ประเด็นยุทธศาสตร์กรมอนามัย (Strategic Issues) 1. ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 2. สร้างความเข้มแข็งระบบอนามัย สิ่งแวดล้อมชุมชนอย่างยั่งยืน 1.1 ส่งเสริมการเกิดและเติบโตคุณภาพ 1.2 ส่งเสริมเด็กวัยเรียนให้แข็งแรงและฉลาด 1.3 ส่งเสริมพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสมสำหรับวัยรุ่น 1.4 ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงานที่พึงประสงค์ 1.5 ส่งเสริมผู้สูงอายุไทยเพื่อเป็นหลักชัยของสังคม 3. อภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม 4. ปฏิรูประบบงานสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงและมีธรรมาภิบาล 8
เป้าประสงค์ที่ 1 ตั้งครรภ์คุณภาพ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.1 ส่งเสริมการเกิดและเติบโตคุณภาพ ตัวชี้วัด เป้าหมาย 60 61 62 63 64 เป้าประสงค์ที่ 1 ตั้งครรภ์คุณภาพ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย 1) อัตราส่วนมารดาตายต่อการเกิดมีชีพแสนคน ไม่เกิน 20 17 15 เป้าประสงค์ที่ 2 เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย 2) ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 85 เป้าประสงค์ที่ 3 เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน 3) ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี 51 54 57 ร้อยละ 63 (ส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี ช. 113 ซม. และ ญ. 112 ซม.) 4) ร้อยละของเด็กอายุ 3 ปีฟันไม่ผุ 50 52 56 58
เป้าประสงค์ : เด็กวัยเรียน เจริญเติบโตเต็มศักยภาพและมีทักษะสุขภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.2 ส่งเสริมเด็กวัยเรียนให้แข็งแรงและฉลาด ตัวชี้วัด เป้าหมาย 60 61 62 63 64 เป้าประสงค์ : เด็กวัยเรียน เจริญเติบโตเต็มศักยภาพและมีทักษะสุขภาพ 5) ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6-14 ปี) สูงสมส่วน และเด็กอายุ 14 ปี มีส่วนสูงเฉลี่ยตามเกณฑ์ ร้อยละ 66 ร้อยละ 68 ร้อยละ 70 72 ร้อยละ 74 (ส่วนสูงเฉลี่ยเด็กอายุ 14 ปี ช. 166 ซม. และ ญ.159ซม.) 6) ร้อยละของเด็กวัยเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ด้านการบริโภคอาหาร กิจกรรมทางกาย และทันตสุขภาพ - เด็กวัยเรียนกินผักต่อมื้อตามเกณฑ์ - เด็กวัยเรียนสามารถแปรงฟันด้วยตนเองอย่างมีคุณภาพ - เด็กวัยเรียนมีกิจกรรมทางกายเพียงพอ ร้อยละ 45 ร้อยละ 50 55 65 4
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.3 ส่งเสริมพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสมสำหรับวัยรุ่น ตัวชี้วัด เป้าหมาย 60 61 62 63 64 เป้าประสงค์ : วัยรุ่นมีทักษะชีวิตและพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม 7) อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี พันคน - ไม่เกิน 39 ไม่เกิน 34 8) อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 10-14 ปีต่อประชากรหญิงอายุ 10-14 ปี พันคน ไม่เกิน 1.3 ไม่เกิน 1.0 9) ร้อยละการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี ร้อยละ 10 ร้อยละ 9.5 ร้อยละ 9.0 8.5 8.0 10) ร้อยละของวัยรุ่น 15-18 ปี สูงสมส่วน และอายุ 19 ปี มีส่วนสูงเฉลี่ยตามเกณฑ์ และฟันไม่ผุ -สูงสมส่วน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 -ส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 19 ปี ช. 173 ซม. และ ญ. 160 ซม. สูงสมส่วน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 ส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 19 ปี ช. 175 ซม. และ ญ. 162 ซม. ฟันไม่ผุร้อยละ 38 ฟันไม่ผุ ร้อยละ 39 40 41 42 5
เป้าประสงค์ : ประชากรวัยทำงานหุ่นดี สุขภาพดี ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.4 ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงานที่พึงประสงค์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย 60 61 62 63 64 เป้าประสงค์ : ประชากรวัยทำงานหุ่นดี สุขภาพดี 11) ร้อยละของวัยทำงานอายุ 30-44 ปี มีดัชนีมวลกายปกติ ร้อยละ 36 ร้อยละ 37 ร้อยละ 38 39 40 12) ร้อยละของวัยทำงานมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ - พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เหมาะสม - กิจกรรมทางกายเพียงพอต่อสุขภาพ - นอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอต่อสุขภาพ - ดูแลสุขภาพช่องปากที่เหมาะสม - ร้อยละ 50 60
เป้าประสงค์ : ผู้สูงอายุสุขภาพดี ดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.5 ส่งเสริมผู้สูงอายุไทยเพื่อเป็นหลักชัยของสังคม (THAI ACTIVE AGING: Strong Social and Security) ตัวชี้วัด เป้าหมาย 60 61 62 63 64 เป้าประสงค์ : ผู้สูงอายุสุขภาพดี ดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี 13) อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี (Health-Adjusted Life Expectancy : HALE) - ไม่น้อยกว่า 67.5 ปี ไม่น้อยกว่า 69 ปี 14) ร้อยละของกลุ่มผู้สูงอายุมีฟันแท้อย่างน้อย 24 ซี่ 44 45 46 47 48
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างความเข้มแข็งระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชนอย่างยั่งยืน ตัวชี้วัด เป้าหมาย 60 61 62 63 64 เป้าประสงค์ : ชุมชนมีความเข้มแข็งในการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของชุมชน (Active Communities) 15) ตำบลมีชุมชนที่มีศักยภาพในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชน อย่างน้อยตำบลละ 1 ชุมชน - (7,255 ตำบล) ร้อยละ 100 ของตำบลที่มีชุมชนที่มีศักยภาพ ตามเกณฑ์ฯ แล้วเมื่อปี 2560-2562 มีนวัตกรรมชุมชนการจัดการ อวล.ชุมชน (7,255 ตำบล) 16) จังหวัดในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษมีฐานข้อมูลและการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม จังหวัดในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ 10 จังหวัด มีฐานข้อมูลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและมีแผนปฏิบัติการรองรับการดำเนินงาน จังหวัดในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ 10 จังหวัดมีระบบเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม จังหวัดมีการส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานเฝ้าระวังเพื่อลดผลกระทบจากปัจจัยเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 อภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัด เป้าหมาย 60 61 62 63 64 เป้าประสงค์ : ภาคีเครือข่ายภาครัฐร่วมดำเนินการ สามารถนำสินค้าและบริการ (Product Champion) ของกรมอนามัยไปดำเนินการและพัฒนาเพื่อใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม 17) ร้อยละของภาคีเครือข่ายภาครัฐที่นำสินค้าและบริการ (Product Champion) ของกรมอนามัยไปใช้ และดำเนินการจนได้มาตรฐานตามที่กำหนด ร้อยละ 70 ร้อยละ 75 ร้อยละ 80 ร้อยละ 85 ร้อยละ 90 18) ร้อยละความพึงพอใจของภาคีเครือข่ายภาครัฐที่นำสินค้าและบริการ (Product Champion) ของกรมอนามัยไปใช้
เป้าประสงค์ที่ 3 เป็นองค์กรที่มีธรรมาภิบาล ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 ปฏิรูประบบงานสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงและมีธรรมาภิบาล ตัวชี้วัด เป้าหมาย 60 61 62 63 64 เป้าประสงค์ที่ 1 เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (LO) 19) จำนวนงานวิจัยและนวัตกรรมที่ถูกนำไปใช้ประโยชน์ ระดับนโยบาย (กระทรวง) และกลไกการขับเคลื่อนนโยบาย (เขตสุขภาพ) อย่างน้อย 4 เรื่อง 8 เรื่อง 12 เรื่อง 16 เรื่อง 20 เรื่อง เป้าประสงค์ที่ 2 เป็นองค์กรที่มีสมรรถนะสูง (HPO) 20) การผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) (สะสม) 4 หมวด (สะสม) 5 หมวด 6 หมวด ได้รับการรับรองตามระบบ PMQA ครบทุกหมวดจาก สำนักงาน ก.พ.ร. เป้าประสงค์ที่ 3 เป็นองค์กรที่มีธรรมาภิบาล 21) คะแนนการประเมินระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน ตามระบบ ITA โดย ปปท. ร้อยละ 81 ร้อยละ 82 ร้อยละ 83 ร้อยละ 84 ร้อยละ 85
10
Assessment Advocacy Intervention ระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม คนไทยมีอายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี 72 ปี (HALE) ชุมชนมีศักยภาพในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม (Active Community) A2 I M. (3ป 1บ) Assessment Advocacy Intervention Management/ Governance (Regulate & Technical Support) (ประเมิน) (เป็นปากเป็นเสียง) (ปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพ & อวล) (บริหาร/อภิบาล) Investigate Diagnosis Classified - เป้าหมายอนาคตของถนนชีวิต และสุขภาพ 5 กลุ่มวัย - High touch & tech in PA , Nutrition, Oral Health Promote to Excellence ระดับประเทศ/กระทรวง ระดับเขต/จังหวัด/ อำเภอ ระดับท้องถิ่น/ชุมชน Inform, educate, and empower people about Health & Env.H. issues - Mobilize community partnership s and actions to identify and solve Health & Env.H. problem เครือข่าย ระดับนโยบาย Model Development Health &En.H. Provincial Profile Healthy Settings Health& Env.H.City Profile Monitor Normal Policy + Law EHA - Assure Quality of service ( Health Promotion & Env.) - Improve accessibility - Law & Regulation Protection ระบบประเมินรับรอง Health Promotion & Env. Surveillance Data & Information Analysis Prediction Health & Env.H. status & situation By กระทรวงสาธารณสุข RISK สสส. สช. คร. สปสช. สบส. เขตสุขภาพ/ศอ. อสธจ. อปท. Eliminate Reduction - Appropriate Health Behavior, and lifestyle - PA - Target - Nutrition - Target - Env. -> Intervention - Morbidity & Mortality in all group ตำบลบูรณาการ ILL รพ.สต. อสม./ แกนนำ ชุมชน DOH (EnH Cluster + 5 กลุ่มวัย Cluster) Strategy -Technical Support โดยการ Regulate t เฝ้าระวัง 6 Cluster (5 กลุ่มวัย + อนามัยสิ่งแวดล้อม) 5 มิติ (Risk factor, Protective factor, Promoting intervention, Health outcome, Life impact) 36 ตัวชี้วัด เช่น มารดาตาย, พัฒนาการสมวัย, สูงดีสมส่วน, คลอดซ้ำในวัยรุ่น, BMI ปกติ, พฤติกรรมที่เหมาะสม, การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ … ect สสจ. DHS สสอ./ รพช. Support/ Regulate Support/ Regulate Improve Maintain ภาคีเครือข่ายระดับท้องถิ่น/ชุมชน ภาคีเครือข่ายระดับเขต/จังหวัด - Specific age group Health Promotion Program - Appropriate Health Behavior and lifestyle - PA - Target - Nutrition – Target - Env. -> Intervention Morbidity & Mortality in all group Build Capacity 11