity (30,S) 3.2.06 Working hours (4,H) 3.2.07 Labor relations (26,S) 4.5.10 Student mobility outbound (53,B) 3.2.24 Competent senior managers (23,S) 3.2.08 Worker motivation (28,S) 3.2.12 Labor force (11,H) สีเขียว : จุดแข็ง 4.2.11 Digital/ Technological skills (50,S) 4.5.11 Educational assessment (49,H) 3.2.13 Labor force (%) (7,H) สีส้ม : เฝ้าระวัง 4.5.15 University education (46,S) 4.5.12 English proficiency (58,B) 3.2.14 Labor force growth (57,H) 4.5.17 illiteracy (47,H) 3.2.16 Female labor force (33,H) สีแดง : จุดอ่อน 4.5.16 Management education (43,S) 4.5.18 Language skills (50,S) 3.2.17 Foreign labor force (30,B)

แผนงาน/โครงการที่เกี่ยวข้องกับ ด้าน HUMAN CAPITAL เน้นให้ความสำคัญกับการพัฒนาทักษะด้านนวัตกรรม เพื่อรองรับอุตสาหกรรมเป้าหมาย เอกสารแนบ 1 Primary education Higher education Skill Workforce ยุทธศาสตร์การ ปฏิรูปการศึกษา (ศึกษาธิการ) โครงการยกระดับ มาตรฐานกำลังคน อาชีวศึกษาด้าน เทคโนโลยี นวัตกรรม (Innovative Technology) ให้ พร้อมก้าวสู่ THAILAND 4.0 (ศึกษาธิการ) ยุทธศาสตร์เพื่อการ ปฏิรูปการศึกษา (ศึกษาธิการ) โครงการศูนย์ดิจิทัล คอนเทนต์ ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ (DEPA) (ดิจิทัล) การเตรียมความพร้อม กำลังคน เพื่อรองรับ อุตสาหกรรมเป้าหมาย และ Thailand 4.0 (BOI) โครงการเพิ่มผลิต ภาพแรงงานสู่ SMEs 4.0 (STEM Workforce Towards SME 4.0) (แรงงาน) โครงการยกระดับ แรงงานไทยให้ได้ มาตรฐานฝีมือแรงงาน เพื่อรองรับการแข่งขัน (แรงงาน) ข้อเสนอเบื้องต้น ให้กระทรวงศึกษาธิการมีโครงการที่ส่งเสริมการเพิ่มจำนวนปีที่เยาวชนต้องได้รับการศึกษา (เฉลี่ย), มีมาตรการลดจำนวนนักเรียนที่ลาออกกลางคัน และส่งเสริมการศึกษาต่อในระดับ มัธยม อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา ให้กระทรวงศึกษาธิการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา คุณภาพของอาชีวศึกษา/ ทักษะของ ผู้จบมัธยมและบัณฑิตที่ตอบโจทย์ธุรกิจ ให้กระทรวงแรงงานปรับปรุงกรอบกฎหมาย ด้านการจ้างงานและการเลิกจ้างให้ยืดหยุ่น มากขึ้น เพื่อลดภาระของภาคธุรกิจ

1. review สถานการณ์ตัวชี้วัดย้อนหลัง 2 1. review สถานการณ์ตัวชี้วัดย้อนหลัง 2. เช็คความถูกต้องของ Definition ข้อมูล และการคำนวณ 3. บอกทิศทางกระทรวง 4. เติมปัจจัยที่เกี่ยวข้อง 5. list แผนงานโครงการกิจกรรมที่เป็นรูปธรรมในแต่ละปัจจัย พร้อมกำหนดเป้าหมาย 6. ตัวชี้วัดที่เป็น Survey ให้มีแผนประชาสัมพันธ์ 7. ข้อเสนอแนะอื่นๆ ติดต่อ E-mail : kulasup@nesdb.go.th (แพร) , nisaka@nesdb.go.th (กาว) เบอร์ : 02 280 4085 ต่อ 5638, 5632