งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความเชื่อมโยงของยุทธศาสตร์และข้อตกลงกรมอนามัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความเชื่อมโยงของยุทธศาสตร์และข้อตกลงกรมอนามัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความเชื่อมโยงของยุทธศาสตร์และข้อตกลงกรมอนามัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
โดย อัมพร จันทวิบูลย์ ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร วันที่ 6 มกราคม 2559 โรงแรมทีเค พาเลซ กรุงเทพมหานคร

2 การจัดทำข้อตกลงการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย
คำรับรองการปฏิบัติราชการ 27 พ.ย.58 อธิบดี รองปลัดกระทรวง หัวหน้ากลุ่มภารกิจ ปลัดกระทรวง ระดับกรม 8 ธ.ค.58 รองอธิบดี ที่กำกับดูแลหน่วยงาน ให้ความเห็นชอบ อธิบดี ระดับ หน่วยงาน หัวหน้าหน่วยงาน __/__/__ ระดับ กลุ่ม/ฝ่าย หัวหน้ากลุ่ม/ฝ่าย หัวหน้า หน่วยงาน การมอบหมายงาน ระดับ บุคคล บุคลากร หัวหน้า กลุ่ม/ฝ่าย หัวหน้า หน่วยงาน

3 ความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุขกับยุทธศาสตร์เน้นหนัก ปี 2559

4

5 การมอบหมายกลุ่มภารกิจ/รองปลัด

6 PA กระทรวงสาธารณสุข กับท่าน รมว.สธ.
ประเด็นนโยบาย รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข ที่ดูแล หน่วยงาน ที่รับผิดชอบ ตัวชี้วัดกรมที่สอดคล้องกับประเด็นนโยบาย 1. LTC. บูรณาการ 5 กลุ่มวัยในตำบลต้นแบบ - นางประนอม คำเที่ยง - นายสุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย - นายวิศิษฎ์ ตั้งนภากร กรมอนามัย กรมควบคุมโรค กรมสุขภาพจิตกรมการแพทย์ กรมสบส. กรมอนามัย 1.1.1/1.1.2/1.1.4/1.4/1.6 กรมการแพทย์ 1.6 กรมคร เพิ่ม/ตัด1.7 กรมสบส 1.4 กรมสุขภาพจิต 1.4 2. ลดอุบัติเหตุ กรมการแพทย์ สป. กรมคร 1.6 กรมการแพทย์ 1.4 สป. เพิ่ม 3. Service Plan ลดป่วย ลดตาย ลดแออัด ลดเวลารอคอยในการ ส่งต่อ - นายสมศักดิ์ อรรฆศิลป์ สำนักบริหารการสาธารณสุข สป กรมสุขภาพจิตกรมพัฒน์ฯ กรมอนามัย 1.7 สป. 1.4 กรมแพทย์ 1.7 กรมจิต 1.5 กรมพัฒน์ /1.6 4. NCD เริ่มจากลด CKD นำสู่ลด DM HT กรมอนามัย 1.1.3 กรมคร. 1.1 กรมแพทย์เพิ่ม

7 รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข ตัวชี้วัดกรมที่สอดคล้องกับประเด็นนโยบาย
ที่ดูแล หน่วยงาน ที่รับผิดชอบ ตัวชี้วัดกรมที่สอดคล้องกับประเด็นนโยบาย 5. บริหารจัดการ HR. Finance. พัสดุโปร่งใส - นายสมศักดิ์ อรรฆศิลป์ - นางประนอม คำเที่ยง - นายสุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย - นายวิศิษฎ์ ตั้งนภากร ทุกกรม (อยู่ในมิติภายใน) สำนักบริหารกลาง/สบช สป. 6.ระบบส่งเสริมสุขภาพอนามัยสิ่งแวดล้อม ระบบป้องกันควบคุมโรค ระบบคุ้มครองผู้บริโภค ระบบดูแลภาวะฉุกเฉิน PHEM กรมอนามัย กรมควบคุมโรค อย. สบส กรมการแพทย์ กรมอนามัย 1.2/1.3/1.5 กรมคร 1.2,1.3 อย ตัด 1.7 (อาจตัดเพิ่ม) สบส 1.1, 1.2, 1.6 กรมการแพทย์ ขอหารือก่อน สธฉ.สป 7. มะเร็งท่อน้ำดีและพยาธิใบไม้ในตับ กรมการแพทย์สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สป.กรมควบบคุมโรค มอบ สนย.สป. เป็นแกนประชุมท่านปลัดวันจันทร์ (โครงการพระราชดำริ) 8. การพัฒนากฎหมาย กลุ่มกฎหมาย สป. สป.เป็นผู้รวมทุกกรม เพิ่ม 9. การพัฒนาการผลิตยา/วัคซีน อย เพิ่ม 10. การเร่งรัดออกใบอนุญาตของอย.

8 Process outcome

9 Outcome Output Process Input
กลุ่มแม่และเด็ก อัตราส่วนการตาย มารดาต่อการเกิดมีชีพ (สส.) เด็กมีพัฒนาการสมวัย (สส.) Outcome เด็กปฐมวัยได้รับการดูแลสุขภาพช่องปาก (ท.) Output จังหวัดมีระบบเฝ้าระวังมารดาตาย (สส./ศอ.) จังหวัดมีระบบเฝ้าระวังพัฒนาการเด็ก (สส./ศอ.) Process การจัดทำคู่มือส่งเสริมพัฒนาการ (สส.) Input

10 Shopping KPI ระดับเขต/จังหวัด

11 Outcome Output Process Input
วัยเรียน ร้อยละเด็กนักเรียนอ้วนและเริ่มอ้วน (สภ.) Outcome ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานเพื่อบรรลุ เป้าหมายตัวชี้วัด “ร้อยละเด็กฯ” (ท./ศอ.) ร้อยละเด็ก ป.1 ได้รับการตรวจสายตา+แก้ไข(สส.) โรงเรียนไม่มีการจำหน่ายอาหารที่มีผลเสียต่อสุขภาพฯ (ท.) Output การส่งเสริมเด็กไทยมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน (สภ.) Process แปรงสีฟันเด็กในประเทศมีคุณภาพมาตรฐานฯ (ท.) Input

12 Shopping KPI ระดับเขต/จังหวัด

13 Outcome Output Process Input
วัยรุ่น อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ ปี (อพ.) Outcome ร้อยละรพ.สป.ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน รับรอง รพ ตามมาตรฐาน (YFHS) ฉบับบูรณาการ (อพ./ศอ.) ร้อยละของการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี (อพ.) ร้อยละของหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี ได้รับบริการคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ (Modern methods) หลังคลอดหรือ หลังแท้ง (อพ.) ร้อยละของหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี หลังคลอดหรือหลังแท้งที่คุมกำเนิดได้รับการคุมกำเนิดด้วยวิธีกึ่งถาวร (อพ.) Output ระดับความสำเร็จของการเฝ้าระวังการแท้งในประเทศไทย (อพ.) Process Input

14 Shopping KPI ระดับเขต/จังหวัด

15 Outcome Output Process Input
วัยทำงาน/ทั่วไป/NCD อัตราตายด้วยโรค NCD Outcome DPAC สป.ผ่านเกณฑ์ (กองออกกำลังกาย) ระดับความสำเร็จการขยายผล fitness (กองออกกำลังกาย) ระดับความสำเร็จการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ทางกายแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (กองออกกำลังกาย) การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง (สภ.) การจัดทำข้อเสนอ ลด หวาน มัน เค็มฯ (สภ.) Output Process นวัตกรรมองค์ความรู้ (กองออกกำลังกาย) เกณฑ์เมืองจักรยาน (กองออกกำลังกาย) Input

16 Shopping KPI ระดับเขต/จังหวัด

17 Shopping KPI ระดับเขต/จังหวัด

18 Outcome Output Process Input
ผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุ 80 ปี ยังแจ๋ว (สูงอายุ) ร้อยละผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ Outcome ตำบล Long Term Care (สูงอายุ/ศอ.) ผู้สูงอายุได้รับการใส่ฟันเทียมพระราชทาน (ท.) Output บริการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุในตำบล LTC (ท./ศอ.) Process Input

19 Shopping KPI ระดับเขต/จังหวัด

20 Outcome Output Process Input
บูรณาการ Setting ทุกกลุ่มวัย Outcome ร้อยละของจังหวัดมีเครือข่ายต้นแบบสถาน ประกอบการสุขภาพดี : CSR in Health (สส.) 100 ตำบลต้นแบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัย สิ่งแวดล้อม(สส./สว.) ร้อยละของ รพ.สต./ศสม. จัดบริการส่งเสริมสุขภาพ ช่องปากทุกกลุ่มวัย (ท.) Service Plan Output Process Input

21 Shopping KPI ระดับเขต/จังหวัด

22 Outcome Output Process Input
อนามัยสิ่งแวดล้อม • ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ (LAB) Outcome • ระดับความสำเร็จการดำเนินงานเพื่อให้จังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง (ป./สอ/ศกม./ศอ.) • ร้อยละรพ.สังกัด กสธ.มีการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ (สว.) • ร้อยละของหน่วยงานสังกัด กสธ.ลด ละ เลิก การใช้โฟม (สอ.) • ระดับความสำเร็จของการสนับสนุนการดำเนินงานของ อสธจ. (ศกม.) • ระดับความสำเร็จของการเสนอร่าง พรบ.การสาธารณสุข (ศกม.) • ระดับความสำเร็จในการจัดทำฐานข้อมูลที่จำเป็นเพื่อกำหนดข้อเสนอ/มาตรการกำกับติดตามการดำเนินงานในพื้นที่ (ศอ.) Output • ส่งเสริมให้จังหวัดนำระบบข้อมูลด้านสุขาภิบาลอาหาร,น้ำไปใช้ (สอ.) • การจัดทำระบบฐานข้อมูล,รายงานสถานการณ์ สวล.,สุขภาพ (ป.) • ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานผลกระทบ (ป.) • ระดับความสำเร็จของการสื่อสารความเสี่ยงผลกระทบต่อสุขภาพ (ป.) • ระดับความสำเร็จของการชี้แจงร่างกฎกระทรวง (ศกม.) • ร้อยละของมติในที่ประชุม คกก.สธ.ที่ฝ่ายเลขาฯ ดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ (ศกม.) Process • จำนวนหน่วยงาน/องค์กร/ภาคีเครือข่ายที่ขอรับการสนับสนุนองค์ความรู้ไปใช้ (LAB) • จำนนวมาตรฐานการปฏิบัติ/ร่าง/คำแนะนำ/แนวทาง ด้านอนามัยสวล. (สว.) • ร้อยละของผู้เข้าฝึกอบรมพัฒนาบุคลากรด้านอนามัย สวล. พนง. สธ. (สว.) • ระดับความสำเร็จของการส่งเสริมให้ อปท.มีการพัฒนาระบบบริการอนามัย สวล. (สอ.) ระดับความสำเร็จของการจัดทำเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำฯ (สว.) ระดับความสำเร็จของการจัดทำคู่มือวิชาการด้านผลกระทบต่อสุขภาพฯ (ป.) จำนวนตัวอย่างที่ให้การสนับสนุนการตรวจ/ทดสอบของกรมอนามัย (LAB) จำนวน ปชช. ชุมชน บุคลากรภาคีเครือข่ายได้รับการถ่ายทอดความรู้เทคโนโลยีฯ Input

23 Shopping KPI ระดับเขต/จังหวัด

24 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
KPI กรม กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล การปฏิบัติราชการ กรอบการประเมินผล 2559 น้ำหนัก (%) มิติภายนอก 75 การประเมินประสิทธิผล (65) ตัวชี้วัดตามภารกิจหลักของกระทรวงตามแนวทางการขับเคลื่อนประเทศ/แผนยุทธศาสตร์กระทรวง/ตัวชี้วัดระหว่างกระทรวงที่มีเป้าหมายร่วมกัน (Joint KPIs) และตัวชี้วัดร่วมระหว่างกระทรวงและจังหวัด (Function-Area KPIs) ตามนโยบายสำคัญของรัฐบาล (65) การประเมิณคุณภาพ (ร้อยละ 10) 2. ความพึงพอใจของผู้รับบริการ หมายเหตุ หากกระทรวงไม่มีตัวชี้วัดนี้ให้นำน้ำหนักไปไว้ที่ตัวชี้วัด 1 (10) มิติภายใน 25 การประเมินประสิทธิภาพ (15) 3. ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณ 3.1 การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทุน 3.2 การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายภาพรวม (5) 4. การประหยัดพลังงาน - ด้านไฟฟ้า - ด้านน้ำมันเชื้อเพลิง (2.5) 5. การประหยัดน้ำ 6. การพัฒนาประสิทธิภาพระบบสารสนเทศภาครัฐ การพัฒนาองค์การ 7. การพัฒนาสมรรถนะองค์การ 8. ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสการดำเนินงานของหน่วยงาน รวม 100 มิติภายนอก 75 มิติภายใน 25

25 THANK YOU กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย


ดาวน์โหลด ppt ความเชื่อมโยงของยุทธศาสตร์และข้อตกลงกรมอนามัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google