งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

2 แรงาน (Labor) แรงงานเป็นทรัพยากรที่มีค่ามากที่สุด ของครัวเรือนในชนบท ผลิตสินค้าเกษตรบนไร่นาตนเอง ผลิตสินค้าอื่นที่ไม่ใช่สินค้าเกษตร ทำกิจกรรมอื่นในครัวเรือน ( หุงหา อาหาร เลี้ยงเด็ก ) 1. ใช้ประโยชน์ใน ครัวเรือน

3 ประโยชน์ของแรงงานใน ชนบท เป็นลูกจ้างหรือคนงานในไร่น ( แรงงานในภาคเกษตร ) เป็นลูกจ้างหรือคนงานนอกไร่นา ( อุตสาหกรรม บริการ ) 2. ขายบริการแรงงาน ให้แก่ผู้อื่น ผลิตสินค้าเกษตรบนไร่นาตนเอง ผลิตสินค้าอื่นที่ไม่ใช่สินค้าเกษตร ทำกิจกรรมอื่นในครัวเรือน ( หุงหา อาหาร เลี้ยงเด็ก ) 1. ใช้ประโยชน์ใน ครัวเรือน

4 ตลาดแรงงานในภาค เกษตร ผลของการขาย บริการแรงงาน ก่อให้เกิด ตลาดแรงงานในภาคเกษตร เพราะลำพังปัจจัยที่ดินจะไม่ สามารถสร้างความสมดุลใน ความแตกต่างระหว่างที่ดินกับ แรงงานที่เกษตรกรแต่ละ ครัวเรือนมีอยู่ได้

5 ตลาดแรงงานในภาค เกษตร เกษตรกรที่มีที่ดินขนาดเล็ก หรือไม่มีที่ดินทำกิน จะเป็นฝ่าย สร้างอุปทานให้แก่เกษตรกรที่มี ที่ดินขนาดใหญ่ เกษตรกรที่มีที่ดินขนาดใหญ่ จะ สร้างอุปสงค์ที่มีต่อแรงงานของ เกษตรกรที่มีที่ดินขนาดเล็กหรือ ไร้ที่ดินทำกิน

6 สถาบันตลาดแรงงานในภาค เกษตรจึงช่วยจัดสรรทรัพยากรให้เกิด ประโยชน์สูงสุดโดยส่งสัญญาณกี่ยว กับความหามาได้ยากของทรัพยากร ทั้งในแง่มิติของเวลาและสถานที่ - บางเวลา จะขาดแคลนแรงงาน เช่น หน้าหว่านดำ และเก็บเกี่ยว - บางสถานที่ขาดแคลนแรงงาน เนื่องจากมีแรงงานน้อย หรือมีความ ต้องการแรงงานมาก ตลาดแรงงานในภาค เกษตร

7 เนื่องจากแรงงานเป็นปัจจัยที่ สำคัญในการผลิต ดังนั้น สถาบัน ตลาดแรงงานในภาคเกษตรย่อมมี ความสำคัญสำหรับเป็นฐานในการ สร้างความเจริญเติบโตให้แก่ภาค เกษตรกรรม ตลาดแรงงานในภาค เกษตร

8 รูปแบบของการจ้าง แรงงานในภาคเกษตร 1. การจ้างแรงงานชั่วคราว (Casual or temporary labors) อาจจ้างเป็นรายวันหรือในระยะเวลาสั้นๆ เช่น เฉพาะช่วงหว่าไถ ปักดำ หรือช่วง เก็บเกี่ยวผลผลิต ซึ่งมีอุปสงค์สำหรับ แรงงานค่อนข้างสูง แรงงานประเภท ชั่วคราวมักได้รับค่าจ้างทั้งที่เป็นเงินและ สิ่งของ ( เช่น อาหาร ผลผลิต ) การจ้างแรงงานในภาคเกษตรอาจ แบ่งออกได้เป็นสองรูปแบบ ส่วนการจ่ายค่าจ้างอาจจ่ายเป็น รายวันหรือรายชิ้น

9 รูปแบบของการจ้าง แรงงานในภาคเกษตร 2. การจ้างแรงงานถาวร (permanent labors) เป็นการจ้างแรงงานในช่วงเวลาที่ ยาวนานขึ้น เช่น เป็นรายเดือนหรือรายปี ส่วนมากมัก เป็นแรงงานที่มีฝีมือ ซึ่งทำหน้าที่ควบคุมงานหรือมีความ ชำนาญเฉพาะด้าน เช่น นักบริหาร นักเคมี สัตวบาล เป็นต้น

10 แนวโน้มตลาดแรงงานใน ภาคเกษตร ในปีเพาะปลูก 56/57 ประเทศ ไทย มีประชากรแรงงานภาค การเกษตรที่มีอายุระหว่าง 15-64 ปีจํานวน 16.10 ล้านคน ซึ่งมี แนวโน้มลดลง จากร้อยละ 57.71 ในช่วง แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับที่ 8 เป็นร้อยละ 36.30 ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับ ที่ 10

11 แรงงานในภาคเกษตร ( ล้านคน ) 53/5454/55 55/56 56/57 17.05 16.98 16.20 16.10

12 แนวโน้มตลาดแรงงานใน ภาคเกษตร เนื่องจาก - แรงงานภาคการเกษตรมีการ เคลื่อนย้ายสู่ภาคอุตสาหกรรม - แรงงานที่มีอยู่ในปัจจุบันเริ่มเข้าสู่ สังคมผู้สูงอายุมากขึ้น - การขาดสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงานมีรายได้ไม่แน่นอน เป็นงาน หนัก และลําบาก ทําให้คนรุ่นใหม่ ขาดแรงจูงใจในการเข้าสู่ภาค การเกษตร

13 แนวโน้มตลาดแรงงานใน ภาคเกษตร ผลดังกล่าว ทำให้เกิดภาวะขาดแคลนแรงงานใน ภาคเกษตร การขาดแคลนแรงงานในภาค การเกษตรมีลักษณะเป็นการขาด แคลนเฉพาะช่วงฤดูกาลเพาะปลูก และเก็บเก็บเกี่ยว เช่น ในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือมีแรงงานไม่ เพียงพอหรือ มีการขาดแคลน แรงงาน มีความต้องการจ้างแรงงานเพียง บางช่วงฤดูการผลิต

14 แนวโน้มตลาดแรงงานใน ภาคเกษตร เกษตรกรจึงมีความจําเป็นต้อง ใช้แรงงานรับจ้าง โดยส่วนใหญ่เป็น การจ้างเหมาแรงงาน ผ่านตัวแทน จัดหาแรงงานในหมู่บ้านและมีการ กําหนดเวลาล่วงหน้า ซึ่งมักเป็น แรงงานต่างด้าว รวมถึงในบางครั้งมี การแย่งชิงแรงงานในพื้นที่ โดยเฉพาะแรงงานที่มีทักษะ นอกจากนั้น ยังพบว่าส่วนใหญ่แล้ว แรงงานภาคการเกษตรเป็นแรงงานนอก ระบบที่ไม่ได้รับความคุ้มครอง หรือไม่มี หลักประกันทางสังคมจากการทํางาน เช่นเดียวกับแรงงานในระบบ


ดาวน์โหลด ppt สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google