สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
รายงานผลการดำเนินงาน
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
โครงการ “ พัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา เรียนร่วมและเรียนรวม”
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
๒ ปี...ก้าวย่างของการพัฒนา
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
เงินโอนตามผลงานการบำบัดระบบสมัครใจและระบบบังคับบำบัดแบบไม่ควบคุมตัว (ปีงบประมาณ2558) สถานบริการปี 2558ปี 2559รวม (บาท) 1.รพ.พระจอมเกล้า17,50027,50045,000.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการรายงานข้อมูลให้มีความ ครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัย ปีงบประมาณ กองแผนงาน -
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภก.กิตติศักดิ์ ไท้ทอง
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
ข้อมูลทั่วไปอำเภอเมืองระยอง
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
โดย นางอัญธิกา ชัชวาลยางกูร ผู้อำนวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
ตัวชี้วัดมุ่งเน้น ตัวชี้วัดที่ 6
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3.
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
การตรวจราชการ “ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน”
งานผู้สูงอายุ ปี 2560 ตัวชี้วัด (Long Term Care)ในชุมชนผ่านเกณฑ์
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2561
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จังหวัดเชียงใหม่
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย เขตสุขภาพที่ 6
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
ระบบบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การดูแลผู้สูงอายุเครือข่ายพนมสารคาม
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
การอบรมฟื้นฟูความรู้ผู้จัดการการดูแลผู้สูงอายุ (Care Manager : CM)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น

แนวคิดการส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย : ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย เด็กสูงใหญ่ สมองดี สู่ 80 ปียังแจ๋ว ท้องถิ่น /ภาคี แม่และเด็ก 0-5 ปี วัยเรียน 6-18 ปี วัยทำงาน 15-59 ปี ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป กลยุทธ์ 1.พัฒนาระบบ สารสนเทศ 2..พัฒนาคน 3.ขับเคลื่อนสู่ เป้าหมาย 4.วิจัย พัฒนา ขยายผล 5.ควบคุมกำกับ และประเมินผล กลุ่มวัย Ultimate goal Smart & Healthy เด็กพัฒนาการสมวัย สูงใหญ่สมองดี “80 ปี ยังแจ๋ว” มาตรการ -พัฒนาคุณภาพ ระบบบริการ -สร้างการมีส่วน ร่วมชุมชน ท้องถิ่น - วิจัย/พัฒนา - M&E โรงเรียนส่งเสริม สุขภาพ - ชมรมเด็กไทยทำได้ - สำรวจสถานะสุขภาพ พฤติกรรม - เน้น 3 อ.ถูกหลัก คัดกรองสุขภาพ และเฝ้าระวัง - Healthy Work place - ครอบครัวอบอุ่น - M&E พัฒนากำลังคน /คน เตรียมความพร้อม -พัฒนาระบบบริการดูแล -สร้างระบบดูแลเขตเมือง - สร้างมาตรฐานผู้ดูแล -พัฒนาภาคีเครือข่าย/ชุมชน เข้มแข็งอย่างมีส่วนร่วม

ตัวชี้วัด : ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว :Long Term Care (เป้าหมายร้อยละ 40) (กิจกรรมเน้นหนักกระทรวง)

มาตรการ ออกกฎระเบียบ/จัดทำคู่มือแนวทาง/มาตรฐานการดำเนินงาน พัฒนาบุคลากร อบรม Care Manager/ Care Giver ชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน คัดเลือกพื้นที่เป้าหมาย สนับสนุนการดำเนินงาน/องค์ความรู้ ประเมินคัดกรอง จัดทำ Care plan M & E

เป้าประสงค์ ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีเข้าถึงบริการ สุขภาพอย่างถ้วนหน้าและเท่าเทียม ผู้สูงอายุได้รับการดูแลจากทีมสหสาขาวิชาชีพถึงที่บ้านอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

Outcome มีตำบลต้นแบบที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพ ดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(Long Term Care) ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 40

เป้าหมายระยะ 12 เดือน ส่วนกลาง/ศูนย์อนามัยเขตดำเนินการอบรม Care Manager 2,500 คน (ผลงานสะสม) ระดับจังหวัด และพื้นที่ ดำเนินการอบรม Care Giver และ อบรมอาสาสมัครผู้ดูแลผู้สูงอายุในครอบครัว (อสค.) มีCare giver ผ่านการอบรมไม่น้อยกว่า10,000 คน (ผลงานสะสม)

เป้าหมายระยะ 12 เดือน ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการประเมินและ จัดทำแผนการดูแล (Care plan)ร้อยละ 100 ประชุมคณะกรรมการ/คณะทำงาน เยี่ยมเสริมพลัง / M&E มีตำบลต้นแบบ Long Term Care ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 40 หมายเหตุ : CM อบรมโดยส่วนกลางหรือศูนย์อนามัยเขต CG อบรมโดยจังหวัดหรือพื้นที่

องค์ประกอบระบบการส่งเสริมสุขภาพ ดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(Long Term Care) 1.มีระบบการประเมิน คัดกรองปัญหาสุขภาพ และ มีข้อมูลผู้สูงอายุที่จำเป็นต้องได้รับการดูแลช่วยเหลือระยะยาว 2. มีชมรมผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ 3. มีผู้จัดการการดูผู้สูงอายุ (Care manager) ผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care giver) หรืออาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ

4. มีบริการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน ที่มีคุณภาพ (Home Health Care)จากสถาน บริการสู่ชุมชน โดยบุคลากรสาธารณสุขและ ทีมสหวิชาชีพ 5. มีบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในระดับตำบล 6. มีระบบการดูแลผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน กลุ่มติดเตียง โดยท้องถิ่น ชุมชน มีส่วนร่วม และ มีแผนการดูแลผู้สูงอายุรายบุคคล (Care plan)

ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแล สูตรการคำนวณ: ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแล ผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ผ่านเกณฑ์ = จำนวนตำบลที่ผ่านเกณฑ์ x 100 จำนวนตำบลทั้งหมด

เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(Long Term Care) ผ่านเกณฑ์ 25 30 35

รอบการประเมิน / คะแนนการประเมิน PA ส่วนกลาง ระดับขั้นความสำเร็จ รอบการประเมิน / คะแนนการประเมิน 6 เดือนแรก คะแนน 6 เดือนหลัง ขั้นตอนที่ 1 - จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน   1 -มี Care Managerผ่านการอบรม 1,000 คน (ผลงานสะสม 2,500คน) ขั้นตอนที่ 2 -จัดตั้งคณะกรรมการและคณะทำงาน -มี Care giver ผ่านการอบรม 10,000คน(ผลงานสะสม) ขั้นตอนที่ 3 -จัดทำคู่มือแนวทางการดำเนินงานสำหรับพื้นที่ -ผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน ติดเตียงได้รับการประเมิน ดูแลร้อยละ 100 (จากเป้าหมาย 100,000คน) ขั้นตอนที่ 4 -จัดทำเกณฑ์และคัดเลือกพื้นที่ดำเนินงาน -ติดตามเยี่ยมเสริมพลังและ M&E ครบ 4 ภาค ขั้นตอนที่ 5 มี Care Managerผ่านการอบรม 500 คน (ผลงานสะสม 1,500คน) - มีตำบลต้นแบบ Long Term Care ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 40 คะแนนรวม 5 คะแนน

PA ศูนย์อนามัยเขต ขั้นตอนที่ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน 1 มีการประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานในระดับ เขต 2 ร่วมกับส่วนกลางจัดทำคู่มือแนวทางการดำเนินงาน 0.5 3 สนับสนุนการดำเนินงานระดับจังหวัด /พื้นที่ เช่น ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานให้กับจังหวัด/พื้นที่ สนับสนุนคู่มือ ให้แก่จังหวัด/พื้นที่ 4 พัฒนาบุคลากร / อบรมCare Manager 5 M&E 6 รายงานผลการดำเนินงานตามระบบ 7 มีตำบลต้นแบบที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ผ่านเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 รวม

รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน : ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. (Baseline data) ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 2557 2558 ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ผ่านเกณฑ์ 15 27 หมายเหตุ : เป็นตัวชี้วัดที่พัฒนาการมาจากตำบล Long Term Care เดิม แต่ปรับองค์ประกอบการดำเนินงานใหม่

ศูนย์อนามัยเขต/เขตสุขภาพ บทบาทการดำเนินงานที่ส่วนกลางต้องการให้ศูนย์อนามัยดำเนินการ ตามตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการที่ลงนาม PA กับอธิบดีกรมอนามัย ส่วนกลาง ศูนย์อนามัยเขต/เขตสุขภาพ 1.จัดตั้งคณะกรรมการร่วม สธ. และ สปสช. “คณะกรรมการ นโยบายและกำกับทิศทาง” 2. จัดทำคู่มือแนวทางการ ดำเนินงาน 3.ประชุมชี้แจงแนวทางการ 4.พัฒนาบุคลากร / อบรม Care manager 5.M&E 1.ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานในระดับเขต 2.ร่วมกับส่วนกลางจัดทำคู่มือแนวทางการดำเนินงาน 3.สนับสนุนการดำเนินงานระดับจังหวัด /พื้นที่ เช่น ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานให้กับจังหวัด/พื้นที่ สนับสนุนคู่มือ ให้แก่จังหวัด/ พื้นที่ 4.พัฒนาบุคลากร / อบรม Care Manager 6.รายงานผลการดำเนินงานตามระบบ 7.มีตำบลต้นแบบที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ผ่านเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 (Outcome)

ขอบคุณครับ สำนักอนามัยผู้สูงอายุ กรมอนามัย