สถานการณ์ /นโยบาย แนวทาง การดำเนินงานควบคุมโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กันยายน 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
ผลการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคเอดส์
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
โครงการ “ฟันเทียมพระราชทาน”
การมีส่วนร่วมของชุมชนในการติดตาม ดูแลพฤติกรรมของเด็กและเยาวชนตามกระบวนการยุติธรรม เชิงสมานฉันท์ จังหวัดฉะเชิงเทรา ผู้วิจัย กนกวรรณ ตั้งจิตบำรุง หลักสูตร.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
COMPETENCY DICTIONARY
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
อดีต ปัจจุบัน อนาคต ของเอชไอวี ในประเทศไทย
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ข้อมูลการประชุมเชิงปฏิบัติการ
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
ขั้นตอนการให้บริการ ด้านโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การดำเนินงานเชิงรุก โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
สรุปภาพรวมผลการดำเนินงาน
การพัฒนาคุณภาพการดูแลโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถานการณ์ /นโยบาย แนวทาง การดำเนินงานควบคุมโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สถานการณ์ /นโยบาย แนวทาง การดำเนินงานควบคุมโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โดย นางศุภศรัย สง่าวงศ์ หัวหน้ากลุ่มพัฒนาวิชาการ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 จ.อุบลราชธานี

โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ คือ กลุ่มโรคต่าง ๆ ที่ติดต่อจากคนหนึ่งไปสู่อีกคนหนึ่งโดยการร่วมเพศ บางโรคอาจติดต่อกันโดยการสัมผัส หรือถ่ายทอดสู่ลูกขณะอยู่ในครรภ์

โรคติดเชื้อ/ติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โรคติดเชื้อ ที่มีการถ่ายทอดเชื้อเป็นส่วนใหญ่ผ่านทางการสัมผัส เสียดสีของอวัยวะเพศ Bacteria Virus Fungus Protozoa Ectoparasite Office of Disease Prevention and Control # 7 Ubon ratchathani

โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ Sexually transmitted diseases (STD, STDs) Sexually transmitted infections (STI, STIs) Disease - โรค มีอาการ และ / หรืออาการแสดง Infection - ภาวะการติดเชื้อ = ( มีอาการและ / หรืออาการแสดง) + ( ผู้ที่ไม่มีอาการ และอาการแสดง) (โรคหวัดหรือวัณโรค อาจติดจากการมีเพศสัมพันธ์ได้ แต่ไม่ใช่ STI) STDs, STIs = โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์หลัก + โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อื่นๆ

โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ STDs, STIs = โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์หลัก + โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อื่นๆ STIหลัก = กามโรค+โรคพยาธิช่องคลอด(Trichomoniasis) A59.0 -A59.9 R506=81 VD = Venereal disease (กามโรค) ประกอบด้วยโรค Gonorrhea(GC) หนองใน A54 R506=38 NGU (NSU) หนองในเทียม N34.1 A56.0 -A56.8 R506=39 Syphilis ซิฟิลิส A50,A51,A52,A53 R506=37 Chancroid แผลริมอ่อน A54 R506=40 Lymphogranuloma venereum กามโรคของต่อมและท่อน้ำเหลือง A55 R506=41 Granuloma inguinale แผลกามโรคเรื้อรังที่ขาหนีบ (ไม่มีในประเทศไทย)

โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ STDs, STIs = โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์หลัก + โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อื่นๆ Hepatitis B virus infection (ไวรัสตับอักเสบ บี) HIV/AIDS เริมอวัยวะเพศ ล/รทวารหนัก (Anogenital Herpes) A60.0 -A60.9 R506=79 หูดข้าวสุก (Anogenital molluscum contagiosum) A63.1 R506=80 หูดอวัยวะเพศ ล/รทวารหนัก (Anogenital warts) A63.0 R506=81 หิด (Scabies) ที่ติดจากเพศสัมพันธ์ R506=81 โลน (Pediculosis pubis) B85.3 R506=81 Other STI related symptoms/infections เชื้อรา (Candida vaginitis/balanitis), cervicitis ไม่อยู่ใน STI report case Orchitis , epididymo-orchitis etc + risky behavior + previous urethral symptoms เป็น STI

ไม่มีอาการ/อาการแสดง Infection & Disease Disease Infection ไม่มีอาการ/อาการแสดง มีอาการ/อาการแสดง Office of Disease Prevention and Control # 7 Ubon ratchathani

Symptomatic infection Unrecognized or a Symptomatic infection Symptomatic sexually transmitted infections are just the “tip of Iceberg”

Reported Cases of STIs per 100,000 Population by Disease, Thailand, 2001 - 2013 (B.E.2547-2556) Slide นี้ไม่ link กับข้อมูล Exel ทำให้แก้ไขไฟล์ไม่ได้ ปี 2011 Gonorrhea= 12.56, Chancroid= 0.78, Syphilis= 3.62, L.G.V.= 1.37, N.S.U.= 3.62 Seem to decrease fall come down / rise increase go up Year Source : Bureau of Epidemiology

อัตราป่วยโรคหนองในทุกกลุ่มอายุ (ปี 2556-2558 ) ร้อยละของเยาวชนที่มีเพศสัมพันธ์แล้วรายงานว่า ใช้ถุงยางอนามัยในการมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุด (ปี 2555 -2558) อัตราป่วยโรคหนองในทุกกลุ่มอายุ (ปี 2556-2558 ) แหล่งข้อมูล : ผลสำรวจ BSS ของ สำนักระบาดวิทยา อัตราป่วยเฉพาะกลุ่มอายุด้วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ จำแนกรายโรค ในกลุ่มอายุ 15-24 ปี ประเทศไทย พ.ศ. 2554 – 2558 แหล่งข้อมูล : รายงาน 506 สำนักระบาดวิทยา (ปรับปรุง ณ วันที่ 1 พ.ค. 2559)

อัตราป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ในพื้นที่ สคร อัตราป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ในพื้นที่ สคร. 10 ปี 2557-2558 แบ่งตามกลุ่มอายุ ที่มา.............

อัตราป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ในพื้นที่ สคร อัตราป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ในพื้นที่ สคร. 10 ปี 2557-2558 แบ่งตามกลุ่มอายุ ที่มา.............

อัตราการใช้ถุงยางอนามัยนักเรียนชายม อัตราการใช้ถุงยางอนามัยนักเรียนชายม.5 เมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุด 12 เดือนที่ผ่านมา ปี 2554 - 2558 สคร. 10 (เป้าหมาย > ร้อยละ75) ภาพรวมเขต ร้อยละ 80.4

ผลการดำเนินงานด้านการตรวจและคักรอง STI/HIV กิจกรรม 2556 2557 2558 ผู้รับบริการทั้งสิ้น 3,010 3,164 2,918 บริการด้านผิวหนัง 2,529 2,685 2,397 ปรึกษา/ตรวจหา HIV 131(ผลบวก 5 =4%) 95 (ผลบวก4=4%) 150 (ผลบวก 12=8%) บริการตรวจ STI 350 384 371

ผลการดำเนินงานการตรวจ STI ปี 56-58 กิจกรรม 2556 ช ญ รวม 2557 2558 ช ญ รวม ผู้รับการตรวจ 170 180 350 195 189 384 175 196 371 ป่วย STI 141 121 262 171 119 290 172 109 281 หนองใน 84 34 118 98 28 126 79 36 115 ร้อยละของผู้มาตรวจ 49 19 34 50 15 33 46 18 31 หนองในเทียม 22 36 58 19 24 43 29 24 53 13 20 17 10 13 11 17 12 14 ซิฟิลิส - - - 3 2 5 2 1 3

ผลการดำเนินงานการตรวจ STI ปี 56-58 (ต่อ) กิจกรรม 2556 ช ญ รวม 2557 2558 ช ญ รวม BV - 21 21 - เชื้อราในช่อง คลอด - 4 4 - 7 7 - 10 10 อื่นๆ 35 26 61 51 48 116 52 38 100

จำนวนและร้อยละของผู้ป่วยโรคหนองในแยกตามกลุ่มอายุปี 56-58 2556 ช ญ รวม 2557 ช ญ รวม 2558 ช ญ รวม 15-24 35 18 53 34 16 50 32 16 48 25-34 16 10 26 16 9 25 10 10 20 35-44 10 7 17 14 6 20 16 5 21 45-54 8 3 11 13 7 20 6 1 7 55 ปีขึ้นไป 6 2 11 11 - 11 15 4 19

Lab performance 2015 (cont.) November 21, 2018

STI เกี่ยวกับ HIV/AIDS อย่างไร - ผู้ติดเชื้อ HIV ที่ติดเชื้อ STIs จะแพร่กระจายเชื้อ HIV มากขึ้น 2-9 เท่า ผู้ติดเชื้อ HIV ที่ติดเชื้อHSV2ร่วมด้วย จะมีการดำเนินของโรคเร็วกว่าปกติ ผู้ป่วย/พบ STI ที่ติดเชื้อ HIV จะมีระยะเวลาของการดำเนินโรค ลักษณะ อาการและความรุนแรงของโรคมากกว่าปกติและยังทำให้การรักษายากยิ่งขึ้น - วิธีการป้องกันการแพร่ระบาดของการติดเชื้อ HIV/STI เป็นวิธีเดียวกัน ทำงานSTI หนักๆจะช่วยผ่อนคลายงานHIVในภายหน้า ผู้ติดเชื้อ HIV ที่ติดเชื้อHSV2ร่วมด้วย จะมีการดำเนินของโรคเร็วกว่าปกติ จึงควรค้นหา HIV ในผู้เป็น STI เพื่อชลอการดำเนินของโรค( ดูแลสุขภาพดีจะไม่เป็น HSV recur บ่อย การดำเนินของโรคจะช้า HSV patients who don’t know their status may not take good care of themselves so HIV progress rapidly Anyone who has both STI (both symptomatic and asymptomatic ) and HIV but don’t know their status they will spread HIV enormously( if asymptomatic ) and if they attend general clinic the staff may not pay attention on HIV pretest in such cases ? STI patient have more willing to have HIV testing on the day they are diagnose STI than on normal day Normal people who have risky behavior have less willing than STI patients to have HIV testing 23

ทำไมต้องคัดกรองโรคในคนที่ไม่มีอาการแต่มีพฤติกรรมเสี่ยง Asymptomatics STI Gonococcal cervicitis/urethritis female 30 - 70 % Chlamydial cervicitis/urethritis female 70 -80 % Syphilis male/female/MSM 85 - 90 % Gonococcal urethritis male 10% Chlamydial urethritis /NGU 30 - 50% ผู้หญิงเมื่อติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ มักไม่มีอาการ จึงไม่สามารถใช้อาการ เป็นตัวนำพาให้มารับการตรวจได้ DM , HT CHD ไม่มีอาการ ?%

ทำไมต้องคัดกรองโรคในคนที่ไม่มีอาการแต่มีพฤติกรรมเสี่ยง Rectal Gonorrhea is usually asymptomatic but may cause anal discharge (12%) or perianal/anal pain or discomfort (7%); Pharyngeal Gonorrhea is usually asymptomatic (90%). Syphilis male/female/MSM ไม่มีอาการ 85 - 90 % ทั้ง 3 โรคดังกล่าวข้างต้น เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่มีความชุกสูงอันดับ1-3 และเป็นโรคที่รักษาได้หายขาด การคัดกรองทำให้มีการสื่อสารกับผู้รับบริการ ดีขึ้น เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การให้บริการการคัดกรอง การรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่ครบถ้วน ( มีเรื่อง เอชไอวี ) เป็นการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี

อัตราป่วย/พบโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์(< 10/ ประชากร เป้าหมาย : Goal อัตราป่วย/พบโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์(< 10/ ประชากร แสนคนในปี 2573 ยุทธศาสตร์ STI เพิ่มการเข้าถึงบริการป้องกันควบคุมโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สร้างความเข้มแข็งในระบบบริการป้องกันควบคุมโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ส่งเสริม สนับสนุนกลไกในการดำเนินงานด้านการป้องกันควบคุมโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ มาตรการ 1.กำหนดและผลักดันนโยบายในเรื่องการเพิ่มจุดบริการและการสนับสนุนบริการ 2.ส่งเสริมระบบการบริการดูแลรักษาป้องกันและควบคุมโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในหน่วยบริการภาครัฐ / เครือข่าย 3.ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชน และกลุ่มเสี่ยงเข้าถึงระบบบริการ 4.ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับจุดให้บริการป้องกันควบคุมโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สร้างและพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางวิชาการเพื่อใช้ในการดำเนินงานป้องกันคุมโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2.ส่งเสริมสนับสนุนให้มีการนำผลิตภัณฑ์ทางวิชาการไปใช้ในการดำเนินงานในพื้นที่ 3.พัฒนาบริการที่เป็นมิตร เพื่อส่งเสริมระบบบริการ STI/PICT 4.พัฒนาระบบคุณภาพการดำเนินงานด้านโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 5.พัฒนาศักยภาพบุคลากรภาครัฐ เอกชน และทุกภาคส่วน พัฒนากลไกบริหารจัดการเพื่อบูรณาการโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2. พัฒนากลไกประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ องค์กรภาครัฐ องค์กรพัฒนาอกชน อปท. 3. ขับเคลื่อนกลไกการดำเนินงานในชุมชน 4. พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารด้านการป้องกันควบคุมโรคและเฝ้าระวังโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ยุทธศาสตร์ STI ค่ะ หลังจากนี้ต้องมาช่วยกันทำโครงการ ต่อนะคะ

สวัสดี