งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

อำนาจอธิปไตย 1.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "อำนาจอธิปไตย 1."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 อำนาจอธิปไตย 1

2 “อำนาจสูงสุดที่ใช้ในการปกครองประเทศ”
มองแต็สกีเยอ(Montesquieu) นักคิดนักปรัชญาการเมืองชาวฝรั่งเศส ผู้ให้กำเนิดแนวคิดในการแบ่งแยกอำนาจปกครองสูงสุดหรืออำนาจอธิปไตยออกเป็น 3 ฝ่าย อำนาจอธิปไตยไทย คือ “อำนาจสูงสุดที่ใช้ในการปกครองประเทศ” อำนาจอธิปไตย นิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ 2

3 ประธานรัฐสภา อำนาจนิติบัญญัติ (รัฐสภา) สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา ส.ว ส.ส
3

4 สภาผู้แทนราษฎร (ส.ส) อำนาจในการตรากฎหมาย
อำนาจในการควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน ด้วยการตั้งกระทู้ถาม หรือ ขอเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจ อำนาจในการให้ความเห็นชอบ เป็นต้น นอกจากนั้น การช่วยเหลือแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ของประชาชน

5 วุฒิสภา ส.ว มีอำนาจในการกลั่นกรองกฎหมาย โดยสามารถแก้ไขร่างพระราชบัญญัติที่ผ่านการพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎรได้ เพื่อให้การออกกฎหมายเป็นไปด้วยความรอบคอบ รัดกุม และสมบูรณ์ยิ่งขึ้น การควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน  หน้าที่ควบคุมการบริหารงานของรัฐบาล โดยการตั้งกระทู้ถามรัฐมนตรี หรือตั้งคณะกรรมาธิการไปศึกษางานด้านต่างๆ ให้มีการตรวจสอบฝ่ายบริหาร เพื่อให้มีข้อสังเกต คำแนะนำ และกระตุ้นเตือนรัฐบาล รวมทั้งการแสดงความคิดเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาตัดสินใจของรัฐบาล

6 อำนาจบริหาร (คณะรัฐบาล) นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี 29 6

7 ประธานศาลฎีกา อำนาจตุลาการ ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง
ศาล ทหาร ประธานศาลฎีกา 7

8 ศาลยุติธรรม ศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกา

9 ศาลปกครอง พิจารณาคดีข้อพิพาทระหว่างหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่หารัฐ แบ่งเป็น 2 ระดับ คือ สูงสุศาลปกครองชั้นต้น ศาลปกครองด 9

10 ศาลทหาร ศาลทหารชั้นต้น ศาลทหารกลาง ศาลทหารสูงสุด 10

11 การถ่วงดุล ของอำนาจอธิปไตย
11

12 อำนาจนิติบัญญัติ ฝ่ายนิติบัญญัติ แต่งตั้งนายกรัฐมนตรี
ขอเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจ การถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง

13 อำนาจฝ่ายบริหาร ฝ่ายบริหาร ยุบสภา

14 อำนาจตุลากร อำนาจตุลาการ พิจารณาคดีของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
ตีความกฎหมายที่ออกโดยฝ่ายนิติบัญญัติ

15 ทบทวน

16 1.ผู้เป็นเจ้าภาพของอำนาจอธิปไตย คือ ใคร
1. ผู้มีอำนาจสูงสุดของรัฐ 2. ประชาชนทั่วไป 3. ประชาทั่วไปที่มีสิทธิ์ออกเสียงเลือกตั้ง 4. ผู้บรรลุนิติภาวะ

17 1.ผู้เป็นเจ้าภาพของอำนาจอธิปไตย คือ ใคร
1. ผู้มีอำนาจสูงสุดของรัฐ 2. ประชาชนทั่วไป  3. ประชาทั่วไปที่มีสิทธิ์ออกเสียงเลือกตั้ง 4. ผู้บรรลุนิติภาวะ

18 2. ผู้ใดอยู่ฝ่ายนิติบัญญัติ
1. ผู้พิพากษาต่างๆ 2. ส.ส. และ ส.ว. 3. นายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี 4. องค์กรอิสระ

19 2. ผู้ใดอยู่ฝ่ายนิติบัญญัติ
1. ผู้พิพากษาต่างๆ 2. ส.ส. และ ส.ว.  3. นายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี 4. องค์กรอิสระ

20 3. ข้อใด ไม่ใช่ อำนาจของฝ่านิติบัญญัติ
1. แต่งตั้งนายกรัฐมนตรี 2. ขอเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจ 3. ถอดถอนผู้ดำรงแหน่งทางการเมือง 4. เลือกและแต่งตั้งพวกรัฐมนตรี

21 3. ข้อใด ไม่ใช่ อำนาจของฝ่านิติบัญญัติ
1. แต่งตั้งนายกรัฐมนตรี 2. ขอเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจ 3. ถอดถอนผู้ดำรงแหน่งทางการเมือง 4. เลือกและแต่งตั้งคณะรัฐมนตรี 

22 4. ในอำนาจตุลาการจะพิจารณาคดีที่ศาล ได้แก่ ศาลยุติธรรม ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลทหารและศาลใด
1. ศาลเยาวชน 2. ศาลปกครอง 3. ศาลแพ่งและอาญา 4. ศาลทั่วไป

23 4. ในอำนาจตุลาการจะพิจารณาคดีที่ศาล ได้แก่ ศาลยุติธรรม ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลทหารและศาลใด
1. ศาลเยาวชน 2. ศาลปกครอง  3. ศาลแพ่งและอาญา 4. ศาลทั่วไป

24 5.ข้อใด ไม่ใช่ สาระในรัฐธรรมนูญ
1. รูปแบบการปกครอง 2. รูปแบบประมุข 3. การแต่งตั้งนานกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี 4. การแต่งตั้งข้าราชการชั้นผู้ใหญ่

25 5.ข้อใด ไม่ใช่ สาระในรัฐธรรมนูญ
1. รูปแบบการปกครอง 2. รูปแบบประมุข 3. การแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี 4. การแต่งตั้งข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ 

26 6. ถ้าคุณพ่อของนักเรียนถูกนายกรัฐมนตรีโกงที่ดินแล้วไปขายต่อให้กระทรวงพาณิชย์ คุณพ่อจะฟ้องที่ศาลใด
1. ศาลรัฐธรรมนูญ 2. ศาลยุติธรรม 3. ศาลทหาร 4. ศาลปกครอง

27 6. ถ้าคุณพ่อของนักเรียนถูกนายกรัฐมนตรีโกงที่ดินแล้วไปขายต่อให้กระทรวงพาณิชย์ คุณพ่อจะฟ้องที่ศาลใด
1. ศาลรัฐธรรมนูญ 2. ศาลยุติธรรม  3. ศาลทหาร 4. ศาลปกครอง

28 6. การพิจารณาคดีของศาลยุติธรรมจะมี 3 ศาลคือขอใด
1. ศาลแพ่ง ศาลอาญา ศาลฎีกา 2. ศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกา 3. ศาลอุทธรณ์ ศาลแพ่ง ศาลฎีกา 4. ศาลฎีกา ศาลปกครอง ศาลรัฐธรรมนูญ

29 6. การพิจารณาคดีของศาลยุติธรรมจะมี 3 ศาลคือขอใด
1. ศาลแพ่ง ศาลอาญา ศาลฎีกา 2. ศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกา  3. ศาลอุทธรณ์ ศาลแพ่ง ศาลฎีกา 4. ศาลฎีกา ศาลปกครอง ศาลรัฐธรรมนูญ

30 8. ศาลที่ตั้งกฎอยู่ในกรุงเทพมหานครเท่านั้น
1. ศาลชั้นต้น 2. ศาลอุทธรณ์ 3. ศาลฎีกา 4. ถูกข้อ 2 และ 3

31 8. ศาลที่ตั้งกฎอยู่ในกรุงเทพมหานครเท่านั้น
1. ศาลชั้นต้น 2. ศาลอุทธรณ์ 3. ศาลฎีกา 4. ถูกข้อ 2 และ 3 

32 9. พิจารณาคดีที่เป็นข้อพิพาทระหว่างหน่วยราชการ รัฐวิสาหกิจ คือศาลใด
1. ศาลยุติธรรม 2. ศาลปกครอง 3. ศาลทหาร 4. ศาลรัฐธรรมนูญ

33 9. พิจารณาคดีที่เป็นข้อพิพาทระหว่างหน่วยราชการ รัฐวิสาหกิจ คือศาลใด
1. ศาลยุติธรรม 2. ศาลปกครอง  3. ศาลทหาร 4. ศาลรัฐธรรมนูญ

34 10. ในขณะนี้เรากำลังใช้ธรรมนูญฉบับใด
1. ฉบับชั่วคราว พุทธศักราช ฉบับถาวร พุทธศักราช ฉบับชั่วคราว พุทธศักราช ฉบับถาวร พุทธศักราช 2557

35 10. ในขณะนี้เรากำลังใช้ธรรมนูญฉบับใด
1. ฉบับชั่วคราว พุทธศักราช ฉบับถาวร พุทธศักราช ฉบับชั่วคราว พุทธศักราช 2557  4. ฉบับถาวร พุทธศักราช 2557

36 คำถามเพิ่มเติม ? https://www.youtube.com/watch?v=5kczlBV0nKE
4.พระราชกรณียกิจ ของพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช 3.ภายหลังการสวรรคต ได้แต่งตั้งผู้สำเร็จราชการ คือใคร 2.พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชได้เสด็จสวรรคตเมื่อใด 1.นายกรัฐมนตรีปัจจุบัน เป็น คนที่เท่าไหร่ 29 พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ 14 ตค เวลา น 2559


ดาวน์โหลด ppt อำนาจอธิปไตย 1.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google