งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วิชากฎหมายปกครอง บรรยายโดย ดร.ภัทรวิทย์ อยู่วัฒนะ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วิชากฎหมายปกครอง บรรยายโดย ดร.ภัทรวิทย์ อยู่วัฒนะ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วิชากฎหมายปกครอง บรรยายโดย ดร.ภัทรวิทย์ อยู่วัฒนะ 089662-6564
ดร.ภัทรวิทย์ อยู่วัฒนะ

2 ขอบเขตการบรรยาย ความหมายและที่มาของกฎหมายปกครอง แนวคิดทฤษฎีว่าด้วยการกระทำของฝ่ายปกครอง หลักการจัดระเบียบ ทางปกครอง กิจการทางการปกครอง บริการสาธารณะ การกระทำทางปกครอง การควบคุมฝ่ายปกครอง นิติกรรม ทางปกครอง สัญญาทางปกครอง หลักการใช้อำนาจดุลพินิจและอำนาจผูกพันของฝ่ายปกครอง หลักความชอบด้วย กฎหมาย องค์กรทางปกครอง

3 ขอบเขตการบรรยาย ความหมายและบ่อเกิดของกฎหมายปกครอง
ความเป็นมาของกฎหมายปกครอง ความหมายของกฎหมายปกครอง ลักษณะสำคัญของกฎหมายปกครอง บ่อเกิดของกฎหมายปกครอง

4 ขอบเขตการบรรยาย แนวคิดทฤษฎีว่าด้วยการกระทำของฝ่ายปกครอง
แนวคิดเกี่ยวกับการกระทำของรัฐ - การกระทำทางนิติบัญญัติ - การกระทำทางปกครอง - การกระทำทางตุลาการ

5 ขอบเขตการบรรยาย แนวคิดทฤษฎีว่าด้วยการกระทำของฝ่ายปกครอง
หลักการพื้นฐานของกฎหมายปกครอง - หลักการแบ่งแยกการใช้อำนาจอธิปไตย

6 ขอบเขตการบรรยาย แนวคิดทฤษฎีว่าด้วยการกระทำของฝ่ายปกครอง - หลักนิติรัฐ
- ประโยชน์สาธารณะ

7 ขอบเขตการบรรยาย องค์กรทางปกครองและหลักการจัดระเบียบทางปกครอง (โครงสร้างของฝ่ายปกครอง) - องค์กรทางปกครองและองค์กรของรัฐ หลักการจัดระเบียบทางปกครอง ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน

8 ขอบเขตการบรรยาย การกระทำทางปกครอง (การดำเนินงานของฝ่ายปกครอง)
- ความหมายของการกระทาทางปกครอง - กิจกรรมของฝ่ายปกครอง - เครื่องมือในการจัดกิจกรรมของฝ่ายปกครอง

9 ขอบเขตการบรรยาย การกระทำทางปกครอง (การดำเนินงานของฝ่ายปกครอง)
- สัญญาทางปกครอง - ปฏิบัติการทางปกครอง

10 ขอบเขตการบรรยาย การควบคุมการใช้อำนาจ (ขององค์กรของรัฐฝ่ายบริหาร)
อำนาจผูกพันและอำนาจดุลพินิจ ความรับผิดในทางละเมิดของเจ้าหน้าที่รัฐ ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ

11 ศาลปกครอง ขอบเขตอำนาจของศาลปกครอง คดีที่อยู่ในการพิจารณาของศาลปกครอง
ขอบเขตการบรรยาย ศาลปกครอง ขอบเขตอำนาจของศาลปกครอง คดีที่อยู่ในการพิจารณาของศาลปกครอง

12 ขอบเขตการบรรยาย กฎหมายปกครอง คืออะไร และมีความสำคัญต่อรัฐอย่างไร ภายรูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตย ระบบนิติรัฐ

13 ความเบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายปกครอง
ภาค 1 ภาค 1 บททั่วไป ความเบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายปกครอง

14 ภาค 1 ประเภทของกฎหมาย

15 ภาค 1 ความเบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายปกครอง
การแบ่งแยกกฎหมายมีหลายลักษณะ ในที่นี้จะยกตัวอย่างการแบ่งแยก 2 ลักษณะ คือ การแบ่งแยกตามเนื้อหาของกฎหมาย การแบ่งแยกตามนิติสัมพันธ์ทางกฎหมาย การแบ่งแยกกฎหมาย

16 ภาค 1 ความเบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายปกครอง
กฎหมายสารบัญญัติ อันเป็นกฎหมายที่กำหนดสิทธิและหน้าที่ของบุคคล กฎหมายวิธีสบัญญัติ อันเป็นกฎหมายที่กำหนดวิธีการเยียวยาเมื่อเกิดการละเมิดสิทธิและหน้าที่ของบุคคล แต่กำหนดเป็นกรณีที่นำเอานิติสัมพันธ์ของกฎหมายมาเป็นเกณฑ์ในการแบ่งแยก การแบ่งแยกตามเนื้อหา

17 ประวัติและวิวัฒนาการของกฎหมายปกครอง
กฎหมายเอกชน (private law) อันเป็นกฎหมายที่กำหนดถึงความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนต่อเอกชน กฎหมายมหาชน (public law) อันเป็นกฎหมายที่กำหนดถึงความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรของรัฐ เจ้าหน้าที่ของรัฐ และเอกชน การแบ่งแยกตามนิติสัมพันธ์

18 กฎหมายมหาชน 1. กฎหมายมหาชนเป็นกฎหมายที่กำหนดความสัมพันธ์ระหว่าง รัฐหรือหน่วยงานของรัฐ กับ ราษฎร 2. กำหนดสถานะที่เป็นฝ่ายปกครองมีฐานะเหนือกว่าราษฎร ความหมาย

19 ประวัติและวิวัฒนาการของกฎหมายปกครอง
คำถาม กฎหมายแรงงาน... เป็น กฎหมายเอกชน หรือ กฎหมายมหาชน

20 สาขาย่อยในกฎหมายมหาชน
1.กฎหมายรัฐธรรมนูญ 2.กฎหมายปกครอง 3. กฎหมายอาญา 4. กฎหมายว่าด้วยธรรมนูญศาลยุติธรรม 5. กฎหมายว่าด้วยวิธีพิจารณาความอาญา 6. กฎหมายว่าด้วยวิธีพิจารณาความแพ่ง

21 หลักการที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายปกครอง
ภาค 1 หลักการที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายปกครอง

22 แสดงถึง“สถานะทางกฎหมายของรัฐ”
หลักนิติรัฐ หลักนิติรัฐ “รัฐตามกฎหมาย” แสดงถึง“สถานะทางกฎหมายของรัฐ”

23 การเมืองการปกครองของไทย
หลักนิติรัฐ กฎหมาย หลักประกัน สิทธิ เสรีภาพ คุ้มครอง รัฐ

24 การเมืองการปกครองของไทย
หลักนิติรัฐ การเมืองการปกครองของไทย กฎหมาย รัฐธรรมนูญ แบ่งแยกอำนาจ นิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ องค์กรรัฐผู้ใช้อำนาจ องค์กรรัฐผู้ใช้อำนาจ องค์กรรัฐผู้ใช้อำนาจ หน้าที่ในทางรัฐบาล หน้าที่ในทางปกครอง

25 การเมืองการปกครองของไทย
หลักนิติรัฐ ในรัฐนั้นกฎหมายจะต้องอยู่เหนือสิ่งใดทั้งหมด ขอบเขตแห่งอำนาจหน้าที่ของรัฐที่กำหนดไว้ตามกฎหมายจะต้องกำหนดไว้แน่นอน การควบคุมมิให้การกระทำขององค์กรของรัฐขัดต่อกฎหมาย สาระสำคัญของนิติรัฐ

26 พัฒนาการของกฎหมายปกครองในประเทศไทย

27 พัฒนาการของกฎหมายปกครองในประเทศไทย
กำเนิดแนวความคิดกฎหมายปกครองในประเทศไทย - สมัยกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี (พ.ศ ) - “พ่อขุน” พ่อขุนทำหน้าที่ปกครองประเทศ โดยใช้หลักบิดากับบุตร ประชาชนในฐานะบุตรมีหน้าที่เชื่อฟังพ่อขุน ช่วยเหลือกิจการบ้านเมืองตามที่พ่อขุนวางได้วางแนวทางเอาไว้

28 พัฒนาการของกฎหมายปกครองในประเทศไทย
หลักกฎหมายที่สำคัญ คัมภีร์พระธรรมศาสตร์ (แนวทางเนื้อหา) พระราชศาสตร์ (แนวทางพิจารณาคดี)

29 พัฒนาการของกฎหมายปกครองในประเทศไทย
กฎหมายปกครองในสมัยกรุงสุโขทัยนี้ค้นพบจากหลักศิลาจารึก กฎหมายเกี่ยวกับภาษี กฎหมายเกี่ยวกับการจับจองทรัพย์สิน กฎหมายเกี่ยวกับมรดก กฎหมายเรื่องการพิจารณาคดี กฎหมายลักษณะลักพา

30 พัฒนาการของกฎหมายปกครองในประเทศไทย
สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น (พ.ศ ) - พระมหากษัตริย์ทรงปกครองด้วยพระองค์เองและใช้การปกครองแบบจตุสดมภ์ คือ ก.ขุนเวียง ข.ขุนวัง ค.ขุนคลัง ง.ขุนนา

31 พัฒนาการของกฎหมายปกครองในประเทศไทย
ในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย (พ.ศ ) สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงแบ่งเขตการปกครองของราชการส่วนภูมิภาคเสียใหม่โดยแบ่งเป็น ก.เมืองในวงราชธานี ข.เมืองพระยามหานคร ค.เมืองประเทศราช

32 พัฒนาการของกฎหมายปกครองในประเทศไทย
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ในปี พ.ศ. 2348 กฎหมายตราสามดวง” ตราสามดวงนี้ หมายถึง ตราพระราชสีห์อันเป็นตราประจำตำแหน่ง สมุหนายก ตราคชสีห์อันเป็นตราประจำตำแหน่ง สมุหกลาโหม ตราบัวแก้ว อันเป็นตราประจำตำแหน่งโกษาธิบดี

33 พัฒนาการของกฎหมายปกครองในประเทศไทย
การเปลี่ยนแปลงในสมัย ร.5

34 พัฒนาการของกฎหมายปกครองในประเทศไทย
การเปลี่ยนแปลงในสมัย ร.5 สาหตุ 1. ระบบกฎหมายเดิมมีความล้าหลัง 2. สูญเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขต (ทางศาล) 3. ป้องกันภัยจากลัทธิจักรวรรดินิยม

35 พัฒนาการของกฎหมายปกครองในประเทศไทย

36 พัฒนาการของกฎหมายปกครองในประเทศไทย

37 พัฒนาการของกฎหมายปกครองในประเทศไทย

38 พัฒนาการของกฎหมายปกครองในประเทศไทย

39 พัฒนาการของกฎหมายปกครองในประเทศไทย

40 พัฒนาการของกฎหมายปกครองในประเทศไทย

41 พัฒนาการของกฎหมายปกครองในประเทศไทย

42 พัฒนาการของกฎหมายปกครองในประเทศไทย
การเปลี่ยนแปลงในสมัย ร.5 - พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นครองราชย์ในปี พ.ศ.2411 นั้น พระองค์ทรงใช้เวลา 6-7 ปี เพื่อศึกษาและวางแผนการปฏิรูปการปกครองครั้งสำคัญ จุดมุ่งหมายในการปฏิรูปการปกครองก็เพื่อสร้างประเทศให้เป็นปึกแผ่น

43 พัฒนาการของกฎหมายปกครองในประเทศไทย
ด้านการปกครองประเทศ - จัดตั้งหอรัษฎากรพิพัฒน์ - มีการตราพระราชบัญญัติปกครองท้องที่ ร.ศ. 116 และข้อบังคับปกครองหัวเมือง ร.ศ. 117 จัดรูปการปกครองส่วนภูมิภาคเป็นระบบเดียวกันทั้งหมดทั่วประเทศ จัดตั้งสุขาภิบาลขึ้นเป็นครั้งแรกที่ตำบลท่าฉลอม อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ ยกเลิก “ระบบกินเมือง” เปลี่ยนสถานะเป็นข้าราชการพลเรือน - จ่ายเงินเดือนแทนการจ่ายเบี้ยหวัด

44 พัฒนาการของกฎหมายปกครองในประเทศไทย
ด้านกฎหมายและการศาล - ในปี พ.ศ พระองค์จึงทรงจัดตั้งกระทรวงยุติธรรมขึ้น - ทรงตัดสินพระทัยเลือกเอาระบบซีวิลลอว์เป็นแบบอย่างในการปฏิรูประบบกฎหมายไทย - พระองค์ทรงแต่งตั้งคณะกรรมการขึ้นคณะหนึ่งเมื่อปีพ.ศ โดยมีกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์เป็นประธาน คณะกรรมการชุดนี้ทำหน้าที่ตรวจชำระและร่างประมวลกฎหมายอาญา

45 คำถาม 1. กฎหมายสารบัญญัติ มีลักษณะอย่างไร และได้แก่ กฎหมายใด จงยกตัวอย่าง 2. กฎหมายวิธีสบัญญัติ (procedural law) มีลักษณะอย่างไร 3. กฎหมายมหาชน หมายถึง 4. กฎหมายเอกชน หมายถึง 5. จงยกตัวอย่างกฎหมายเอกชนมา 1 ฉบับ

46 คำถาม 6. กฎหมายปกครองเป็นสาขาหนึ่งของกฎหมายประเภทใด เพราะอะไร
7. นิติรัฐ หมายถึง อะไรเป็นสิ่งที่บ่งบอกความเป็นนิติรัฐของประเทศไทย 8. หน้าที่ที่สำคัญของระบบนิติรัฐคือ 9. สาระสำคัญของนิติรัฐมีอะไรบ้าง 10. ในรัชสมัย ร๕. มีการเปลี่ยนแปลงในด้านใดบ้าง

47 หลักการพื้นฐานของกฎหมายปกครอง

48 สาระสำคัญของกฎหมายปกครองแบ่งออกเป็น
3 ส่วนคือ 1. การจัดโครงสร้างของฝ่ายปกครอง 2. การดำเนินกิจกรรมของฝ่ายปกครอง 3. การตรวจสอบการใช้อำนาจของฝ่ายปกครอง


ดาวน์โหลด ppt วิชากฎหมายปกครอง บรรยายโดย ดร.ภัทรวิทย์ อยู่วัฒนะ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google