งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานผู้สูงอายุ ปี 2560 ตัวชี้วัด (Long Term Care)ในชุมชนผ่านเกณฑ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "งานผู้สูงอายุ ปี 2560 ตัวชี้วัด (Long Term Care)ในชุมชนผ่านเกณฑ์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 งานผู้สูงอายุ ปี 2560 ตัวชี้วัด (Long Term Care)ในชุมชนผ่านเกณฑ์
ร้อยละ 50 ของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care)ในชุมชนผ่านเกณฑ์

2 องค์ประกอบ 7 ข้อ 1. มีระบบการประเมินคัดกรองปัญหาสุขภาพและมีข้อมูลผู้สูงอายุ ที่จำเป็นต้องได้รับการดูแลช่วยเหลือระยะยาว 2. มีชมรมผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ 3. มีผู้จัดการการดูแลผู้สูงอายุ(Care mamager)ผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care giver) 4. มีบริการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านที่มีคุณภาพ(Home Health Care) จากสถานบริการสู่ชุมชน โดยบุคลากรสาธารณสุขและทีมสหวิชาชีพ 5. มีบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพระดับตำบล 6. มีระบบการดูแลผู้สูงอายุ ติดบ้านติดเตียงโดยท้องถิ่นและชุมชนมีส่วนร่วม และมีแผนการดูแลรายบุคคล(Care plan) 7. มีคณะกรรมการบริหารจัดการการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชน หรือคณะกรรมการกองทุนตำบล

3 เป้าหมาย 1. ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองและประเมินสุขภาพ ADL/Geriatric Syndrome: เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจหลอดเลือด สุขภาพช่องปาก สมองเสื่อม เข่าเสื่อม ภาวะหกล้ม ซึมเศร้า ) ร้อยละ 80 และข้อมูลผู้สูงอายุได้บันทึกในระบบฐานข้อมูล 43 แฟ้ม ที่มีอยู่ในปัจจุบัน ร้อยละ 80 2. พัฒนาสังคมผู้สูงอายุ (ชมรม/โรงเรียน) ให้ครบทุกตำบล/หมู่บ้าน และให้ผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุ คุณภาพ ร้อยละ 80 3. พัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงให้ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด (โดยเฉพาะตำบลที่เข้าร่วม โครงการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงระยะยาว ปี ) 4. ผู้สูงอายุที่ดูแลต่อเนื่องที่บ้านCOC ได้รับการดูแลโดยใช้ แฟ้มผู้ป่วย Chart Home Ward ร้อยละ 100 5. บูรณาการดำเนินงานระหว่างตำบลจัดการสุขภาพและตำบล LTC ผู้สูงอายุระยะยาว 6. พัฒนาบริการส่งเสริม/ป้องกันทันตสุขภาพในชมรมผู้สูงอายุ/ชุมชนระดับตำบล ร้อยละ 80 7. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ DHS/PCC/FCT/ท้องถิ่นและภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม ร้อยละ 100

4 สถานการณ์ประชากรผู้สูงอายุ
ร้อยละ 20 ข้อมูลจาก HTC วันที่ประมวลผล :: 17 พฤษภาคม 2560

5 ข้อมูลจาก HTC วันที่ประมวลผล :: 17 พฤษภาคม 2560
ผลงาน 6 เดือน การคัดกรอง ADL ร้อยละ 66.38 ข้อมูลจาก HTC วันที่ประมวลผล :: 17 พฤษภาคม 2560

6 เกณฑ์ประเมินทันตสาธารณสุขในชุมชน

7 แบบประเมินชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ เต็ม 100 คะแนน
แบบประเมินชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ เต็ม 100 คะแนน ข้อมูลทั่วไป คะแนน กรรมการ คะแนน กฎ กติกา คะแนน ระดมทุน(ยกเว้น ฌกส.) คะแนน กิจกรรม คะแนน

8 เกณฑ์ประเมินชมรมผู้สูงอายุ

9 สมาชิกไม่ครบตามเกณฑ์
สภาพปัญหาที่ลงพื้นที่ (ที่ตกเกณฑ์) สาเหตุของปัญหา (ข้อที่ไม่ผ่าน) แนวทางการแก้ไขปัญหา(กิจกรรม) ระยะเวลาดำเนินการ ผู้รับผิดชอบ สมาชิกไม่ครบตามเกณฑ์ ข้อ 1.2 จำนวนสมาชิกอายุต่ำกว่า 50 และ50-59 ปี มีน้อย ชักจูงภาคี แนวร่วมใหม่ๆมาเป็นสมาชิกชมรมฯ เช่น นักเรียน แม่บ้าน ใน ชุมชน พระฯลฯ ปี 61 ชมรม/รพ.สต(กระตุ้น) การช่วยเพื่อนสมาชิก การรวมตัวกันของสมาชิก ส่วนมากมีแต่ คนสูงอายุ ติดสังคม อธิบายเรื่องสมาชิก ในชมรมฯ มีใครได้บ้าง/ไม่มีข้อจำกัดเรื่อง อายุ และการเจ็บป่วย มี ติดบ้าน ติดเตียงเป็นสมาชิก

10 ข้อ 4 ไม่มีงบสนับสนุนจากแหล่งทุน
สภาพปัญหา (ที่ตกเกณฑ์) สาเหตุของปัญหา (ข้อที่ไม่ผ่าน) แนวทางการแก้ไขปัญหา(กิจกรรม) ระยะเวลาดำเนินการ ผู้รับผิดชอบ การระดมทุน ข้อ 4 ไม่มีงบสนับสนุนจากแหล่งทุน ต้องมีข้อมูลสมาชิกเป็นรายลักษณ์อักษร เพื่อขอทุนจากภาคส่วน ปี 61 ชมรม/รพ.สต(กระตุ้น) กิจกรรม ข้อ5 การออกกำลังกาย /การตรวจสุขภาพ ไม่มีข้อมูลกิจกรรมในชมรมฯอย่างชัดเจน จนท. สธ ในรพ.สต

11 แนวทางพัฒนาชมรมผู้สูงอายุ (ต่อ)
ปัญหา 1. การรวมตัวกันของสมาชิก ส่วนมากมีแต่ คนสูงอายุ 2. ผู้สูงอายุในพื้นที่ยังไม่ตระหนัก เรื่อง การดูแลสุภาพของตนเอง 3. ขาดแกนนำส่งเสริมสุขภาพด้านกาย ใจ เนื่องจาก แกนนำคนเดิม มีอายุที่มากแล้ว ติดตามพัฒนาชมรมผู้สูงอายุ ตามประเด็นที่เป็นส่วนขาด 1.ชักจูงภาคี แนวร่วมใหม่ๆมาเป็นสมาชิกชมรมฯ เช่น นักเรียน แม่บ้าน ใน ชุมชน พระฯลฯ ในการสร้างสุขภาพ ทั้งกาย ใจ 2. สร้างแรงจูงใจ ให้กับสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ ดูสุขภาพตนเอง ครอบครัว และ ชุมชน(Empowerment) 3. จัดให้มีแกนนำส่งเสริมสุขภาพ ด้านการออกกำลังกาย รายใหม่ๆ ในชมรม ผู้สูงอายุ เพื่อให้กิจกรรมดำเนินต่อเนื่อง เช่น ตำบลทุ่งปี๊ มีกิจกรรมส่งเสริม สุขภาพ การแช่มือ แช่เท้าผู้สูงอายุ 4. ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุสุขภาพจิตในชมรม โดยใช้เครื่องมือ สุข 5 มิติ เป็นต้น

12 แบบฟอร์มรายงานข้อมูลโครงการ LTC ปี ผลการดำเนินงาน LTC ตั้งแต่ปีงบประมาณ ถึง เดือน…………… 2560 (ข้อมูลสะสม) สสอ./รพ.…………….… จังหวัดเชียงใหม่ อปท. 1.จำนวนผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมาย LTC 2.จำนวน Care manager ที่ผ่านการอบรม 3.จำนวน Care giver ที่ผ่านการอบรม 4..การจัดทำ Care Plan 5.กลุ่มผู้สูงอายุที่เปลี่ยนแปลง 6.ตำบลที่เข้าร่วมโครงการLTC ปี ปี 2559 ปี 2560 ปี 59 60 รวม จำนวน CG ที่ได้ปฏิบัติตาม Care plan (เฉพาะในตำบลLTC) จำนวน CG ที่ได้รับค่าเหมาจ่ายรายเดือน(เฉพาะในตำบลLTC) กลุ่มติดบ้าน กลุ่มติดเตียง กลุ่ม1 กลุ่ม2 กลุ่ม3 กลุ่ม4 กลุ่ม 3 4 จัดทำแล้ว(ฉบับ) โอนเงินเพื่อซื้อบริการ(ฉบับ) กลุ่มติดบ้านทั้ง หมด เปลี่ยน เป็นติดสังคม เสียชีวิต กลุ่มติดเตียงทั้ง เป็นติดบ้าน/ติดสังคม จำนวนทั้งหมด(ตำบล) จำนวนตำบลที่ผ่านเกณฑ์LTC คุณภาพ

13 การติดตามงานข้อมูล LTC
1. ลงข้อมูลลงในแบบฟอร์มตารางที่ได้ส่งหนังสือแจ้งพื้นที่ไปเมื่อ 6 ม.ค.60 2. ตัดยอดทุกวันที่ 15 และส่งรายงานทุกวันที่ 18 ของเดือน 3. อปท. ที่อยู่ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาล ให้โรงพยาบาลเป็น ผู้รายงาน 4. อปท. ที่อยู่ในเขตรับผิดชอบของสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ ให้ ผู้รับผิดชอบงาน LTC ของสำนักงานสาธารณสุขอำเภอเป็นผู้รายงาน

14 การดำเนินงานดูแลผู้สูงอายุพึ่งพิงฯ ปี 2560
การดำเนินงานดูแลผู้สูงอายุพึ่งพิงฯ ปี 2560 กิจกรรม เป้าหมาย ผลงาน ระยะเวลาดำเนินการ 1. อบรม Care Manager 68 คน 66 คน 2. อบรม Care Giver 190 คน (1:10) 296 คน (5 อำเภอ ) ภายใน 15 ก.ค (หางดง) (แม่วาง) มิ.ย 3. จัดทำ Care Plan มี.ค.-มิ.ย. 2560 173 คน ( อปท 3 แห่ง) ภายใน มิ.ย 60 4. เสนอ Care Plan แก่คณะอนุกรรมการ มิ.ย. 2560 - ภายใน 15 ก.ค 60 5. เยี่ยมผู้ป่วยตาม Care Plan ภายใน ก.ค.60 จัดตั้งศูนย์ ภายใน มิ.ย 6. เบิก-จ่ายงบประมาณ มิ.ย เป็นต้นไป เดือนแรก ก.ค -ส.ค.60

15


ดาวน์โหลด ppt งานผู้สูงอายุ ปี 2560 ตัวชี้วัด (Long Term Care)ในชุมชนผ่านเกณฑ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google