งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระบบบริหารราชการแผ่นดิน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระบบบริหารราชการแผ่นดิน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระบบบริหารราชการแผ่นดิน
เป็นกฎหมายการปกครองที่วางระเบียบการบริหาร ภายในประเทศ โดยการแบ่งอำนาจการบริหาร จาก สูง  ต่ำสุด ที่เรียกว่า จัดระเบียบราชการบริหาร 2 ประเภท - รวมอำนาจ (Centralization) - กระจายอำนาจ (Decentralization)

2 Centralization Decentralization
การจัดระเบียบการปกครอง รวมอำนาจได้ที่ส่วนกลาง พนักงาน เจ้าหน้าที่ส่วนกลาง และต่างจังหวัดได้รับการแต่งตั้ง ถอดถอนจากส่วนกลาง ให้เป็นไปตามกำหนดนโยบาย ส่วนกลาง Decentralization การยกฐานะท้องถิ่น เป็นนิติบุคคล ดำเนินการปกครองอย่าง อิสระ โดยส่วนกลาง ไม่เข้ามาบังคับบัญชา เช่น การปกครอง ของเทศบาล หรือ อ.บ.จ.

3 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 ฉบับที่ 18
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 18 สภาร่าง (ส.ส.ร.) = คน (ประธานสภาร่าง มีชัย ฤชุพันธ์ ) [24 ส.ค. 50] วิธีการ 1. สรรหาจากสมาชิกสมัชชาแห่งชาติ พ.ศ = 1,982 คน คัดเลือกกันเอง เหลือ = คน 2. คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.)[27 ธ.ค.] = คน 3. พระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ฉบับชั่วคราว [1 ม.ค. 50]

4 (นายนรนิติ เศรษฐบุตร)
100 ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคสังคม ภาควิชาการ 28 27 23 22 หรือ ประธานสภายกร่าง (นายนรนิติ เศรษฐบุตร) สมาชิกสภายกร่าง = 25 คน คมช. คัดผู้ทรงคุณวุฒิ + 10 คน รวม 35 คน จาก 26 ล้านคน 45 ล้านคน เห็นชอบ 57.81 NO 42.19

5 เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ
เจตนารมณ์ของหมวกนิรภัย ป้องกันศีรษะ คุ้มครอง ส่งเสริม ขยายสิทธิ์ / เสรีภาพ ของประชาชน ลดการผูกขาดอำนาจรัฐ / และเพิ่มอำนาจประชาชน การเมืองมีความโปร่งใส มีคุณธรรม และจริยธรรม ทำให้องค์กรตรวจสอบมีอิสระ เข้มแข็ง และทำงานอย่างมี ประสิทธิภาพ รัฐธรรมนูญ ปี = มาตรา 15 หมวด บทเฉพาะกาล

6 สมาชิก สภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.)
สมาชิก สภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) 480 แบบแบ่งเขต 400 แบบสัดส่วน 80 ทั่วประเทศ เขต เขตๆ ละ 10 คน เขตละ 1-3 คน แต่ละเขตพรรคส่งบัญชีรายชื่อพรรค ละ 10 คน เรียงลำดับ 88,500 หน่วยเลือกตั้ง อนาคต (2554)  375 (เขต) (บัญชีรายชื่อ)รวม 500 คน

7 หน้าที่ ส.ส. ออก – แก้ไข – เพิ่มเติม กฎหมาย
หน้าที่ ส.ส. ออก – แก้ไข – เพิ่มเติม กฎหมาย เลือก ส.ส. ดำรงตำแหน่ง นายกรัฐมนตรี ควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน จัดสรรงบประมาณ นำปัญหาเสนอรัฐบาล

8 ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง ส.ส.
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง ส.ส. สัญชาติไทย / ถ้าแปลงสัญชาติไม่น้อยกว่า 5 ปี อายุไม่ต่ำกว่า 18 ปีบริบูรณ์ ของ 1 มกราคมของปีเลือกตั้ง คนที่ควรเลือกเป็น ส.ส. ประวัติ / ผลงาน ที่ยอมรับ คุณธรรม / เสียสละ เข้าถึง P สม่ำเสมอ เข้าใจปัญหา นำมาแก้ไข โดยเสนอเป็น นโยบาย รู้จักรักษาผลประโยชน์ส่วนรวม ไม่มีพฤติกรรมฝ่าฝืนกฎหมาย

9 วุฒิสมาชิก หรือวุฒิสภา (The Senate of Thailand)
รัฐธรรมนูญ ปี - สภากลั่นกรอง (กม. ควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน - สภาตรวจสอบ (แต่งตั้งบุคคล ถอดถอนบุคคล)

10 สนง.วุฒิสภา (สังกัดรัฐสภา) - เทียบเท่ากรม
นิติธรรม (งานค้นคว้า วิเคราะห์ วิจัย ศึกษาของ ต่างประเทศ เปรียบเทียบนานาประเทศ) รองเลขา 6 คน (กฎหมาย การเมือง การจัดการ ต่างประเทศ ระบบนิติปัญญัติ) ผช. เลขา กลุ่มงานเผยแพร่ ช่วยงาน

11 ครั้งแรก สว.(สรรหา) มีวาระ 3 ปี แล้วสรรหาใหม่ 73 คน (77 จังหวัด)
ร.ธ.น. ปี – ประกาศใช้ 24 ส.ค. 50 – P ลงประชามติ (มีนายมีชัย ฤชุพันธ์ ประธานรัฐสภา) เลือก จังหวัดละ 1 คน รวม คน ทุกสาขาอาชีพ รวม คน สว คน สรรหา ครั้งแรก สว.(สรรหา) มีวาระ 3 ปี แล้วสรรหาใหม่ 73 คน (77 จังหวัด) (18 ก.พ. 54) -- มาจาก ภาครัฐ, ภาคเอกชน ,วิชาชีพ , นักวิชาการ ,ทั่วไป -- สำเร็จ กศ. ป.ตรี อายุ 40 ปีขึ้นไป

12 ภูมิหลัง สว. 2475 - เปรียบการปกครองจากสมบูรณาญาสิทธิราช
ภูมิหลัง สว. เปรียบการปกครองจากสมบูรณาญาสิทธิราช เริ่มมี ส.ส. + พฤติสภา (สว.) สว. เป็นสภาพี่เลี้ยง ไปก่อน

13 วิธีปฏิบัติ ของ ส.ส. และ ส.ว. ออก – แก้ – ยกเลิก กฎหมาย
วิธีปฏิบัติ ของ ส.ส. และ ส.ว. ออก – แก้ – ยกเลิก กฎหมาย

14 K วุฒิสภา (สว.) สภาพี่เลี้ยง ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร ฝ่ายตุลาการ
= ภปร. (ราชกิจจานุเบกษา) = จังหวัด (วาระ 6 ปี ต่อเนื่องไม่ได้) = สรรหา (วาระ 6 ปี ต่อเนื่องไม่ได้) K วุฒิสภา (สว.) สภาพี่เลี้ยง

15 สภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) รับรอง วาระ เสนอร่างกฎหมาย ปัจจุบัน (400 + 80)
เขต + สัดส่วน ปี 2554 500 ( ) เขต + บัญชีรายชื่อ เสนอร่างกฎหมาย รับรอง วาระ 1 ของ ส.ส. ทั้งหมด 5 1. รับร่าง 2. อภิปรายแปรญัติ 3. โหวตลงคะแนน

16 องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ

17 เป้าหมาย การเมืองบริสุทธิ์ , โปร่งใส การเมืองสะอาด มีคุณภาพ

18 องค์กรที่ทำหน้าที่ตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ
มี 2 ประเภท ศาล (ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง และศาลฎีกา แผนกคดีอาญา ของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ศาลทหาร) ไม่ใช่ศาล (กกต. , ป.ป.ช. , คตง. , คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน แห่งชาติ

19 องค์กรอิสระ คือ อะไร? ทำไมต้องมีองค์กร อิสระ?

20 องค์กรอิสระ คือ องค์กรของรัฐที่ได้รับมอบหมายให้ดำเนินการเกี่ยวกับภารกิจของ รัฐ ที่มีสถานะพิเศษ ได้รับหลักประกันให้สามารถปฏิบัติภารกิจ หน้าที่ได้อิสระ ปลอดพ้นจากการแทรกแซงขององค์กรของรัฐ หรือสถาบันการเมือง

21 มี องค์กรอิสระ เพื่อ เป็นสถาบันทางการบริหาร สร้างดุลยภาพระหว่างการบริหารที่ มีประสิทธิภาพ กับการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน

22 ระบบศาลในประเทศไทย ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลทหาร

23 ศาลรัฐธรรมนูญ The Constitutional Court of the Kingdom of Thailand.

24 จำนวน 9 คน ผู้พิพากษาในศาลฎีกา 3 คน ตุลากรในศาลปกครองสูงสุด 2 คน
จำนวน 9 คน ผู้พิพากษาในศาลฎีกา 3 คน ตุลากรในศาลปกครองสูงสุด 2 คน ผู้ทรงคุณวุฒิความเชี่ยวชาญด้านนิติศาสตร์ 2 คน ผู้ทรงคุณวุฒิ ความเชี่ยวชาญด้านรัฐศาสตร์ ด้านรัฐประศาสนศาสตร์ คน ด้านสังคมศาสตร์

25 อำนาจหน้าที่ พิจารณาวินิจฉัยคดี รัฐธรรมนูญ
พิจารณาวินิจฉัยคดี รัฐธรรมนูญ ร่างกฎหมาย ข้อบังคับการประชุมของฝ่ายนิติบัญญัติ กฎหมาย ที่ประกาศใช้แล้วว่าขัดต่อรัฐธรรมนูญ พระราชกำหนด ไม่ขัดแย้งต่อรัฐธรรมนูญ ความขัดแย้ง อำนาจหน้าที่ รัฐสภา คณะรัฐมนตรี องค์กร 2 องค์กรขึ้นไป การกระทำของ ส.ส. ,ส.ว., กรรมาธิการ , ด้านงบประมาณ ข้อบังคับของพรรคการเมือง สนธิสัญญาที่ได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา คุณสมบัติ ของ สมาชิกรัฐสภา รัฐมนตรี กกต. อำนาจหน้าที่ ของพรรคการเมือง

26 ศาลปกครอง (Thai Polities Government)
ศาลปกครองชั้นต้น - ศาลปกครองกลางครอบคลุม 8 จังหวัด - ศาลปกครองในภูมิภาค แห่ง ศาลปกครองสูงสุด มีตุลาการอย่างน้อย คน

27 องค์กรของรัฐ กับ ประชาชน .
ศาลปกครอง หมายถึง ศาลที่มีอำนาจพิจารณคดีปกครอง โดยเฉพาะ ที่แตกต่างไปจาก ศาลยุติธรรม ทำหน้าที่พิจารณาคดีความระหว่าง องค์กรของรัฐ กับ องค์กรของรัฐ องค์กรของรัฐ กับ ประชาชน .

28 (Court of Justies Thailand)
ศาลยุติธรรม (Court of Justies Thailand) ศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกา ศาลแพ่ง ศาลอาญา ศาลจังหวัด ศาลแขวง ศาลเยาวชนและครอบครัว ศาลแรงงาน ศาลภาษีอากร ศาลทรัพย์สินทางปัญญา และการค้าระหว่างประเทศ ศาลล้มละลาย ศาลอุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์ภาค

29 ศาลทหาร ร.1 – ร.5 มีศาลกลาโหม
ร.1 – ร.5 มีศาลกลาโหม ร.5 ปรับปรุงศาลทั้งหมด สังกัด กระทรวงยุติธรรม เว้น ศาลทหาร ให้สังกัด กระทรวงกลาโหม ศาลทหาร ศาลทหารในเวลาปกติ ศาลทหารในเวลาไม่ปกติ ศาลอาญาศึก(เชลยศึก หรือ ชนชาติศัตรู ในช่วงเวลาศึก สงคราม

30 ปฏิบัติ / อำนาจศาลทหาร
ศาลจังหวัดทหาร รับฟ้องคดีที่จำเลยมีชั้นยศเป็น นายทหารประทวน ศาลมณฑลทหาร รับฟ้องคดีชั้นยศประทวน ถึง ชั้น สัญญาบัตร

31 คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (Thai Polities Government State Audit Commission)
เริ่ม ร.5 ปฏิญญาสากล - ตรวจสอบ ควบคุมด้านการเงิน (Financial Audit) - ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ (Compliance Audit) - ตรวจสอบการดำเนินงาน (Performance Audit)

32 “ วาระ ละ 6 ปี ดำรงตำแหน่งได้วาระเดียว ”
ประกอบด้วย 7 คน พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา - ชำนาญ + ประสบการณ์ ด้านการตรวจเงินแผ่นดิน การบัญชี การตรวจสอบภายใน การเงินการคลัง “ วาระ ละ 6 ปี ดำรงตำแหน่งได้วาระเดียว ”

33 (The National Anti – Corruption) คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.)
15 คน ประธานศาลฎีกา คน ประธานศาลรัฐธรรมนูญ คน ประธานศาลปกครองสูงสุด คน อธิการบดี ม. เลือกกันเอง คน พรรคการเมืองที่เป็น ส.ส. พรรคละ คน เลือกกันเอง 5 คน

34 คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) (The Election Commission)
มีจำนวน คน โดยการเลือกสรรของวุฒิสภา มีวาระ ปี (ดำรงตำแหน่งได้เพียงครั้งเดียว) นายอภิชาต สุขัคคานนท์ ประธาน (กิจการบริหารกลาง) นายประพันธ์ นัยโกวิท (กิจการบริหารการเลือกตั้ง) นางสดศรี สัตยธรรม (กิจการพรรคการเมืองและออก เสียงประชามติ) นายสมชัย จึงประเสริฐ (กิจการสืบสวนสอบสวน / วินิจฉัย) นายวิสุทธิ์ โพธิแท่น (กิจการการมีส่วนร่วม) และ นายสุทธิพล ทวีชัยการ ( เลขาธิการ กกต.)

35 อำนาจหน้าที่ กกต. ด้านบริหาร ควบคุม ดำเนินการจัดให้มีการเลือกตั้ง ระดับชาติ ท้องถิ่น และออกเสียงประชามติ ด้านตุลาการ สืบสวน สอบสวน วินิจฉัยชี้ขาด เพิก ถอนสิทธิเลือกตั้ง ด้านนิติบัญญัติ การออกกฎระเบียบ คำสั่งข้อบังคับต่อ การปฏิบัติงาน

36 พรรคการเมือง พรบ. ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยพรรคการเมือง 2550
พรบ. ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยพรรคการเมือง 2550 ผู้จัดตั้งร่วมประชุมไม่น้อยกว่า 15 คน กำหนด นโยบาย ข้อบังคับพรรค เลือกคณะกรรมการบริหาร พรรค ยื่นบัญชีทรัพย์สินพรรค , ที่อยู่ สำนักงานพรรค กรณี ถ้าขัด/ไม่เห็นด้วยกับคำสั่งต้องยื่น ต่อศาลรัฐธรรมนูญ ชี้ขาดภายใน 30 วัน

37 การออกเสียงประชามติ กระบวนการในการแสดงความเห็นชอบของประชาชน ด้วยการลงคะแนนเสียงเพื่อตัดสินใจว่า จะให้ความ เห็นชอบ หรือไม่เห็นชอบ ในเรื่องสำคัญมีผลกระทบต่อ ประโยชน์ได้เสียของชาติ

38 พรรคร่วมรัฐบาล 2554 พรรคประชาธิปัตย์ แกนนำรัฐบาลนายกรัฐมนตรี คนที่ 27
พรรคร่วมรัฐบาล 2554 พรรคประชาธิปัตย์ แกนนำรัฐบาลนายกรัฐมนตรี คนที่ 27 พรรคภูมิใจไทย คณะรัฐมนตรี คณะที่ 59 พรรครวมใจไทยชาติพัฒนา พรรคกิจสังคม พรรคเพื่อแผ่นดิน พรรคชาติไทยพัฒนา ปัจจุบัน มี 46 พรรคการเมือง ตามบัญชี กกต. รับรองพรรค

39 การเมืองภาคพลเมือง คือ การเคลื่อนไหวของ P เพื่อกำหนดนโยบายสาธารณะ โดยตรง โดยไม่ผ่านทางตัวแทนพรรคการเมือง หรือหน่วยราชการ มีแนวปฏิบัติ - การริเริ่มกฎหมาย - การลงประชามติ - การถอดถอน สังเกตดู ลักษณะพฤติกรรม การกระทำ

40 การกระจายอำนาจการปกครอง
การปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อ.บ.จ.) ตำแหน่งคราวละ 4 ปี เกณฑ์ประชากร ไม่เกิน - 500,000 คน สจ. 24 คน 500,000 1,000,000 คน 30 คน 1,000,000 1,500,000 คน 36 คน 1,500,000 2,000,000 คน 42 คน 2,000,000 > ขึ้นไป 48 คน

41 หน้าที่ จัดทำแผนพัฒนา อ.บ.จ. / ประสานจัดทำแผนจังหวัด
จัดทำแผนพัฒนา อ.บ.จ. / ประสานจัดทำแผนจังหวัด สนับสนุนสภาตำบล และราชการพัฒนาท้องถิ่น และแบ่ง สรรเงิน คุ้มครองดูแล รักษา ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม

42 การปกครองส่วนท้องถิ่น
เทศบาล เทศบาลนคร - ประชากร 50,000 คนขึ้นไปมี สท. 24 คน จำนวน แห่ง เทศบาลเมือง - ประชากร 10,000 คนขึ้นไปมี สท. 18 คน จำนวน 141 แห่ง เทศบาลตำบล - ประชากร 5,000 คนขึ้นไปมี สท. 12 คน

43 การปกครองส่วนท้องถิ่น
องค์การบริหารส่วนตำบล (อ.บ.ต.) ทั่วประเทศ 6,746 แห่ง สภา อ.บ.ต. หมู่บ้านละ 2 คน 1. หมู่บ้าน 6 คน 2. หมู่บ้าน ๆ ละ 3 คน สรุป สภา อ.บ.ต. อย่างน้อย 6 คน นอกนั้น หมู่ละ 2 คน รวม ? ทั้ง อ.บ.ต.

44 หน้าที่ อ.บ.ต. (ฝ่ายสำนักงานปลัด, ส่วนการคลัง, ส่วนสาธารณสุข, ส่วนการศึกษา,ส่วนการโยธา) สนับสนุน ส่งเสริม ป้องกัน คุ้มครอง ดูแล บำรุงรักษา โดยเฉพาะสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน (น้ำ, ไฟ, คมนาคม, สื่อสาร)

45 โครงสร้างประเภท มี 5 ระดับ
โครงสร้างประเภท มี 5 ระดับ ชั้นที่ 1 (ใหญ่) ชั้นที่ 2 (กลาง) ชั้นที่ 3 (เล็ก) ชั้นที่ 4-5 (จัดตั้งใหม่)

46 การบริหารราชการแผ่นดิน
แบ่งเป็น 3 ส่วน ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น กระทรวง = 20 จังหวัด 77 อ.บ.จ. (ร.ม.ต. 35+1) (รวม กทม.) นายกรัฐมนตรี ผู้ว่าราชการจังหวัด เทศบาล รัฐมนตรี+ผช.รัฐมนตรี 35 อำเภอ 878 กรม = (นายอำเภอ) มีกระทรวงใดบ้าง ? อ.บ.ต. 6,500 ตำบล 7,255(กำนัน) รัฐวิสาหกิจ 11 แห่ง (ไม่รวม กทม. 50 เขต) ท้องถิ่นพิเศษ (กทม.+พัทยา) หมู่บ้าน 72,944 (ผู้ใหญ่บ้าน) นคร 23 (ชม,หาดใหญ่,นนทบุรี เมือง 129 ตำบล 1124

47 (กึ่งราชการ) - รัฐบาลถือหุ้นเกิน 50 %
รัฐวิสาหกิจ (กึ่งราชการ) - รัฐบาลถือหุ้นเกิน 50 % การไฟฟ้าฝ่ายผลิต การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าภูมิภาค การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย อ.ส.ม.ท. องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย ส. สลากกินแบ่งรัฐบาล การท่าเรือแห่งประเทศไทย การรถไฟแห่งประเทศไทย การสื่อสารแห่งประเทศไทย องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย

48 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
(ศ.ส.ช.) ฉบับที่ 1 ( ) ฉบับที่ 9 ( ) สังคมเข้มแข็ง,เศรษฐกิจสมดุลยั่งยืน (เศรษฐกิจพอเพียง) ฉบับที่ 10 ( ) เสริมสร้างธรรมาภิบาล,ขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติติดตามประเมินผล ฉบับที่ 11 ( ) สังคมแห่งความสุขอย่างมีภูมิคุ้มกัน,การมีส่วนร่วม

49 The END


ดาวน์โหลด ppt ระบบบริหารราชการแผ่นดิน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google