การปกครองระบอบประชาธิปไตย ประชาธิปไตย (Democracy) = ประชาชน (P) + อธิปไตย (อำนาจสูงสุด) หมายถึง การปกครองที่ P มีอำนาจสูงสุด (ประธานาธิบดี อับราฮัม ลินคอล์น(USA)) การปกครองระบอบประชาธิปไตย คือ การปกครอง ของ P โดย P เพื่อ P
มี 2 รูปแบบ จัดได้ว่ามี 4 ลักษณะ แบบประธานาธิบดี USA. เป็นแม่บท แบบรัฐสภา มี K. เป็นประมุข มีคณะรัฐบาล จัดได้ว่ามี 4 ลักษณะ แบบประธานาธิบดี USA. เป็นแม่บท แบบรัฐสภา E เป็นแม่บท แบบถึงรัฐสภา ประธานาธิบดี F เป็นแม่บท แบบ K. มีอำนาจสูงสุด Thai เป็นแม่บท
หลักการ หลักเสียงข้างมาก โดยคำนึงถึงส่วนรวม หลักเสียงข้างมาก โดยคำนึงถึงส่วนรวม หลักความมีเหตุผล ที่ถูกต้องเหมาะสม หลักความประนีประนอม หลักสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาค
Thai K. เป็นประมุข อยู่ภายในกฎหมายรัฐธรรมนูญ (ผู้ใดจะละเมิดมิได้) รัฐธรรมนูญ เป็นหลักใช้ในการปกครองประเทศ อำนาจอธิปไตย และกระบวนการใช้อำนาจอธิปไตย ประกอบด้วย นิติบัญญัติ (รัฐสภา) บริหาร (คณะรัฐมนตรี) ตุลาการ (ศาล)
แผนภูมิการปกครองของไทย ศาลรัฐธรรมนูญแผนก คดีอาญาของผู้ดำรง ตำแหน่งทางการเมือง รัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์ ปปช. ปปง. กกต. คตส. ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลปกครอง ศาลทหาร (ปฏิวัติรัฐประหาร อำนาจอธิปไตย องค์กรอิสระ นิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ รัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล วุฒิสภา สภาผู้แทนราษฎร ศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกา ศาลอุทธรณ์ ศาลอาญา ศาลจังหวัด ศาลแขวง ศาลคดีเด็กและเยาวชน ศาลแรงงาน
ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายนิติบัญญัติ อำนาจในการออกกฎหมาย มีรัฐสภาเป็น สถาบันทางการเมือง วุฒิสภา (สว.) สภาผู้แทนราษฏร (สส.) แบบเลือกตั้ง แบบสรรหา แบบแบ่งเขตเลือกตั้ง แบบบัญชีรายชื่อ
อำนาจหน้าที่หลักของรัฐสภา การเสนอกฎหมาย และ พิจารณาอนุมัติใช้กฎหมาย การอนุมัติงบประมาณแผ่นดิน การควบคุมการทำงานของฝ่ายบริหาร (โดยตั้งกระทู้ถามการบริหารงาน ของคณะรัฐบาล เปิดอภิปราย ลงมติ
อำนาจหน้าที่หลักของฝ่ายบริหาร อาจในการดำเนินการปกครองประเทศ ครม. หรือ government ประกอบด้วย นายกรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรี ( กษัตริย์ทรงแต่งตั้ง โดยความเห็นชอบจากรัฐสภา) กำหนดนโยบาย + ปฏิบัติตามนโยบายที่แถลงต่อสภา นำกฎหมายที่ออกโดยรัฐสภามาดำเนินการ มีผลบังคับใช้ ควบคุม ดูแล ประสานงาน บริหารราชการส่วนกลาง กระทรวง ครม. ดำเนินการ ระหว่างประเทศ
อำนาจตุลาการ อำนาจการตัดสินพิพากษาคดีความ สังกัด กระทรวงยุติธรรม อำนาจการตัดสินพิพากษาคดีความ สังกัด กระทรวงยุติธรรม ศาลใช้กฎหมายในการพิจารณาคดี เพื่อเกิดความยุติธรรม ในสังคมรักษาสิทธิเสรีภาพ P= สังคมสงบสุข มี 3 ระดับ ศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกา
การบริหารราชการแผ่นดิน แบ่งเป็น 3 ส่วน การบริหารราชการแผ่นดิน แบ่งเป็น 3 ส่วน 1. ส่วนกลาง ส.นายกรัฐมนตรี กระทรวง (13 กระทรวง) ครม. 2. ส่วนภูมิภาค จังหวัด อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน 3. ส่วนท้องถิ่น อบจ. เทศบาล (3 ขนาด) สุขาภิบาล อบต. รูปแบบพิเศษ (กทม. ,พัทยา)