งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

. ระบบการปกครอง & การเมืองการปกครอง ของประเทศใน S.E.A.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: ". ระบบการปกครอง & การเมืองการปกครอง ของประเทศใน S.E.A."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 . ระบบการปกครอง & การเมืองการปกครอง ของประเทศใน S.E.A.
อาจารย์สอง : Satit UP

2 รูปแบบการปกครอง

3 รูปแบบการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย ระบบเผด็จการ
อำนาจการปกครองอยู่ที่ประชนชนทุกคน อำนาจการปกครองอยู่ที่คนบางกลุ่ม อำนาจการปกครองอยู่ที่คนคนเดียว อำนาจการปกครองอยู่ที่พรรคเดียว สมบูรณาญาสิทธิราชย์ กลุ่มทหาร + ชาตินิยมจัด กลุ่มพลเรือน +ชาตินิยมจัด กลุ่มทหาร คอมมิวนิสต์ (เผด็จการแบบเบ็ดเสร็จ) นาซี (Nazism) ฟาสซิสต์(Fascism) เผด็จการทหาร

4 ผู้นำประเทศ(หัวหน้าฝ่ายบริหารประเทศ) (Head of Government)
ตำแหน่งประมุขประเทศ และ ตำแหน่งผู้นำประเทศฝ่ายบริหาร ต้องมีในทุกประเทศไม่ว่าจะใช้การปกครองในระบอบใดก็ตาม ประมุข (Head of State) ผู้นำประเทศ(หัวหน้าฝ่ายบริหารประเทศ) (Head of Government) กษัตริย์ ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี กษัตริย์ ประเทศใดมีกษัตริย์ก็จะใช้กษัตริย์เป็นประมุข หากประเทศใดไม่มีกษัตริย์ก็จะใช้ตำแหน่งประธานาธิบดีเป็นประมุข (ประเทศที่มีตำแหน่งประมุขเป็นประธานาธิบดีเรียกระบบสาธารณรัฐ) เป็นตำแหน่งบริหารประเทศ เป็นหัวหน้ารัฐบาล เป็นผู้นำประเทศ เป็นตำแหน่งที่ต้องไปเป็นผู้นำในการบริหารประเทศและตัวแทนประเทศในการไปประชุมในเวทีด้านเศรษฐกิจต่าง ๆ (จากเป็นตำแหน่งประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี หรือ กษัตริย์ ใดนั้นขึ้นอยู่กับระบอบและระบบการปกครองที่ใช้)

5 ระบอบประชาธิปไตย(Democracy)
ระบบรัฐสภา (Parliamentary system) ระบบประธานาธิบดี (Presidential system) ระบบกึ่งรัฐสภากึ่งประธานาธิบดี (Semi-presidential system) ฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหารไม่ได้แยกออกจากกันโดยเด็ดขาด ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร ฝ่ายตุลาการ ใช้อำนาจแยกออกจากกัน นำข้อดีของทั้งระบบประธานาธิบดี และ ระบบรัฐสภามีใช้ บางอย่างเหมือนกับระบบประธานาธิบดี แต่บางอย่างเหมือนระบบรัฐสภา ประมุขประเทศ(เป็นกษัตริย์ หรือ ประธานาธิบดีก็ได้) แต่ไม่มีอำนาจในการบริหาร ประธานาธิบดีเป็นทั้งประมุขประเทศและเป็นหัวหน้าฝ่ายบริหาร (ระบบนี้ไม่มีตำแหน่งนายกรัฐมนตรี) ประธานาธิบดี(ประมุข) ใช้อำนาจบริหารร่วมกับ นายกรัฐมนตรี

6 ระบอบประชาธิปไตย (Democracy)
ระบบรัฐสภา (Parliamentary system) ระบบประธานาธิบดี (Presidential system) ระบบกึ่งรัฐสภากึ่งประธานาธิบดี (Semi-presidential system) ประเทศแม่แบบ ประเทศแรกของโลก ประเทศแม่แบบ ประเทศแรกของโลก ประเทศแม่แบบ ประเทศแรกของโลก อังกฤษ สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส

7 ระบอบประชาธิปไตย (Democracy)
ระบบรัฐสภา (Parliamentary system) ระบบประธานาธิบดี (presidential system) ระบบกึ่งรัฐสภากึ่งประธานาธิบดี (Semi-presidential system) อังกฤษ ญี่ปุ่น เยอรมันนี อิตาลี ออสเตรเลีย แคนาดา อินเดีย สหรัฐอเมริกา เม็กซิโก อาร์เจนติน่า บราซิล อินโดนีเซีย ฝรั่งเศส รัสเซีย ยูเครน ไต้หวัน

8 ระบอบประชาธิปไตย (Democracy)
ระบบรัฐสภา (Parliamentary system) ระบบประธานาธิบดี (presidential system) ระบบกึ่งรัฐสภากึ่งประธานาธิบดี (Semi-presidential system) ประมุข ผู้นำประเทศ ประมุข ผู้นำประเทศ ประมุข ผู้นำประเทศ กษัตริย์ ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี

9 ระบอบประชาธิปไตย (Democracy)
ระบบ ประมุข ผู้นำประเทศ กษัตริย์ หรือ ระบบรัฐสภา (Parliamentary system) นายกรัฐมนตรี ประธานาธิบดี ระบบประธานาธิบดี (Presidential system) ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี ระบบกึ่งรัฐสภากึ่งประธานาธิบดี (Semi-presidential system) ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี

10 รูปแบบรัฐ รัฐเดียว รัฐรวม รัฐบาลกลาง รัฐบาลกลางรัฐบาลเดียวมีอำนาจ ดูแลทั้งประเทศ รัฐบาลกลาง + รัฐบาลท้องถิ่น ( มีรัฐบาล 2 ระดับ )

11 ของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
รูปแบบการปกครอง ของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

12 2) คอมมิวนิสต์(สังคมนิยม)
รูปแบบการปกครองของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แบ่งตามระบอบการปกครอง 4 แบบ ไทย กัมพูชา มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ติมอร์-เลสเต 1) ประชาธิปไตย 2) คอมมิวนิสต์(สังคมนิยม) เวียดนาม ลาว 3) สมบูรณาญาสิทธิราชย์ บรูไน 4) เผด็จการทหาร (ปัจจุบันก้าวสู่ประชาธิปไตยแล้ว) พม่า แต่ในทางปฏิบัติยังคงมีความเป็นเผด็จการทหารอยู่ดังจะเห็นจากการที่รัฐธรรมนูญพม่าปัจจุบันกันที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไว้ให้กับทหาร ถึง 25 %

13 รูปแบบการปกครองของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ประชาธิปไตย (Democracy) คอมมิวนิสต์ (Communist) สมบูรณาญาสิทธิราชย์ (Absolute Monarchy) ระบบ รัฐสภา ระบบประธานาธิบดี ระบอบประชาธิปไตย ระบบกึ่งรัฐสภากึ่งประธานาธิบดี ไทย กัมพูชา มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ พม่า ติมอร์-เลสเต เวียดนาม ลาว บรูไน

14 ผู้นำประเทศ(หัวหน้าฝ่ายบริหารประเทศ) (Head of Government)
ประมุข (Head of State) ผู้นำประเทศ(หัวหน้าฝ่ายบริหารประเทศ) (Head of Government) กษัตริย์ ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี กษัตริย์ ไทย กัมพูชา มาเลเซีย บรูไน ลาว พม่า เวียดนาม สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ติมอร์-เลสเต อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ พม่า ติมอร์-เลสเต ไทย กัมพูชา มาเลเซีย ลาว เวียดนาม สิงคโปร์ บรูไน

15 ประมุขประเทศ (Head of State)
มี กษัตริย์ มี ประธานาธิบดี (ระบอบสาธารณรัฐ) ประชาธิปไตย (King ภายใต้รัฐธรรมนูญ) (ระบอบประชาธิปไตย = อำนาจสูงสุดอยู่ที่ประชาชน) ไทย กัมพูชา มาเลเซีย ระบอบประชาธิปไตย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ติมอร์-เลสเต พม่า ระบอบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ เวียดนาม ลาว สมบูรณาญาสิทธิราชย์ (อำนาจสูงสุดอยู่ที่ King ) บรูไน

16 นายกรัฐมนตรี (Prime Minister) ประธานาธิบดี (President) กษัตริย์ (King)
ผู้นำประเทศ (ผู้นำฝ่ายบริหาร หรือ หัวหน้าฝ่ายบริหาร) (Head of Government) นายกรัฐมนตรี (Prime Minister) ประธานาธิบดี (President) กษัตริย์ (King) ระบอบประชาธิปไตย ระบบประธานาธิบดี ระบอบประชาธิปไตย ระบบกึ่งรัฐสภากึ่งประธานาธิบดี ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ อินโดนีเซียฟิลิปปินส์ พม่า ติมอร์-เลสเต บรูไน ระบอบประชาธิปไตย ระบบรัฐสภา ระบอบคอมมิวนิสต์ ไทย กัมพูชา มาเลเซีย สิงคโปร์ ลาว เวียดนาม

17 ไทย ระบอบประชาธิปไตย (Democracy) ระบบรัฐสภา (Parliamentary system)
ระบบประธานาธิบดี (presidential system) ระบบกึ่งรัฐสภากึ่งประธานาธิบดี (Semi-presidential system) ประมุข ผู้นำประเทศ ประมุข ผู้นำประเทศ ประมุข ผู้นำประเทศ กษัตริย์ ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี ไทย

18 กัมพูชา ระบอบประชาธิปไตย (Democracy) ระบบรัฐสภา (Parliamentary system)
ระบบประธานาธิบดี (presidential system) ระบบกึ่งรัฐสภากึ่งประธานาธิบดี (Semi-presidential system) ประมุข ผู้นำประเทศ ประมุข ผู้นำประเทศ ประมุข ผู้นำประเทศ กษัตริย์ ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี กัมพูชา

19 มาเลเซีย ระบอบประชาธิปไตย (Democracy)
ระบบรัฐสภา (Parliamentary system) ระบบประธานาธิบดี (presidential system) ระบบกึ่งรัฐสภากึ่งประธานาธิบดี (Semi-presidential system) ประมุข ผู้นำประเทศ ประมุข ผู้นำประเทศ ประมุข ผู้นำประเทศ กษัตริย์ ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี มาเลเซีย

20 สิงคโปร์ ระบอบประชาธิปไตย (Democracy)
ระบบรัฐสภา (Parliamentary system) ระบบประธานาธิบดี (presidential system) ระบบกึ่งรัฐสภากึ่งประธานาธิบดี (Semi-presidential system) ประมุข ผู้นำประเทศ ประมุข ผู้นำประเทศ ประมุข ผู้นำประเทศ กษัตริย์ ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี สิงคโปร์

21 อินโดนีเซีย ระบอบประชาธิปไตย (Democracy)
ระบบรัฐสภา (Parliamentary system) ระบบประธานาธิบดี (presidential system) ระบบกึ่งรัฐสภากึ่งประธานาธิบดี (Semi-presidential system) ประมุข ผู้นำประเทศ ประมุข ผู้นำประเทศ ประมุข ผู้นำประเทศ กษัตริย์ ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี อินโดนีเซีย

22 ฟิลิปปินส์ ระบอบประชาธิปไตย (Democracy)
ระบบรัฐสภา (Parliamentary system) ระบบประธานาธิบดี (presidential system) ระบบกึ่งรัฐสภากึ่งประธานาธิบดี (Semi-presidential system) ประมุข ผู้นำประเทศ ประมุข ผู้นำประเทศ ประมุข ผู้นำประเทศ กษัตริย์ ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี ฟิลิปปินส์

23 พม่า ระบอบประชาธิปไตย (Democracy) ระบบรัฐสภา (Parliamentary system)
ระบบประธานาธิบดี (presidential system) ระบบกึ่งรัฐสภากึ่งประธานาธิบดี (Semi-presidential system) ประมุข ผู้นำประเทศ ประมุข ผู้นำประเทศ ประมุข ผู้นำประเทศ กษัตริย์ ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี พม่า

24 ติมอร์ เลสเต ระบอบประชาธิปไตย (Democracy)
ระบบรัฐสภา (Parliamentary system) ระบบประธานาธิบดี (presidential system) ระบบกึ่งรัฐสภากึ่งประธานาธิบดี (Semi-presidential system) ประมุข ผู้นำประเทศ ประมุข ผู้นำประเทศ ประมุข ผู้นำประเทศ กษัตริย์ ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี ติมอร์ เลสเต

25 รัฐบาลกลาง รัฐบาลกลางรัฐบาลเดียวมีอำนาจ ดูแลทั้งประเทศ
รูปแบบรัฐ รัฐเดียว รัฐรวม รัฐบาลกลาง รัฐบาลกลางรัฐบาลเดียวมีอำนาจ ดูแลทั้งประเทศ รัฐบาลกลาง + รัฐบาลท้องถิ่น ( มีรัฐบาล 2 ระดับ ) มาเลเซีย 1) รัฐบาลกลางที่ ปุตราจายา** 2) รัฐบาลแต่ละรัฐ 13 รัฐ (รัฐบาลท้องถิ่น) **(เมืองศูนย์กลางราชการแห่งใหม่ของมาเลเซีย) สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์เวียดนาม ลาว ไทย กัมพูชา บรูไน ติมอร์-เลสเต พม่า กรณีของพม่ายังไม่ชัดเจน และมีแนวโน้มที่จะเป็นแบบสหพันธรัฐ หรือ รัฐรวม ปัจจุบันพม่ามีลักษณะแบบกึ่งๆสหพันธรัฐ

26 มาเลเซียตะวันตก 11 รัฐ มาเลเซียตะวันออก 2 รัฐ
มาเลเซียแบ่งการปกครองออกเป็น 13 รัฐ โดยแบ่งเป็น มาเลเซียตะวันตก 11 รัฐ และ มาเลเซียตะวันออก 2 รัฐ(ซาบาห์และซาราวัก) โดยมีรัฐที่มีสุลต่านอยู่ 9 รัฐ (โดยสุลต่านทั้ง 9 รัฐจะเวียนกันมาเป็นประมุขของประเทศ ดำรงตำแหน่งวาระละ 5 ปี ซึ่งเรียกการดำรงตำแหน่งประมุขของมาเลเซียแบบนี้ว่า “ยังดี เปอร์ตวน อากง” (Yang di-Pertuan Agong) ซึ่งเป็นภาษามลายู หมายถึง ผู้ปกครองสูงสุด ประมุขของมาเลเซียเรียก “พระราชาธิบดี” ซึ่งเป็นตำแหน่งอย่างเป็นทางการของประมุขของสหพันธรัฐมาเลเซีย เปรียบเทียบได้กับกษัตริย์ มาเลเซียตะวันตก 11 รัฐ มาเลเซียตะวันออก 2 รัฐ


ดาวน์โหลด ppt . ระบบการปกครอง & การเมืองการปกครอง ของประเทศใน S.E.A.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google