การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม กลุ่มงานอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย แนวทางดำเนินงานของแผนยุทธศาสตร์ระบบสุขภาพ ปี 2562 และตัวชี้วัดการดำเนินงานสาธารณสุข การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม กลุ่มงานอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย
ยุทธศาสตร์ที่1 ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ แผนงานที่ 4 การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
ยุทธศาสตร์ที่1 ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน และคุ้มครอง ผู้บริโภคเป็นเลิศ แผนงานที่ 4 การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัด (PA) 1.ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital ระดับดีมากขึ้นไปร้อยละ 40 และระดับดีมาก Plus 1 แห่ง 2.โรงพยาบาลมีการควบคุมการจัดการมูลฝอยติดเชื้อด้วยระบบDigital Infectious Coltrol 3.จังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (ผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก)
√ Green & Clean Hospital อำเภอที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อม √
สรุปผลการดำเนินพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมตามเกณฑ์ G&C ระดับเขต ปีงบประมาณ 2561
งานพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital ปี 2561 ผลการดำเนินงาน ปี 2561 ผ่านระดับดีมาก 5 แห่ง (38.46 %) (รพ.กันทรวิชัย,รพ.วาปีปทุม,รพ.นาเชือก,รพ.เชียงยืน,รพ.บรบือ) รพ.กันทรวิชัย ชนะเลิศ G&C ระดับเขต รพ.สต.วังปทุม อ.วาปีปทุม ชนะเลิศ G&C ระดับเขต รพ.วาปีปทุม รองชนะเลิศอันดับ 1 ประกวดนวัตกรรม G&C ระดับเขต เป้าหมายการดำเนินงาน ปี 2561 *ผ่านระดับดีมาก ร้อยละ 20 *ผ่านระดับดี ร้อยละ 50 *ผ่านระดับพื้นฐาน ร้อยละ 95 *ระดับดี ผ่าน 13 แห่ง(100%) ผ่านพื้นฐาน 13 แห่ง(100%) รพ.กันทรวิชัยเป็น Green & Clean Hospital ต้นแบบ
เป้าหมาย/ผลการดำเนินงาน เป้าหมายปี 62 : ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital (ระดับดีมากขึ้นไปร้อยละ 40 และระดับดีมากPlus 1 แห่ง) ชื่อ ปี 2560 ปี 2561 พื้นฐาน ดี ดีมาก รพ.มหาสารคาม √ รพ.แกดำ รพ.วาปีปทุม รพ.เชียงยืน รพ.กันทรวิชัย รพ.โกสุมพิสัย รพ.นาดูน รพ.ยางสีสุราช รพ.พยัคฆภูมิพิสัย รพ.บรบือ รพ.นาเชือก รพ.กุดรัง รพ.ชื่นชม สรุปผลการดำเนินงาน ปี พื้น ฐาน ร้อยละ ดี ดีมาก ปี 60 13 100 12 92.3 1 7.7 ปี 61 5 38.5
G: -ไม่มี/มีที่พักขยะติดเชื้อไม่ได้มาตรฐาน - ที่รองรับขยะไม่เพียงพอ ปัญหาการดำเนินงาน G: -ไม่มี/มีที่พักขยะติดเชื้อไม่ได้มาตรฐาน - ที่รองรับขยะไม่เพียงพอ - ถุงแดงไม่มีโลโก้ - ไม่มีรถเข็นขยะ - การบันทึกข้อมูลลงในโปรแกรมควบคุมกำกับติดตามการจัดการมูลฝอยติดเชื้อไม่ต่อเนื่องและเป็นปัจจุบัน R: ห้องน้ำไม่สะอาด อุปกรณ์ชำรุด จัดไม่เป็นระเบียบ En: ระบบบำบัดน้ำเสีย –น้ำเสียไม่ไหลเข้าหน่วยบำบัด, การระบายน้ำทิ้งตามที่กฎหมายกำหนด,การรายงาน N: -ไม่มีจัดหา/ซื้อชุดตรวจวิเคราะห์น้ำบริโภค(อ11), ชุดตรวจคลอรีน (อ.31) -โรงครัว/ร้านอาหาร คับแคบ/การตรวจสุขภาพ/แผน ส่งตรวจอาหารทางห้องLab - ฝาปิดบ่อดักไขมัน - จุดน้ำดื่มบริการไม่เพียงพอ นวัตกรรม/เครือข่ายG&C : การรวบรวมผลงานไม่เป็น รูปธรรม
ข้อสังเกตผลการดำเนินงานจากการประกวดตามเกณฑ์ G&C ประจำปี 2561 โรงพยาบาล รายละเอียด หมายเหตุ 1. โรงพยาบาลกันทรวิชัย -ฝาปิดบ่อดักไขมัน 2. โรงพยาบาลกุดรัง - พื้นห้องส้วมไม่แห้ง พื้นแฉะ สถานที่ตั้งไม่เหมาะสมโดยมีแผนที่จะย้ายไปที่อื่น - ระบบบำบัดน้ำเสียอยู่ระหว่างปรับปรุงแก้ไข -ไม่มีชุดทดสอบการเฝ้าระวังอาหารและน้ำ 3. โรงพยาบาลแกดำ -ที่พักขยะติดเชื้อไม่ได้มาตรฐาน ,-ถุงแดงยังไม่มีโลโก้ 4. โรงพยาบาลโกสุมพิสัย -ระบบบำบัดน้ำเสียยังแก้ไขไม่เสร็จมีการระบายน้ำทิ้งไม่เป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด -ห้องน้ำมีอุปกรณ์ทำความสะอาดวางไม่เป็นระเบียบ -ร้านอาหาร ร่องระบายน้ำไม่สะอาดมีคราบไขมัน 5. โรงพยาบาลชื่นชม - ไม่มีสถานที่พักมูลฝอยติดเชื้อไม่ได้มาตรฐาน -พื้นห้องส้วมไม่แห้ง แฉะ สถานที่ตั้งไม่เหมาะสม 6. โรงพยาบาลเชียงยืน -โรงครัวคับแคบ(ควรปรับปรุงที่ล้างจาน) 7. โรงพยาบาลนาเชือก โรงอาหาร การจัดภูมิทัศน์เพิ่มพื้นที่สีเขียว 8. โรงพยาบาลนาดูน - ทีพักมูลฝอยทั่วไป -ระบบบำบัดน้ำเสีย อยู่ระหว่างปรับปรุงระบบ -โรงครัว มีการบรรจุอาหารผู้ป่วยด้วยถุงพลาสติก 9. โรงพยาบาลบรบือ -พื้นห้องน้ำผู้พิการ OPD แฉะ -ที่รองรับขยะ(แก้วที่ใช้แล้วล้นถังขยะ) -ระบบบำบัดน้ำเสีย ปั้มคลองหมุนเวียนน้ำชำรุด 10. โรงพยาบาลพยัคฆภูมิพิสัย - การจัดภูมิทัศน์เพิ่มพื้นที่สีเขียว อยู่ระหว่างก่อสร้างอาคาร -มีรายงานสรุปผลการทำงานของระบบบำบัดน้ำเสีย ตามแบบ ทส01, ทส02 เป็นปัจจุบัน 11. โรงพยาบาลวาปีปทุม 12. โรงพยาบาลมหาสารคาม -จุดบริการน้ำดื่มไม่เพียงพอ 13.โรงพยาบาลยางสีสุราช
ข้อเสนอแนะ จัดให้มีแผนจัดหา/ซื้อชุดตรวจวิเคราะห์น้ำบริโภค (อ11)/ ชุดทดสอบคลอรีน (อ.31) กระจายครอบคลุมถึง รพ.สต.ทุก แห่งทุกปี 2. กำกับ ติดตาม การบันทึกข้อมูลลงในโปรแกรมควบคุมการจัดการมูลฝอยติดเชื้อให้เป็นเป็นปัจจุบัน 3. กำกับ ติดตาม ควบคุมการจัดทำบันทึกรายละเอียด และรายงานสรุปผลการทำงานของระบบบำบัดน้ำเสียของโรงพยาบาลทุกแห่งตามแบบ ทส01,ทส02 ทุกเดือน
เป้าหมายการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ จังหวัดมหาสารคาม ปี 2562 สถานการณ์ รพ.ผ่านระดับดีมาก 5 แห่ง(38.47) รพ.กันทรวิชัย/วาปีปทุม/นาเชือก/บรบือ/เชียงยืน เป้าหมายการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ จังหวัดมหาสารคาม ปี 2562 ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital (ระดับดีมากขึ้นไปร้อยละ 40 และระดับดีมาก Plus 1 แห่ง) มาตรการสำคัญ จังหวัด 1.วิเคราะห์ข้อมูล และจัดทำแผนสนับสนุน /ทบทวน คกก. 2.จัดให้มีและสนับสนุนให้เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3.สนับสนุนองค์ความรู้ และให้คำปรึกษา และพัฒนาศักยภาพบุคลากรอย่างต่อเนื่อง 4.จัดทีมตรวจประเมิน และลงพื้นที่ตรวจประเมิน 5.เชื่อมโยงเครือข่ายการพัฒนา G&C สู่ชุมชน อำเภอ 1. ทบทวน คกก. / ประเมินตนเอง 2.ดำเนินการตามแผน กำกับ ติดตาม ประเมินผลและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 3.สร้างเครือข่ายการพัฒนา G&C สู่ชุมชน 4.วิเคราะห์ผลการดำเนินงาน และวางแผนพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 5.พัฒนาศักยภาพและสร้างการมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่ทุกระดับ Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน -มีนโยบาย กลไกขับเคลื่อน ประเมินตนเอง และจัดทีมตรวจประเมินพัฒนาโรงพยาบาลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN hospital -จัดทำแผนการประเมิน Re -accreditation โรงพยาบาล โรงพยาบาล พัฒนาได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital ระดับดี ร้อย 100ระดับดีมาก ร้อย 40 โรงพยาบาล พัฒนา ได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital ระดับดีมาก ร้อยละ 60 Plus 1 แห่ง โรงพยาบาล พัฒนาได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital ระดับดีมาก ร้อยละ 60 Plus 2 แห่ง
What Next 2562 พัฒนายกระดับ รพ.ระดับดีมากร้อยละ 60 เป็นระดับดีมากPlus > 1 แห่ง 1. เพิ่มนโยบายขับเคลื่อนใช้ถุงผ้าแทน ถุงพลาสติกและเลิกการใช้ กล่องโฟมบรรจุอาหาร 2. เกณฑ์ประเมิน ข้อ.15.รพ.อาหารปลอดภัย และ ข้อ.16. จัดบริการอาชีวอนามัยและเวช กรรม สวล.ระดับพื้นฐาน พัฒนายกระดับรพ.ระดับดีมาก Plus > 1 แห่ง รพ.กันทรวิชัย/ รพ.วาปีปทุม/รพ.บรบือ/ รพ.นาเชือก/เชียงยืน พัฒนายกระดับรพ.ระดับดี เป็นระดับดีมาก 6 แห่ง
การดำเนินงานพัฒนาอนามัย สิ่งแวดล้อม ตามเกณฑ์มาตรฐาน GREEN & CLEAN Hospital Structure *มีกลไกขับเคลื่อนการทำงานทั้งระดับกระทรวง/เขต/จังหวัด Information *มีระบบรายงาน Cookpit/แบบรายงานการประเมินตนเองทุกเดือน Intervention *มีการประชุมแลกเปลี่ยนการดำเนินงานโดยมีรพ.กันทรวิชัยเป็น รพ.G&C ต้นแบบ *สนับสนุนการประกวดนวัตกรรม/ชุมชนเช้มแช็งด้าน สวล. Integrate *บูรณาการงานร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง(สถ.โครงการจังหวัดสะอาด/ทสจ.โครงการ Sero Waste) monitoring *ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงาน*ติดตามประเมินเพื่อยกระดับ
√ Green & Clean Hospital อำเภอที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อม √
สถานการณ์ จังหวัดมหาสารคามที่มีการจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อม และสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน ปี พ.ศ.2561 ระดับดี เป้าหมายการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์จังหวัดมหาสารคาม ปี 2562 ระดับดี มาตรการสำคัญ (PIRAB) P : สร้างการมีส่วนร่วมภาคีเครือข่ายอย่างบูรณาการและผลักดันให้เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่าน best practices ระดับอำเภอ,จังหวัด I : สนับสนุนให้เกิดการบูรณาการ ใช้ทรัพยากรในการพัฒนา และขับเคลื่อนงานระดับอำเภอ,จังหวัด R : สร้างการมีส่วนร่วมภาคีเครือข่ายอย่างบูรณาการและผลักดันให้เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่าน best practices ระดับอำเภอ,จังหวัด A : ส่งเสริมให้เกิดกลไกการบริหารจัดการเชิงนโยบายที่เข้มแข็ง ขับเคลื่อนให้เกิดการพัฒนา จังหวัด/อำเภอจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ อย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพ และยั่งยืน B : เสริมสร้างทักษะความเชี่ยวชาญ สนับสนุนองค์ความรู้ด้านการจัดการปัจจัยเสี่ยงขับเคลื่อนให้เกิดการพัฒนา จังหวัด/อำเภอจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ แก่เจ้าหน้าที่ทุกระดับ Small Success for 2019 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน ประเมินตนเองและมีแผนการพัฒนาอำเภอจัดการปัจจัยเสี่ยงฯ อำเภอขับเคลื่อนการพัฒนาฯตามเกณฑ์ระดับพื้นฐาน อำเภอขับเคลื่อนการพัฒนาฯตามเกณฑ์ระดับดี อำเภอขับเคลื่อนการพัฒนาฯตามเกณฑ์ระดับดี
แนวทางการดำเนินงาน ดังนี้ อำเภอมีระบบจัดการปัจจัยเสียงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพ ปี 2562 ประเด็นการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 1. มูลฝอยทั่วไป 2. มูลฝอยติดเชื้อ 3. สุขาภิบาลอาหาร 4. น้ำบริโภค 5. สิ่งปฏิกูล 6. เหตุรำคาญ 7. กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ 8. การบังคับใช้กฎหมายสาธารณสุข 9. การรับภาวะฉุกเฉินน ประกอบด้วย 6 ประเด็น หลัก ดังนี้ 1.การเฝ้าระวังระบบ ฐานข้อมูล สถานการณ์ และเฝ้าระวังด้าน สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 1.1 มีฐานข้อมูลทั้งประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมพื้นฐานและประเด็นพื้นที่เสี่ยงต่อสุขภาพมลพิษสิ่งแวดล้อม เกณฑ์การประเมิน ระดับพื้นฐาน ≥ 5 ประเด็น ระดับดี ≥ 7 ประเด็น ระดับดีมาก ≥ 9 ประเด็น แนวทางการดำเนินงาน ดังนี้ 1.ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ผู้รับผิดชอบงานระดับตำบล ทั้งรพ.สต.และ อปท. พร้อมอบรมการใช้โปรแกรม NEHIS 2.พัฒนาระบบฐานข้อมูล โดยบันทึกข้อมูลผ่านระบบ NEHIS มี การวิเคราะห์และนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการแก้ไขปัญหา 2.1 กำหนดประเด็นปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของอำเภอ 2.2 มีข้อมูลประเด็นปัญหา/นโยบาย อย่างเป็นระบบ 2.3 มีการจัดการข้อมูล 2.4 มีการรายงานสถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอย่างต่อเนื่อง 2.5 มีการเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 2.6 มีการใช้ประโยชน์จากข้อมูล
แนวทางการดำเนินงาน ดังนี้ อำเภอมีระบบจัดการปัจจัยเสียงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพ ปี 2562 ประกอบด้วย 6 ประเด็น หลัก ดังนี้ ประเด็นการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 1. มูลฝอยทั่วไป 2. มูลฝอยติดเชื้อ 3. สุขาภิบาลอาหาร 4. น้ำบริโภค 5. สิ่งปฏิกูล 6. เหตุรำคาญ 7. กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ 8. การบังคับใช้กฎหมายสาธารณสุข 9. การรับภาวะฉุกเฉินน 1.การเฝ้าระวังระบบ ฐานข้อมูล สถานการณ์ และเฝ้าระวังด้าน สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 1.2 มีการเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมพื้นฐานและประเด็นพื้นที่เสี่ยงต่อสุขภาพมลพิษสิ่งแวดล้อมหรือปัญหาตามบริบทพื้นที่ เกณฑ์การประเมิน ระดับพื้นฐาน ≥ 2 ประเด็น ระดับดี ≥ 3 ประเด็น ระดับดีมาก ≥ 5 ประเด็น แนวทางการดำเนินงาน ดังนี้ 1.ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ผู้รับผิดชอบงานระดับตำบล ทั้งรพ.สต.และ อปท. พร้อมอบรมการใช้โปรแกรม NEHIS 2.พัฒนาระบบฐานข้อมูล โดยบันทึกข้อมูลผ่านระบบ NEHIS มี การวิเคราะห์และนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการแก้ไขปัญหา 2.1 กำหนดประเด็นปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของอำเภอ 2.2 มีข้อมูลประเด็นปัญหา/นโยบาย อย่างเป็นระบบ 2.3 มีการจัดการข้อมูล 2.4 มีการรายงานสถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอย่างต่อเนื่อง 2.5 มีการเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 2.6 มีการใช้ประโยชน์จากข้อมูล
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล สถานการณ์และการเฝ้าระวัง ด้านสิ่งแวดล้อม (โปรแกรม NEHIS)
แนวทางการดำเนินงานในเกณฑ์ระดับดี ดังนี้ อำเภอมีระบบจัดการปัจจัยเสียงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพ ปี 2562 ประกอบด้วย 6 ประเด็น หลัก ดังนี้ แนวทางการดำเนินงานในเกณฑ์ระดับดี ดังนี้ 1.มีคำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการระดับอำเภอ 2.มีแผนการ/โครงการ/กิจกรรมดำเนินงาน 3. มีการจัดประชุมคณะกรรมการระดับอำเภอ(มีแผนการประชุม 2 ครั้ง) 4. มีจัดลำดับความสำคัญปัญหาด้าน สวล.ต่อ คกก. จำนวน ≥ 3 ประเด็น 5. มีการจัดทำรายงานการประชุม 2.มีกลไกการจัดการปัจจัยเสี่ยงจากมลพิษสิ่งแวดล้อมอย่างบูรณาการ โดยขับเคลื่อนการดำเนินงานผ่านกลไกคณะกรรมการอำเภอ
อำเภอมีระบบจัดการปัจจัยเสียงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพ ปี 2562 ประกอบด้วย 6 ประเด็น หลัก ดังนี้ 3.มีระบบและกลไกสนับสนุนการจัดการขยะมูลฝอยติดเชื้อของโรงพยาบาล รพท./รพช.สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ให้ถูกตามกฎหมาย แนวทางการดำเนินงาน 1. มีฐานข้อมูลจำนวนสถานบริการการสาธารณสุข/คลินิกเอกชนทุกประเภท 2. มีข้อมูลปริมาณมูลฝอยติดเชื้อที่เกิดขึ้นและปริมาณมูลฝอยติดเชื้อ ที่ได้รับการจัดการของแหล่งกำเนิดต่างๆ จากโปรแกรมกำกับการขนส่งมูลฝอยติดเชื้อของเขตสุขภาพที่ 5 จังหวัดราชบุรี
แนวทางการดำเนินงานในเกณฑ์ อำเภอมีระบบจัดการปัจจัยเสียงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพ ปี 2562 ประกอบด้วย 6 ประเด็น หลัก ดังนี้ 4.มีการส่งเสริมให้ท้องถิ่นมีการจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ได้มาตรฐาน(EHA) แนวทางการดำเนินงานในเกณฑ์ 1. มีแผนการดำเนินงาน และมีการส่งเสริม/สนับสนุน พัฒนาศักยภาพบุคลากร ร่วมกับ อปท. 2. มีฐานข้อมูลการพัฒนาคุณภาพ EHA ของเทศบาล 3. เทศบาล สมัครรับการประเมินรับรอง (EHA) ระดับพื้นฐาน (ตามที่กรมอนามัย กำหนด) หรือระดับเกียรติบัตร
รายงานข้อมูลขยะติดเชื้อของสถานบริการ ปี 2561 รายงานข้อมูลขยะติดเชื้อของสถานบริการ ปี 2561 ปริมาณขยะติดเชื้อ 1,210 กก./วัน (441.755 ตัน/ปี)
แนวทางการดำเนินงานในเกณฑ์ อำเภอมีระบบจัดการปัจจัยเสียงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพ ปี 2562 ประกอบด้วย 6 ประเด็น หลัก ดังนี้ 5. สนับสนุนให้เกิดตำบลที่มีชุมชนที่มีศักยภาพในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชน Active community (AC) แนวทางการดำเนินงานในเกณฑ์ 1. มีแผนงานเพื่อขับเคลื่อนให้ตำบลมีชุมชนที่มีศักยภาพในการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชนระยะยาว 2. อำเภอมีตำบลที่มีศักยภาพในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในระดับดี ร้อยละ 50 ของตำบลมีชุมชนเข้มแข็งด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 3. เกิดนวัตกรรมชุมชนด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ตามบริบทของพื้นที่ และมีแหล่งเรียนรู้นวัตกรรมชุมชนด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
สรุปผลการประเมินการพัฒนาชุมชนเข้มแข็งด้านสิ่งแวดล้อม ปีพ.ศ.2561 ร้อยละ ร้อยละ จังหวัด จังหวัด
แนวทางการดำเนินงานในเกณฑ์ อำเภอมีระบบจัดการปัจจัยเสียงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพ ปี 2562 ประกอบด้วย 6 ประเด็น หลัก ดังนี้ แนวทางการดำเนินงานในเกณฑ์ 1. มีข้อมูล ปชช.กลุ่มเสี่ยงและ/หรือข้อมูลผู้ประกอบอาชีพ 2. มีข้อมูลด้านสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยงหรือแหล่งมลพิษใน พื้นที่ 3. มีการจัดระบบเฝ้าระวังสุขภาพจากการประกอบอาชีพและมลพิษทางสิ่งแวดล้อมตามเกณฑ์ พส.1,พส.2 4.สนับสนุน พัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัยและ เวชกรรมสิ่งแวดล้อมในหน่วยบริการ 5. มีการสนับสนุนข้อมูล/การสื่อสารความเสี่ยง 6.มีการส่งเสริมการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมได้มาตรฐาน
จบการนำเสนอ