งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระบบรัฐบาล ในระบอบเสรีประชาธิปไตย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระบบรัฐบาล ในระบอบเสรีประชาธิปไตย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระบบรัฐบาล ในระบอบเสรีประชาธิปไตย

2

3 จากหลักแบ่งแยกอำนาจสู่ระบบรัฐบาล
แนวคิดพื้นฐาน การปกครองควรมีการจำแนกองค์กรผู้ใช้อำนาจรัฐออกเป็นแต่ละ ส่วน ความเข้าใจที่คุ้นเคยกันในปัจจุบัน บริหาร (Executive power) นิติบัญญัติ (Legislative power) ตุลาการ (Judicial power)

4 Montesquieu The Spirit of the Law เจตนารมณ์แห่งกฎหมาย Book xi Chapter vi

5 รัฐแต่ละรัฐจะประกอบไปด้วยอำนาจ 3 ประเภท อำนาจนิติบัญญัติ บริหาร และ อำนาจบริหารซึ่งขึ้นอยู่กับสิทธิของเอกชน อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจที่ใช้โดยผู้ครองรัฐเพื่อบัญญัติกฎหมายขึ้นบังคับใช้ ภายในรัฐ ซึ่งอาจบัญญัติขึ้นใหม่หรือยกเลิกกฎหมายเดิม อำนาจบริหาร เป็นอำนาจที่ผู้ครองรัฐสามารถใช้ในเรื่องความมั่นคงและ ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ เช่น การทำสงคราม การรักษาความมั่นคง เน้นในเรื่อง คสพ. รปท. (executive power of the state)

6 อำนาจบริหารซึ่งขึ้นอยู่กับสิทธิของเอกชน หรือ power of judging ทำหน้าที่ ชี้ขาดว่า กม. ที่บังคับใช้ในกรณีพิพาทมีอยู่อย่างไร (ยังไม่ได้เรียกอย่างชัดเจนว่า “อำนาจตุลาการ”) ควรเป็นคณะบุคคลที่มาจากประชาชน และปฏิบัติหน้าที่ตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ “ผู้พิพากษาควรเป็นปากที่เปล่งถ้อยคำของกฎหมาย” (อาจมีข้อโต้แย้งเรื่องความเข้าใจผิดต่อระบบการปกครองของอังกฤษของ Montesquieu)

7 ถ้าอำนาจบริหาร และนิติบัญญัติ ถูกรวมไว้ในบุคคลหรือคนกลุ่มเดียว สิทธิเสรีภาพ ของประชาชนจะถูกทำลาย
ถ้าอำนาจตุลาการ ถูกใช้โดยอำนาจบริหารหรือนิติบัญญัติ สิทธิเสรีภาพของ ประชาชนก็จะถูกทำลายไป การแบ่งแยกอำนาจแบบเด็ดขาด/ การแบ่งแยกอำนาจแบบไม่เด็ดขาด

8 Montesquieu The Spirit of the Law Check and balance Executive power Legislative power Judicial power

9 เป้าหมายของการแบ่งแยกอำนาจ
เชิงโครงสร้างองค์กร (Structural Features) เพื่อป้องกันการรวมอำนาจของ ฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด โดยการกำหนดคุณสมบัติของผู้ดำรงตำแหน่งและกำหนด ระยะเวลาการดำรงตำแหน่งของสมาชิกแต่ละฝ่ายให้แตกต่างกัน การจัดสรรอำนาจ (Allocation of Powers) ไม่ให้ก้าวก่ายขอบเขตของ อำนาจอื่นและป้องกันการรวมอำนาจทั้งสาม คืออำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ มิให้อยู่ภายใต้การบังคับบัญชาของอำนาจใดอำนาจหนึ่งแต่ เพียงอย่างเดียว

10 ระบบประธานาธิบดี (Presidential system)
ระบบรัฐสภา (Parliamentary system) ระบบผสม (Mixed system)

11

12 ระบบรัฐสภา ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ดำรงตำแหน่งนายกฯ ได้อย่างไร
Teresa May, leader of the Conservative Party (พรรค อนุรักษ์นิยม)

13 คสพ. ระหว่างฝ่ายบริหาร/นิติบัญญัติ
ประชาชน สมาชิกรัฐสภา รัฐบาล คสพ. ระหว่างฝ่ายบริหาร/นิติบัญญัติ

14 ระบบรัฐสภา ต้นแบบคืออังกฤษ
รัฐบาลมาจากรัฐสภา ต้องได้รับการสนับสนุนจากเสียงข้างมากใน รัฐสภา แต่รัฐบาลสามารถควบคุมรัฐสภาได้ด้วยการยุบสภา (ทำให้ต้องมี การเลือกตั้งใหม่ และการจัดตั้งรัฐบาลชุดใหม่) (การแบ่งแยกอำนาจแบบไม่เด็ดขาด)

15

16 รัฐสภาสามารถควบคุมตรวจสอบการทำงานของรัฐบาล
อนุมัติงบประมาณรายจ่าย (no tax without representatives) ตั้งกระทู้ อภิปรายไม่ไว้วางใจ (ถ้าไม่ได้รับการไว้วางใจ รัฐบาลก็ต้องออกจาก ตำแหน่ง อาจยุบสภาหรือลาออก)

17 ลักษณะสำคัญของระบบรัฐสภา
ประมุขของรัฐไม่ต้องรับผิดชอบทางการเมือง รัฐสภาบัญญัติกฎหมาย และควบคุมรัฐบาล รัฐบาลต้องรับผิดชอบต่อรัฐสภา (ในอังกฤษ the supremacy of the parliament)

18

19 I will build a great wall

20 ระบบประธานาธิบดี ต้นแบบคือสหรัฐฯ
Donald Trump ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีได้อย่างไร

21

22 ประชาชนเลือกระหว่างผู้สมัครหลายคน
Hillary Clinton vs. Trump มักถูกอธิบายว่าเป็นการเลือกผู้นำโดยตรง

23 ประธานาธิบดี รัฐสภา Electoral college USA ประชาชน

24

25 ทั้ง ปธน. และสมาชิกรัฐสภา ต่างได้รับเลือกตั้งมาจากประชาชน
เมื่อมีการเลือกตั้งก็ทราบว่าถ้าเลือกแล้วจะได้ใครเป็น ปธน. ระบบการเลือกตั้ง ปธน. สหรัฐ Nation TV

26 ปธน. ไม่สามารถยุบฝ่ายนิติบัญญัติ แต่มีอำนาจในการยับยั้งร่าง กฎหมายของรัฐสภา
รัฐสภาไม่สามารถอภิปรายไม่ไว้วางใจ ปธน. แต่อาจใช้วิธี impeachment (การถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่ง) แต่กระบวนการ ค่อนข้างยุ่งยาก

27 บุคคลที่สามารถถูกถอดถอน ปธน. รอง ปธน. ผู้พิพากษา บุคคลที่ดำรง ตำแหน่งระดับสูง 3 ฐานความผิด คือ ความผิดฐานทรยศต่อประเทศ (treason) ความผิดฐานรับ สินบน (bribery) และความผิดอาญาระดับสูงและประพฤติมิชอบ(high crime and misdemeanors) สภาผู้แทนราษฎรเป็นองค์กรที่มีอำนาจกล่าวโทษ วุฒิสภาเป็นองค์กรที่มีอำนาจที่จะพิจารณาและตัดสิน ลงคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 2 ใน 3

28

29 ในประวัติศาสตร์ของสหรัฐฯ มีเพียง 3 คนเท่านั้น
1 คน ชิงลาออกระหว่างกระบวนการ 2 คน คะแนนถอดถอนไม่ถึงตามที่กำหนดไว้

30 ระบบผสม เอาระบบ ปธน. และ ระบบรัฐสภา มาผสมกัน
ผสมกันอย่างไร แตกต่างไปจากระบบทั้งสองอย่างไร

31 ระบบกึ่งประธานาธิบดี
บทเรียนจากฝรั่งเศสจากการลองทั้งสองระบบ และได้แพร่หลายในหลายประเทศ ประชาชนจะเลือก ปธน. โดยตรง และ ปธน. แต่งตั้งนายกฯ แต่นายกฯ ก็สามารถถูกคานอำนาจจากรัฐสภาได้ (การถูกอภิปรายไม่ไว้วางใจ) นายกฯ จึงควรต้องมาจากพรรคที่ได้เสียงข้างมาก

32

33 ถ้า ปธน. ไม่พอใจนายกฯ อาจเจรจาให้ลาออก ถ้าเป็นพรรคเดียวกัน
แต่ถ้ามาจากต่างพรรคการเมืองอาจเกิดอำนาจสองขั้ว ระหว่าง ปธน. และนายกฯ รูปแบบนี้มีความแตกต่างกันออกไปในแต่ละประเทศ เช่น เกาหลีใต้

34 ระบบ ปธน. และระบบรัฐสภา แบบไหนดีกว่ากัน
ระบบรัฐสภามักใช้ในประเทศที่มีกษัตริย์ เช่น ญี่ปุ่น ไทย มาเลเซีย เดนมาร์ก ฯลฯ คำถามคือ ทำไมไม่ใช้ระบบ ปธน. ในประเทศที่มีกษัตริย์ เราสามารถออกแบบให้เลือกนายกรัฐมนตรีโดยตรงในระบบรัฐสภาได้หรือไม่

35 ไพโรจน์ ชัยนาม, คำอธิบายกฎหมายรัฐธรรมนูญเปรียบเทียบ(โดยสังเขป) เล่ม 1 (กรุงเทพฯ, 2497) หน้า

36 ตอบข้อสอบ ข้อ 1 Magna Carta และศิลาจารึก ในทรรศนะของเสนีย์ ปราโมช Magna Carta และศิลาจารึก เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร เสนีย์ เรียกว่าเป็นรัฐธรรมนูญทั้งคู่ >> ความหมายอย่างกว้าง อะไรที่เกี่ยวกับการ ปกครองนับเป็น รธน. หมด ข้ออ่อน ทุกสังคมมี รธน. หมด หรือรธน. เผด็จการก็เป็น รธน. ได้

37 ข้อ 2 ระบบเลือกตั้ง ระบบเลือกตั้งแบบเสียงข้างมาก ระบบเลือกตั้งแบบสัดส่วน ระบบเลือกตั้งตาม รธน >> จัดสรรปันส่วนผสม เป็นอย่างไร อธิบาย ข้อวิจารณ์ ของนักวิชาการ และความเห็น นศ.

38


ดาวน์โหลด ppt ระบบรัฐบาล ในระบอบเสรีประชาธิปไตย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google