รศ.สมพร อิศวิลานนท์ สถาบันคลังสมองของชาติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการจัดทำบัญชีสมดุลผลไม้
Advertisements

แผนงาน ส่งเสริมประสิทธิภาพการผลิตและสร้างมูลค่าภาค การเกษตร ผลผลิตที่ 3 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการพัฒนาการ ดำเนินธุรกิจ กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์และ.
ความรู้เรื่องประชาคมอาเซียน
การตลาดในธุรกิจยุคปัจจุบัน (Marketing in the Present Business)
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
กิจกรร ม 1 กิจกรร ม 3 กิจกรร ม 2 ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมแผนผลร้อยละ 1. สหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจ.
การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่
ขยายโอกาสสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน
โครงการเมืองเกษตรสีเขียว ปี 2557
Royal project and Government project พระบิดาแห่งชาวโคนมไทย.
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์ จังหวัด จังหวัด นราธิวาส 1.
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก เทศบาล ตำบลปัว ยินดี ต้อนรับ ยินดี ต้อนรับ.
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
คณะกรรมการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ
ไฟฟ้า.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
การสัมมนาวิชาการ สมาคมนักวิจัยและเพาะเห็ดหอมแห่งประเทศไทย เรื่อง เห็ดไทย ... กับการก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน วันศุกร์ที่ 11 พฤษภาคม 2555 ณ โรงแรมเอเชียแอร์พอร์ต.
บทที่ 2 กลยุทธ์ช่องทางการจัดจำหน่าย (Place Strategy)
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
1. การสอบกลางภาค วันที่ 6 ตุลาคม เวลา น. เก็บ 40 % 2
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
เสวนาหัวข้อ “Research Gap on Thailand Green Economy”
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
กลุ่มเกษตรกร.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
2019/4/15 บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการบูรณาการ โครงการเมืองเกษตรสีเขียวในระดับพื้นที่ สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) 15/04/62.
หลักการตลาดสมัยใหม่ (Principles of New Modern Marketing) )
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวปลอดภัยและการบริหารจัดการเชิงคุณภาพ
FMC Model ดร.รณวริทธิ์ ปริยฉัตรตระกูล
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการเกษตร
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
แผนงานบูรณาการพัฒนาการพัฒนาศักยภาพการผลิตภาคเกษตร
วิชา การบริหารทางการตลาด (MKT 3202)
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว (Rice Analysis)
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
การตลาดในเศรษฐกิจยุคใหม่ (Marketing in the New Economy)
นโยบายของรัฐด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม สมุดปกขาว BCG in Action การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศไทย เพื่อเศรษฐกิจชีวภาพ.
โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
นโยบายการขับเคลื่อน อาหารปลอดภัยของประเทศ
Supply Chain Management
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
พลวัตการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์
ตอนที่ 4.3 กรณีศึกษา : การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตร สำนักงานอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ตอนที่ กรณีศึกษา : การจัดการความรู้
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
กฎหมายระเบียบและนโยบายที่เกี่ยวข้อง
การขายและการตลาดสำหรับธุรกิจโรงแรมและที่พัก
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รศ.สมพร อิศวิลานนท์ สถาบันคลังสมองของชาติ การจัดการโซ่อุปทานเพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืนให้กับภาคการเกษตรและเกษตรกรไทย การประชุมเสวนา เรื่อง “การพัฒนารูปแบบความร่วมมือภาคเกษตรและอุตสาหกรรมเครือข่าย PPP&P” วันที่ 9 กรกฎาคม 2557 เวลา 9.00-16.00 น ณ โรงแรมโนโวเทล กรุงเทพฯ สยามสแควร์ รศ.สมพร อิศวิลานนท์ สถาบันคลังสมองของชาติ E-mail address: somporn@knit.or.th สถาบันคลังสมองของชาติ ที่มาของภาพ:Google.com

1. การผลิตสินค้าเกษตรและอาหาร: ความต่างระหว่าง Mass กับ Niche การประชุมเสวนา เรื่อง “การพัฒนารูปแบบความร่วมมือภาคเกษตรและอุตสาหกรรมเครือข่าย PPP&P” วันที่ 9 กรกฎาคม ณ โรงแรมโนโวเทล กรุงเทพฯ สยามสแควร์ 1. การผลิตสินค้าเกษตรและอาหาร: ความต่างระหว่าง Mass กับ Niche 2

สินค้าเกษตรบนเส้นทางของ Mass production 1. การผลิตสินค้าเกษตรและอาหาร: ความต่างระหว่าง Mass กับ Niche 1.1 การผลิตและเส้นทางการกระจายผลผลิตสินค้าเกษตรและอาหารในระบบ Mass production Consumption พฤติกรรมการบริโภคขึ้นอยู่กับอายุ เพศ การศึกษา ศาสนา ฐานะรายได้ และรสนิยม Marketing, processing and distribution รวบรวมผลผลิตแล้วส่งต่อไปยังตลาดปลายทาง จัดเกรด คุณภาพ และมาตรฐานผลผลิตก่อนการส่งต่อ การเก็บรักษา การขนส่งและการแปรรูป Production ส่วนมากเป็นเกษตรกรขนาดเล็ก การผลิตเป็นสินค้าคละ ไม่ได้คำนึงถึงเกรด คุณภาพและมาตรฐาน ขาดอำนาจต่อรองได้รับราคาต่ำ เกษตรกร การตลาด ผู้บริโภค สินค้าเกษตรบนเส้นทางของ Mass production ทรัพยากรการผลิต สภาพแวดล้อมและระดับของเทคโนโลยี

1.2 บนเส้นทางเกษตรกรรมยั่งยืนของสังคม: การผลิตแบบ Niche 1. การผลิตสินค้าเกษตรและอาหาร: ความต่างระหว่าง Mass กับ Niche 1.2 บนเส้นทางเกษตรกรรมยั่งยืนของสังคม: การผลิตแบบ Niche ได้รับคุณค่าจากการบริโภคอาหารที่ได้คุณภาพ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความปลอดภัย เข้าถึงได้และมีอยู่อย่างพอเพียง ผูกโยงเครือข่ายสร้างเป็นตลาดจำเพาะ(nich market) มีกลไกรับรองคุณค่า มีช่องทางในการกระจายสินค้า ที่เป็นธรรม สร้างความจำเพาะในคุณค่าของสินค้า(niche product) ใช้ปัจจัยการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม มีกลไกของกิจกรรมและการจัดการที่ดี ตระหนักถึงความสำคัญของระบบนิเวศ สภาพแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ผู้ผลิต การเชื่อมต่อกิจกรรมกลางน้ำ ผู้บริโภค เส้นทางสู่เกษตรกรรมยั่งยืน การรักษาไว้ซึ่งความสมดุลของสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและคุณภาพชีวิตที่ดี สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม เกษตรกรรมยั่งยืน คุณภาพชีวิตที่ดีของเกษตรกร การผสมผสานการผลิตพืช และสัตว์ ดิน น้ำ อากาศbiodiversity ประสิทธิภาพ ความเป็นธรรม

1.3 วงสัมพันธ์ในห่วงโซ่อาหารปลอดภัย 1. การผลิตสินค้าเกษตรและอาหาร: ความต่างระหว่าง Mass กับ Niche 1.3 วงสัมพันธ์ในห่วงโซ่อาหารปลอดภัย

Mass Production System 1. การผลิตสินค้าเกษตรและอาหาร: ความต่างระหว่าง Mass กับ Niche 1.4 มิติเชิงคุณค่าของการผลิตแบบ Niche เมื่อเทียบกับ Mass องค์ประกอบของ mass production profit driven marketing คำนึงถึงความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมต่ำ ให้ความสำคัญกับ exchange value Niche Production System Mass Production System CSR Fair trade& Social enterprise Business as usual องค์ประกอบของ Niche production Ethical driven marketing คำนึงถึง sustainability and inclusive growth ในระดับสูง ให้ความสำคัญกับ use value ไปพร้อมๆกับ exchange value Business with ethic and fair share including trust

2. การจัดการห่วงโซ่อุปทานสินค้าเกษตรและอาหาร การประชุมเสวนา เรื่อง “การพัฒนารูปแบบความร่วมมือภาคเกษตรและอุตสาหกรรมเครือข่าย PPP&P” วันที่ 9 กรกฎาคม ณ โรงแรมโนโวเทล กรุงเทพฯ สยามสแควร์ 2. การจัดการห่วงโซ่อุปทานสินค้าเกษตรและอาหาร ที่มาของภาพ:Google.com 7

2.1 Hypothetical Value Food Chain of Agricultural commodity 2. การจัดการห่วงโซ่อุปทานสินค้าเกษตรและอาหาร 2.1 Hypothetical Value Food Chain of Agricultural commodity Processing System Marketing System Consumption System Public/Government Production System Distribution and Private/entrepreneur Source: Modified from Boonjit Titapiwatanakun KU 2 Dec. 2003

2.2 รูปแบบการจัดการห่วงโซ่อุปทานการผลิตสินค้าเกษตร 2. การจัดการห่วงโซ่อุปทานสินค้าเกษตรและอาหาร 2.2 รูปแบบการจัดการห่วงโซ่อุปทานการผลิตสินค้าเกษตร (1) เกษตรพันธะสัญญารูปแบบต่างๆ (Contract Farming) เกษตรพันธะสัญญาเป็นระบบธุรกิจเกษตรที่ผู้ประกอบการแปรรูป ส่งออก หรือห้างร้านค้าสมัยใหม่ ใช้ในการจัดหาอุปทานผลผลิตจากเกษตรกรแต่ละราย ทั้งนี้ในการจัดหาอุปทานผลผลิตจะมีการตกลงวางแผนกันล่วงหน้าระหว่างกันผ่านทางพันธะสัญญา รูปแบบของเกษตรพันธะสัญญาอาจจัดกลุ่มได้เป็น 2 ลักษณะ:  พันธะสัญญาเพื่อการตลาดของสินค้า เช่น การระบุถึงข้อตกลงที่จะรับซื้อในอนาคต ตามคุณภาพ เวลา และราคาที่ตกลงกัน พันธะสัญญาเพื่อการผลิตสินค้า เช่น ระบุถึงพืชที่จะผลิต วิธีการผลิต คุณภาพ และมาตรฐานของสินค้า โดยผ่านการจัดการปัจจัยและเทคโนโลยีให้กับผู้ผลิต  สัญญาสินเชื่อปัจจัยการผลิต เช่นการเลี้ยงปลา เกษตรกรเป็นเจ้าของที่ดินและกระชังเลี้ยงปลา ผู้ประกอบการให้สินเชื่อในรูปพันธุ์ปลา อาหารปลา (Baumann 2000)

2.2 รูปแบบการจัดการห่วงโซ่อุปทานการผลิตสินค้าเกษตร(ต่อ) 2. การจัดการห่วงโซ่อุปทานสินค้าเกษตรและอาหาร 2.2 รูปแบบการจัดการห่วงโซ่อุปทานการผลิตสินค้าเกษตร(ต่อ) (2)Farmer Organizations อำนวยความสะดวกและประสานการผลิตต้นน้ำสู่ปลายน้ำเพื่อสร้าง Supply Chain การจัดการการผลิตและการตลาดภายใต้ระบบสหกรณ์ เกษตรกรเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตและเป็นสมาชิกสหกรณ์การเกษตร ในขณะเดียวกันได้รับการสนับสนุนสินเชื่อจากสหกรณ์ เมื่อได้ผลผลิตเกษตรกรสามารถนำมาจำหน่ายให้กับสหกรณ์ โดยสหกรณ์เป็นผู้รวบรวมผลผลิตเพื่อส่งต่อไปยังผู้แปรรรูปหรือผู้ประกอบการปลายน้ำ เช่น ข้าว ผลไม้บางชนิด เป็นต้น การจัดการการผลิตและการตลาดภายใต้การสนับสนุนของมูลนิธิและองค์กรที่ไม่แสวงหากำไรหรือชุมชน เกษตรกรรวมตัวกันเป็นกลุ่มภายในชุมชน โดยมีมูลนิธิและ NGOs ให้การสนับสนุนด้านการผลิตและการตลาดสินค้าเกษตร

2.2 รูปแบบการจัดการห่วงโซ่อุปทานการผลิตสินค้าเกษตร(ต่อ) 2. การจัดการห่วงโซ่อุปทานสินค้าเกษตรและอาหาร 2.2 รูปแบบการจัดการห่วงโซ่อุปทานการผลิตสินค้าเกษตร(ต่อ) (3)Public-Private Partnership เพื่อสร้างห่วงโซ่คุณค่าจากต้นน้ำสู่ปลายน้ำ การจัดการการผลิตและการตลาดภายใต้ Social Enterprise เกษตรกรเป็นผู้ผลิตและเป็นสมาชิกของสถาบันเกษตรกร โดยมีภาครัฐทำหน้าที่ในการวางแผนการผลิตและการถ่ายทอดเทคโนโลยี ขณะเดียวกันได้รับการสนับสนุนสินเชื่อและหรือปัจจัยการผลิตจากองค์กรการกุศลที่เข้ามาทำหน้าที่ในด้านการจัดการด้านการตลาดตลาดของสินค้า การจัดการการผลิตและการตลาดภายใต้ระบบ Fairtrade เกษตรกรเป็นสมาชิกของเครือข่ายที่รวมตัวกันเป็นกลุ่มภายในชุมชน เช่น สมาคมเกษตรกรก้าวหน้าซึ่งสมาชิกเป็นกลุ่มเกษตรกรปลูกข้าวหอมมะลิอินทรีย์ โดยสมาคมดังกล่าวได้รับการสนับสนุนจากองค์กร Fair Trade Original เป็นการให้ผู้ผลิตเน้นความปลอดภัยให้กับผู้บริโภคและผู้บริโภคยินดีที่จะจ่ายในราคาที่เป็นธรรมกับทุกฝ่าย

2.3 PPP – Roles of Public and Private Sector 2. การจัดการห่วงโซ่อุปทานสินค้าเกษตรและอาหาร 2.3 PPP – Roles of Public and Private Sector Public/Government Enterprises สนับสนุน R&D สนับสนุนเกษตรกร: สนับสนุน infrastructure in specialized zones สนับสนุนการพัฒนาองค์กร/สถาบันเกษตรกร สนับสนุน extension services สนับสนุน enterprises: สนับสนุนให้เข้าถึงสินเชื่อในอัตราดอกเบี้ยที่เหมาะสม การยกเว้นภาษีการลดภาษ๊ สนับสนุนการเข้าถึงตลาด สนับสนันปัจจัยการผลิตให้กับเกษตรกร: จัดสินเชื่อให้กับเกษตรกร -Technology transfer and extension services to farmers สนับสนุนให้เกษตรกรเข้าถึงตลาด: Support post-harvest services (drying, storage, milling) Procurement, sale and export

ศูนย์รวบรวมและคัดบรรจุแม่เหียะ 2.4 รูปแบบของ Social Enterprise: การกระจายสินค้าพืชผักของโครงการหลวง ศูนย์รวบรวมและคัดบรรจุแม่เหียะ เกษตรกร ศูนย์พัฒนา R&D ส่งเสริมการเกษตร โครงสร้างพื้นฐาน Public ให้บริการหลังเก็บเกี่ยว ตลาด สินเชื่อ ปัจจัยการผลิต procurement Private/องค์กรไม่แสวงกำไร การตลาดมูลธินิโครงการหลวง ร้านดอยคำ ลูกค้า Carter ร้านอาหารโรงแรม ร้านซุปเปอร์มาร์เก็ต อาหารปลอดภัยสำหรับผู้บริโภค

2.5 ผูกโยงความสัมพันธ์จากผู้ผลิตสู่ผู้บริโภคโดยสร้างระบบการค้าที่เป็นธรรม ชาวนา สมาชิก คณะกรรมการกลุ่มในชุมชน คณะกรรมการกลุ่มเพื่อการค้าที่เป็นธรรม ธุรกิจ Fair trade Certification Trader กลุ่มผู้บริโภคต่างประเทศ กลุ่มลูกค้าต่างประเทศ สหกรณ์ผู้บริโภคต่างประเทศ กลุ่มลูกค้าในประเทศ ชาวนา สมาชิก Good and quality production system Ethical marketing system ที่มา: ดัดแปลงจาก สุริยะ ชนะชัย 2557

Business Cooperatives Inputs Good varieties Good input materials Good equipment Production Large farm Technical standards Mechanization Effective irrigation Post harvest Good processing Good storage Good package & transportation Processing High VA processing Processing by-products Trade Traceability Quality Food safety Marketing 2.6 รูปแบบของ Rice Value Chain Development in Vietnam Contributing land & capital Business Extension service, credit Cooperatives Source:Dang Kim Son, 2014 :

ข้าวหอมมะลินิลมีโภชนาการ 2. การจัดการห่วงโซ่อุปทานสินค้าเกษตรและอาหาร 2.7 ปรับสินค้าจากกระบวนการผลิตต้นน้ำสู่ตลาดปลายน้ำเพื่อสร้างมูลค่า การเปลี่ยนจากนาเคมีไปสู่นาอินทรีย์ก็จะมีมูลค่าต่อหน่วยสูงขึ้น ราคาข้าวเปลือก 15 บาทต่อกก. ราคาข้าวสาร 35 บาทต่อกก.. นาเคมี ข้าวหอมมะลิ ราคาข้าวเปลือก 25 บาทต่อกก. ราคาข้าวสาร 50 บาทต่อกก.. นาอินทรีย์ ข้าวหอมมะลิ เครื่องสำอางค์/spa 6,500 บาทต่อกก. ข้าวหอมมะลินิลมีโภชนาการ >80 บาท/กก. ข้าวมีกลิ่นหอม 35บาท/กก. ข้าวขาว 20 บาท/กก. ที่มา: ดัดแปลงจาก Apichart Vannvichit

2. การจัดการห่วงโซ่อุปทานสินค้าเกษตรและอาหาร 2.8 เกษตรกรและชุมชนต้องรับรู้ถึงความจำเป็นของมาตรฐานของสินค้าในยุคการค้าเสรี มาตรฐาน IFOAM, USDA ORGANIC มาตรฐานทั่วไป SPS/QIE/CODEX/ IPPC การเข้าสู่ Word Free Trade Economy ตามบริบทขององค์การการค้าโลก Each ASEAN Country Standard International Standard การเกษตรไทย การเกษตรนานาชาติ การเกษตรอาเซียน มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร เช่นข้าวหอมมะลิ มาตรฐานระบบ (เช่น GAP, Organic Thailand, GMP เป็นต้น) มาตรฐานชุมชน มาตรฐานทั่วไป SPS/QIE/CODEX/ IPPC มิติเวลา การก้าวสู่ยุคการค้าเสรี ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีและนวัตกรรม

2. การจัดการห่วงโซ่อุปทานสินค้าเกษตรและอาหาร 2.9 ความสำเร็จขึ้นอยู่กับความพร้อมเพรียงของเกษตรกร ชุมชน เอกชน ภาครัฐ ภาควิชาการ และ ตลาดข้าว เพื่อสุขภาพ Community engagement 1. พันธุ์ข้าวจำเพาะ นาเกษตร อินทรีย์ 2. โรงสีชุมชนขนาดกลาง 3. ผลิตภัณฑ์ที่โดดเด่น 4. Social enterprise University engagement เติมเต็มช่องว่างการผลิตการจัดการและงานวิจัย โดยมหาวิทยาลัยในพื้นที่หรือสถาบันวิชาการในพื้นที่ Business engagement เติมเต็มช่องว่างการจัดการทางการตลาด การสร้างมูลค่าเพิ่มเพื่อการกระจายสินค้าต่อผู้บริโภค ทีมา: ดัดแปลงจาก อภิชาติ วรรณวิจิตร 2557

Q&A ขอบคุณ 19