โดย นายนพดล ผู้มีจรรยา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
นำเสนอวิธีปฏิบัติที่ดี ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
“คลายทุกข์ สุขใจ ใกล้ประชาชน”
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
(ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ –2579)
การบริหารจัดการเว็บไซต์หน่วยงานในสังกัดกรมปศุสัตว์
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
กลุ่มเกษตรกร.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
คณะทำงานขับเคลื่อนงานโภชนาการ (สูงดีสมส่วน)
SMS News Distribute Service
รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
อ. ดร. ณฐิตากานต์ ปินทุกาศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย นายนพดล ผู้มีจรรยา ICT for Development ICT Diffusion, Transfer and Adoption ICT Policy ICT and Economic โดย นายนพดล ผู้มีจรรยา

ICT for Development ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีในปัจจุบันเป็นไปอย่างรวดเร็ว คอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีบทบาทในการประมวลผลข้อมูล การบริหารจัดการสารสนเทศเป็นสิ่งจำเป็นในปัจจุบัน คำว่า “เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology:IT)” จึงได้กำเนิดขึ้นมาเพื่อเป็นการจัดการสารสนเทศต่าง ๆ

Information Technology:IT

จาก IT สู่ ICT การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้ถูกประยุกต์ใช้เข้ากับเทคโนโลยีการสื่อสาร เพื่อใช้สำหรับในการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ และสื่อสารข้อมูลในระยะไกล ทำให้เกิดคำศัพท์ใหม่ คือ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (information and communication technology:ICT)

Information and Communication technology:ICT

ICT4D ICT4D: Information and Communication Technologies for Development การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

ความสำคัญของ ICT4D เศรษฐกิจ สังคม การศึกษา สุขภาพ ความปลอดภัย สิทธิมนุษยชน

ความสำคัญของ Internet กับ ICT4D อัตราการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตนี้มีความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศเป็นอย่างยิ่ง ทั้งในด้านเศรษฐกิจและสังคม ประเทศที่กำลังพัฒนามีความล้าหลังในด้านการเข้าถึงอินเตอร์เน็ต

การเข้าถึงอินเทอร์เน็ต อเมริกาเหนือและยุโรป 1 ต่อ 2 คน แอฟริกา 1 ต่อ 130 คน ที่มา : ITU

ความเป็นมาของ ICT4D ICT4D 0.0 กลางปี ค.ศ. 1950 – ปลายปี ค.ศ. 1990

ICT4D 0.0 กลางปี ค.ศ. 1950 – ปลายปี ค.ศ. 1990 เริ่มต้นการใช้คอมพิวเตอร์สำหรับการประมวลผลในประเทศกำลังพัฒนา เน้นไปที่การคำนวณและการประมวลผลของคอมพิวเตอร์

ICT4D 1.0 ปลายปี ค.ศ. 1990 – ปลายปี ค.ศ. 2000 ความร่วมมือ Millennium Development Goals (MDGs) ยุคเริ่มต้นใช้งานอินเทอร์เน็ต ใช้งานอินเทอร์เน็ตในประเทศอุตสาหกรรมและนำไปสู่การลงทุนโครงสร้างพื้นฐานของ ICT มีการร่วมมือกันในการพัฒนา ICT ของประเทศ G8 พัฒนา ICT จากฐานพีระมิดที่เรียกว่า “bottom of the pyramid”

ICT4D 1.0 จัดตั้ง Telecentre เพื่อบริการ ICT แก่ประชาชน ให้บริการอินเทอร์เน็ต แฟกซ์ โทรศัพท์ Telecentre ในประเทศเซเนกัล

ICT4D 2.0 ปลายปี ค.ศ. 2000 เป็นต้นไป จาก telecentre สู่โทรศัพท์เคลื่อนที่ Wi-Fi WiMax โทรศัพท์เคลื่อนที่มีความสามารถใกล้เคียงกับคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์มีราคาถูกลง ประชากรสามารถเข้าถึงการสื่อสารในรูปแบบไร้สายได้มากขึ้น

การสนับสนุนให้เกิดการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต เครื่องเทอร์มินัล (terminal) การสื่อการโทรคมนาคม (telecommunications) แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (power)

เครื่องเทอร์มินัล (terminal) คุณสมบัติของเครื่องไม่สูง ราคาถูก และมีความคงทน เหมาะสมกับคนในชุมชนยากไร้ One Laptop per Child (OLPC) ที่มา : Kozuch (2008) ที่มา : Kozuch (2008)

การสื่อการโทรคมนาคม (telecommunications) การสื่อสารไร้สาย Wi-Fi WiMax 3G

แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (power) หมู่บ้านในชนบทของแอฟริกาเข้าถึงไฟฟ้าได้เพียง 15 % พัฒนาเครื่องกำเนิดไฟฟ้าราคาถูก ปรับปรุงอุปกรณ์ ICT ให้ใช้พลังงานน้อยลง ที่มา : kiwanja (2007)

การประยุกต์ใช้ ICT ด้านเนื้อหา (content) สร้างสรรค์เนื้อหาในรูปแบบดิจิทัล ด้านการมีปฏิสัมพันธ์ (Interaction) ผ่านทางสื่อดิจิทัลต่าง ๆ ในรูปแบบของอุปกรณ์เคลื่อนที่แบบพกพา เช่น โทรศัพท์มือถือ ด้านการให้บริการ (services) ให้บริการบนพื้นฐานของการสื่อสารแบบไร้สาย ด้านผลิตภัณฑ์ (production) เว็บ 2.0 เช่นการใช้งาน blog และ wiki เป็นต้น

ICT4D ของประเทศไทย ประเทศไทยในปัจจุบันได้มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม โดยมีกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นผู้กำหนดนโยบาย

การมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2553 สำนักงานสถิติแห่งชาติ ได้มีการสำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2553 เพื่อให้ทราบจำนวนประชากรที่ใช้คอมพิวเตอร์ ใช้อินเทอร์เน็ตและใช้โทรศัพท์มือถือ สำรวจใช้วิธีสัมภาษณ์หัวหน้าครัวเรือน และสมาชิกในครัวเรือนที่มีอายุ 6 ปีขึ้นไป จำนวน 79,560 ครัวเรือน

การใช้คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต และโทรศัพท์มือถือ ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ (2554)

ความแตกต่างในการใช้ระหว่าง ผู้ที่อยู่ในเขตเทศบาล และนอกเขตเทศบาล ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ (2554)

การใช้โทรศัพท์มือถือ จำแนกตามเขตการปกครอง ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ (2554)

การใช้คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต และ โทรศัพท์มือถือ จำแนกตามภาค ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ (2554)

การใช้อินเทอร์เน็ตแยกตามเพศ ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ (2554)

การใช้อินเทอร์เน็ต จำแนกตามกลุ่มอายุ ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ (2554)

การมีอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ (2554)

ร้อยละของครัวเรือนที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต จำแนกตามประเภทของอินเทอร์เน็ต และภาค ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ (2554)

สรุปประเด็นสำคัญที่ได้จากผลการสำรวจ ประชากรในกรุงเทพฯใช้คอมพิวเตอร์ มากกว่าภาคอื่น ประชากรกลุ่มอายุ 6-14 ปี ใช้คอมพิวเตอร์มากกว่ากลุ่มอายุอื่น สถานที่ที่ประชากรส่วนใหญ่ใช้อินเทอร์เน็ต คือ สถานศึกษา กิจกรรมส่วนใหญ่ที่ประชากรใช้อินเทอร์เน็ต คือ ค้นหาข้อมูลทั่วไป กิจกรรมส่วนใหญ่ที่ประชากรใช้โทรศัพท์มือถือ คือ ใช้เพื่อรับ-ส่งข้อมูลข่าวสาร ประชากรส่วนใหญ่ไม่เคยจองหรือซื้อสินค้าและบริการทางอินเทอร์เน็ต ประชากรที่เคยจองสินค้าและบริการทางอินเทอร์เน็ต โดยส่วนใหญ่ซื้อเครื่องแต่งกายและเครื่องประดับ

ICT Diffusion, Transfer and Adoption เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นเทคโนโลยีที่มีวิธีการแพร่กระจายในรูปแบบที่คล้ายกับนวัตกรรมที่สร้างขึ้นมาใหม่ ซึ่งจำเป็นต้องมีการเผยแพร่และได้รับการยอมรับจากบุคคลทั่วไป ทฤษฎีการแพร่กระจายทางเทคโนโลยีที่ได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลาย ได้แก่ ทฤษฎีการแพร่กระจายนวัตกรรม (The Diffusion of Innovation) ของ Everett Rogers (Rogers, 1962)

The Diffusion of Innovation การแพร่กระจาย คือ กระบวนการซึ่งนวัตกรรมถูกสื่อสารผ่านช่องทางในช่วงเวลาหนึ่งระหว่างสมาชิกต่าง ๆ ที่อยู่ในระบบสังคม (Rogers, 1962)

ส่วนประกอบของการแพร่กระจายนวัตกรรม นวัตกรรม (innovation) สิ่งที่สร้างขึ้นมาใหม่และจะเกิดการแพร่กระจาย ช่องทางการสื่อสาร (communication channels) ส่งข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับนวัตกรรมให้ผู้ใช้ได้รับรู้รับทราบ ช่วงระยะเวลาหนึ่ง (time) ช่วงเวลาที่กระบวนการแพร่กระจายนวัตกรรมได้เกิดขึ้น ระบบสังคม (social system) สังคมสมัยใหม่จะเอื้อต่อการยอมรับนวัตกรรม

ขั้นตอนการยอมรับนวัตกรรม ขั้นรับรู้หรือตื่นตัว (awareness) รับรู้โดยบังเอิญและจะทำให้เกิดความอยากรู้ต่อไป ขั้นสนใจ (interest) มีความตั้งใจที่จะรับรู้ และใช้กระบวนการคิดมากกว่าขั้นแรก ขั้นประเมินผล (evaluation) เมื่อนำมาใช้แล้วจะเป็นประโยชน์ต่อกิจกรรมของตนหรือไม่ ขั้นทดลอง (trial) ทดลองใช้นวัตกรรมใหม่กับสถานการณ์ของตน ขั้นยอมรับปฏิบัติ (adoption) ยอมรับนวัตกรรมใหม่ไปใช้ในการปฏิบัติ

กลุ่มคนในสังคมที่ยอมรับการแพร่กระจายของเทคโนโลยี Innovators กลุ่มแรกที่ได้รับนวัตกรรม นักวิชาการ นักวิจัย วิศวกรทางด้านคอมพิวเตอร์ Early Adopters เป็นผู้นำในการยอมรับเทคโนโลยีสูง นิสิต นักศึกษา Early Majority การตัดสินใจยอมรับจะขึ้นอยู่กับการยอมรับของบุคคลในสองกลุ่มแรก เด็กและวัยรุ่น Late Majority กลุ่มบุคคลที่ยอมรับเทคโนโลยีได้ช้า บุคคลที่มีรายได้น้อย Laggards กลุ่มสุดท้ายในสังคมที่รับนวัตกรรม มักเป็นผู้สูงอายุ มีแนวคิดล้าสมัย

กราฟแสดงการยอมรับนวัตกรรม และความสัมพันธ์กับจำนวนประชากร ที่มา :  Rogers, E. (1962) 

ทฤษฎี The Chasm  พัฒนาต่อยอดจาก The Diffusion of Innovation โดย Moore  เรียกทฤษฎีนี้ว่า The Chasm หรือ หุบเหวแห่งการดับของนวัตกรรม ที่มา : http://edtechfrontier.com/tag/funding-models/

แบบจำลองการยอมรับเทคโนโลยี Technology Acceptance Model (TAM) แบบจำลองการยอมรับเทคโนโลยี Technology Acceptance Model (TAM) พัฒนาโดย Davis (1989) สำหรับการทำนายหรืออธิบายพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยี แบบจำลองนี้ ได้แบ่ง ปัจจัยที่ผลต่อการยอมรับการใช้เทคโนโลยีออกเป็นสองส่วนคือ การรับรู้ถึงประโยชน์ที่ได้รับ (Perceived Userfulenss:PU) การรับรู้ถึงความง่ายในการใช้งาน (Perceived Ease of User:PEOU)

Technology Acceptance Model (TAM) ที่มา : Davis (1989) การรับรู้ถึงประโยชน์ที่ได้รับ (Perceived Userfulenss:PU) หมายถึง ระดับความเชื่อว่าเทคโนโลยีจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของตน การรับรู้ถึงความง่ายในการใช้งาน (Perceived Ease of User:PEOU) หมายถึง ระดับความเชื่อว่าการใช้งานเทคโนโลยีนั้นเป็นสิ่งที่ง่ายต่อการใช้งาน

Technology Acceptance Model (TAM) การรับรู้ถึงประโยชน์ที่ได้รับ (PU) และการรับรู้ถึงความง่ายในการใช้งาน (PEOU) เป็นตัวทำนายเจตคติที่มีต่อการยอมรับการใช้งานเทคโนโลยี (A) ซึ่งหมายถึงสามาถทำนายความต้องการของผู้ใช้ระบบ PU ยังเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจกระทำพฤติกรรม (BI) และ ความตั้งใจกระทำพฤติกรรมเป็นตัวทำนายการใช้ระบบจริง

นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT Policy) ในประเทศไทยกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบนโยบายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในประเทศไทย โดยได้จัดทำกรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินงานเพื่อพัฒนาประเทศไปสู่ความเจริญ โดยในปัจจุบันได้ใช้กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารระยะ พ.ศ. 2554-2563 (ICT 2020)

กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ. ศ กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย ที่มา : กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (2554)

ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรม ICT กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ICT ที่เป็นอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาทุนมนุษย์ที่มีความสามารถในการสร้างสรรค์และใช้สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรม ICT ยุทธศาสตร์ที่ 4 ใช้ ICT เพื่อสร้างนวัตกรรมการบริการของภาครัฐที่สามารถให้บริการประชาชนและธุรกิจทุกภาคส่วนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ. ศ กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาและประยุกต์ ICT เพื่อสร้างความเข้มแข็งของภาคการผลิต ให้สามารถพึ่งตนเองและแข่งขันได้ในระดับโลก โดยเฉพาะภาคการเกษตร ภาคบริการ ยุทธศาสตร์ที่ 6 พัฒนาและประยุกต์ ICT เพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจและสังคมโดยสร้างความเสมอภาคของโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากรและบริการสาธารณะ ยุทธศาสตร์ที่ 7 พัฒนาและประยุกต์ ICT เพื่อสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

ผลักดันให้เกิดการลงทุนในโครงข่ายใช้สายและไร้สายความเร็วสูง ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ICT ที่เป็นอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ผลักดันให้เกิดการลงทุนในโครงข่ายใช้สายและไร้สายความเร็วสูง กระตุ้นการมีการใช้และการบริโภค ICT อย่างครบวงจร สนับสนุนการเข้าถึงบรอดแบนด์ในกลุ่มผู้ด้อยโอกาส ปรับปรุงคุณภาพของโครงข่าย ประกันความมั่นคงปลอดภัยของโครงข่าย ประกันความมั่นคงปลอดภัยของสาธารณะ เพิ่มทางเลือกในการรับส่งข้อมูลข่าวสาร จัดให้มีโครงสร้างพื้นฐานด้านกฎหมายที่เหมาะสม ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยพัฒนา

จัดทำแนวทางการพัฒนาบุคลากร ICT ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาทุนมนุษย์ที่มีความสามารถในการสร้างสรรค์ และใช้สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ จัดทำแนวทางการพัฒนาบุคลากร ICT ส่งเสริมการพัฒนาความรู้และทักษะใหม่ ๆ ด้าน ICT ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากร ICT ที่ปฏิบัติงานในภาคอุตสาหกรรม เตรียมความพร้อมของประเทศเพื่อใช้ประโยชน์จากการเคลื่อนย้ายบุคลากรด้าน ICT สร้างโอกาสในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จาก ICT เพื่อการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน รณรงค์ให้ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ ICT สร้างโอกาสในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จาก ICT

ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขัน ของอุตสาหกรรม ICT ส่งเสริมการสร้างตราสัญลักษณ์ (Brand) ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือกันในระดับภูมิภาคเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรม ICT ส่งเสริมและสนับสนุนบริษัทขนาดกลางและขนาดย่อม พัฒนาระบบหรือกลไกลสนับสนุนผู้ประกอบการ

ให้มีหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์ที่ 4 ใช้ ICT เพื่อสร้างนวัตกรรมการบริการของภาครัฐที่สามารถให้บริการประชาชนและธุรกิจทุกภาคส่วนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ให้มีหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการขับเคลื่อน จัดตั้งและพัฒนาความเข้มแข็งของสภา CIO ภาครัฐ ส่งเสริมให้หน่วยงานของรัฐพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกส์ตามแนวทาง “รัฐบาลเปิด” ที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความโปร่งใส ตรวจสอบได้ ส่งเสริมการออกแบบระบบที่เน้นผลลัพธ์ในเชิงบริหาร พัฒนาบุคลากรของภาครัฐในแนวทางที่สอดคล้องกับวิวัฒนาการด้านนวัตกรรมบริการสำหรับบุคลากร ICT

พัฒนาหรือต่อยอดโครงสร้างพื้นฐานข้อมูลภูมิสารสนเทศแห่งชาติของประเทศไทย ยุทธศาสตร์ที่ 4 ใช้ ICT เพื่อสร้างนวัตกรรมการบริการของภาครัฐที่สามารถให้บริการประชาชนและธุรกิจทุกภาคส่วนได้อย่างมีประสิทธิภาพ (ต่อ) พัฒนาศักยภาพและส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาในด้านที่เกี่ยวกับวิทยาการบริการ เสริมศักยภาพของหน่วยงานระดับภูมิภาคและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อให้สามารถจัดบริการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ในระดับท้องถิ่นแก่ประชาชน พัฒนาหรือต่อยอดโครงสร้างพื้นฐานข้อมูลภูมิสารสนเทศแห่งชาติของประเทศไทย ส่งเสริมการใช้ ICT เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับระบบความมั่นคงของชาติ (National security)

เพิ่มความเข้มแข็งให้กับฐานการผลิตของประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาและประยุกต์ ICT เพื่อสร้างความเข้มแข็งของภาคการผลิต ให้สามารถพึ่งตนเองและแข่งขันได้ในระดับโลก โดยเฉพาะภาคการเกษตร ภาคบริการ เพิ่มความเข้มแข็งให้กับฐานการผลิตของประเทศ พัฒนาคุณค่าให้กับสินค้าและบริการ ขยายตลาดและสร้างโอกาสทางธุรกิจให้แก่ผู้ประกอบการ

จัดให้มีโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศที่กระจายอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม ยุทธศาสตร์ที่ 6 พัฒนาและประยุกต์ ICT เพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจและสังคมโดยสร้างความเสมอภาคของโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากรและบริการสาธารณะ จัดให้มีโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศที่กระจายอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ และทักษะการใช้ ICT ให้แก่ประชาชนทั่วไป ส่งเสริมให้มีสื่อดิจิทัลที่สามารถใช้ประโยชน์ในการดำรงชีวิต จัดให้มีบริการอิเล็กทรอนิกส์ของรัฐผ่านช่องทางในการเข้าถึงอย่างหลากหลาย ส่งเสริมให้เกิดชุมชนหรือสังคมเรียนรู้ออนไลน์ที่สร้างสรรค์ เสริมสร้างความเชื่อมั่นและความมั่นคงปลอดภัยในการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์

ยุทธศาสตร์ที่ 7 พัฒนาและประยุกต์ ICT เพื่อสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จัดทำระบบสารสนเทศด้านพลังงาน สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติ

ICT and Economic Growth การนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ในการพัฒนาประเทศช่วยเพิ่มการขยายตัวทางเศรษฐกิจ เนื่องจากเป็นตัวขับเคลื่อนหลักที่จะเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และความสามารถในการแข่งขัน Oxford Economics ได้รายงานเผยแพร่รายงาน “Capturing the ICT Dividend: Using technology to drive productivity and growth in the EU”

ลงทุนด้าน ICT จะสามารถสร้างการเติบโตของผลผลิต (productivity growth) Capturing the ICT Dividend: Using technology to drive productivity and growth in the EU ลงทุนด้าน ICT จะสามารถสร้างการเติบโตของผลผลิต (productivity growth) ยกระดับผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) การลงทุนด้าน ICT สามารถให้ผลตอบแทนทั้งหมดเฉลี่ยแล้วสูงกว่าการลงทุนด้วยวิธีอื่น ๆ หากประเทศในกลุ่มยุโรปสามารถเพิ่มมูลค่าเครื่องมือ ICT ที่มีอยู่ในเวลานั้น (ICT capital stock) ให้ขึ้นมาอยู่ในระดับเดียวกับสหรัฐ ภายในปี 2020 จะทำให้ประเทศในกลุ่มยุโรปมีผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) สูงขึ้น 5%

ที่มา: Oxford Economics (2011) อัตราการเติบโตต่อปีของความสามารถของแรงงานในการผลิต สำหรับประเทศในยุโรปกับสหรัฐและญี่ปุ่น 1.Total Factor Productivity (TFP) ในอุตสาหกรรมที่ลงทุนด้าน ICT อย่างสูง 2. การลงทุนในด้าน ICT และ 3.ปัจจัยอื่นนอกเหนือจาก ICT ที่มา: Oxford Economics (2011)

ประเทศที่มีนโยบายรัฐด้าน ICT มีประสิทธิภาพสูงสุด 10 อันดับแรก ที่มา: Oxford Economics (2011)

Case Study of ICT4D e-Government ในประเทศไทย โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย (TCU) ระบบรายงานสภาจราจร  Trafffy

e-Government ในประเทศไทย e-Government หมายถึง วิธีการบริหารจัดการภาครัฐสมัยใหม่ โดยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) การพัฒนา e-Government อยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีการจัดตั้ง  “สำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์” เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2554

สำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ เป็นองค์การมหาชนในกำกับของกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อให้มีระบบการบริหารงานที่เป็นอิสระจากระบบราชการมีการบริหารจัดการองค์กรที่มีความเป็นอิสระ คล่องตัว และมีประสิทธิภาพ ที่มา : สำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (2554)

การให้บริการของรัฐผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Services) จะมุ่งสู่การพัฒนา http://www.egov.go.thและ http://www.egovernment.go.th ให้เป็น First Stop Service Web Portal ของ G2C, G2B, G2G และ G2E และส่งเสริมแต่ละกรม ให้มีระบบบริการภาครัฐผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Services)

ตัวอย่างระบบบริการภาครัฐผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์(e-Services) บริการรับแจ้งและให้ความรู้กับประชาชนเรื่องโรคระบาดสัตว์ (http://adreport.dld.go.th) ระบบรายงานสภาพจราจรและรับแจ้งอุบัติเหตุจราจร (http://www.wb.sci.ku.ac.th/HighWaymap/) ระบบการจดทะเบียนพาณิชย์ผ่านอินเทอร์เน็ต (http://commerce.dbd.go.th/dbdcommerce)

e-service ของกรมสรรพากร บริการ ยื่นแบบภาษี บริการขอมีเลขประจำตัวผู้เสียภาษี บริการคืนภาษีมูลค่าเพิ่มให้นักท่องเที่ยว ที่มา : กรรมสรรพากร (2554)

โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย (TCU) โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย เป็นโครงการที่อยู่ในความรับผิดชอบของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ซึ่งมีหน้าที่ดูแลสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ และมีนโยบายจะส่งเสริม การอุดมศึกษาผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เพื่อให้บริการ การเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (e–Learning) แก่ประชาชน ทุกระดับ ทุกอาชีพ

โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย (TCU) ส่งเสริมให้สถาบันการศึกษา องค์กรต่างๆ จัดทำและสนับสนุนให้มีการทำสื่อการเรียนรู้ e-Learning ส่งเสริมและสนับสนุนให้ครู อาจารย์ นักวิชาการ ปราชญ์ชาวบ้าน และผู้ทรงคุณวุฒิ ในแขนงต่างๆ จัดทำ Learning Object และให้มีการแบ่งปันการใช้งานร่วมกันเป็น Share Learning Resource ส่งเสริมและสนับสนุนให้ครู อาจารย์ นักวิชาการ ปราชญ์ชาวบ้าน และผู้ทรงคุณวุฒิในแขนงต่างๆ จัดทำบทเรียน e-Courseware ที่มา : โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย (2554)

ตัวอย่างบทเรียนรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศใน TCU ที่มา : โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย (2554)

ระบบรายงานสภาจราจร Trafffy Traffy คือระบบประเมินและรายงานสภาพจราจรแบบ Real Time พัฒนาขึ้นโดยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ เพื่อให้ผู้เดินทางโดยถนนสามารถตรวจสอบสภาพจราจรได้ทั้งบนคอมพิวเตอร์และโทรศัพท์เคลื่อนที่ ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (2554)

รูปแบบการให้บริการต่าง ๆ ของ Traffy ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (2554)

Research in ICT4D Factors Influencing the Adoption of Mobile Learning Ubiquitous learning environment: An adaptive teaching system using ubiquitous technology

Factors Influencing the Adoption of Mobile Learning งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะค้นหาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับการใช้งาน mobile learing โดยใช้แบบจำลองการยอมรับเทคโนโลยี(Technology Acceptance Model: TAM) รวบรวมข้อมูลจากนักศึกษามหาวิทยาลัยในประเทศนิวซีแลนด์ซึ่งเป็นผู้ที่มีโทรศัพท์มือถือ หรือ PDA เป็นการสำรวจมุมมองของมนุษย์ในการยอมรับการใช้งาน m-learning การศึกษาสองวัตถุประสงค์คือ 1)เป็นการศึกษาพฤติกรรมการยอมรับ m-learning 2)เป็นการศึกษามุมมองของผู้ใช้ที่มีต่อ m-learning

Mobile Learning Adoption Model ได้นำแบบจำลองการยอมรับเทคโนโลยี Technology Acceptance Model (TAM) มาประยุกต์ใช้

Mobile Learning Adoption Model ปัจจัยที่จะส่งผลให้เกิด การยอมรับการใช้งาน m-learning อย่างแท้จริง 1)Perceived usefulness of mobile learning : คือการรับรู้ว่ามีประโยชน์ 2)Perceived ease of use of the mobile learning : การรับรู้ว่าง่ายต่อการใช้งาน 3)Attitude toward using mobile learning : เจตคติของผู้ใช้ 4)Subjective norm : การคล้อยตามคนรอบข้างหรือกลุ่มอ้างอิง 5)Self-efficacy : การรับรู้ความสามารถของตนเอง 6)Perceived financial resources: สถานภาพทางการเงิน 7)Prior use of electronic learning : ความคุ้นเคยกับเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการเรียนรู้

เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยนี้คือแบบสอบถามจำนวน 26 ข้อ โดยใช้การสำรวจผ่านอินเทอร์เน็ตใน 6 มหาวิทยาลัย โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 180 คน

ผลการศึกษา การวิจัยในครั้งนี้ทำให้ทราบว่าปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อพฤติกรรมการยอมรับ mobile learning มี 6 ปัจจัยคือ 1)การรับรู้ว่ามีประโยชน์ 2)การรับรู้ว่าง่ายต่อการใช้งาน 3)เจตคติของผู้ใช้ 4)การคล้อยตามคนรอบข้างหรือกลุ่มอ้างอิง 5)การรับรู้ความสามารถของตนเอง 6)สถานภาพทางการเงิน ตัวแปรที่ ไม่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการยอมรับ mobile learning คือ 7)ความคุ้นเคยกับเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการเรียนรู้

Ubiquitous learning environment: An adaptive teaching system using ubiquitous technology Ubiquitous computing “Ubiquitous Computing” โดยหมายถึงการบูรณาการใช้คอมพิวเตอร์เข้ากับโลกความเป็นจริงได้อย่างราบรื่น ในอนาคตสภาพแวดล้อมแบบ ubiquitous computing จะถูกรวมเข้ากับชีวิตประจำวัน การใช้งานคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลจะลดน้อยลงเนื่องจากจะพัฒนาไปสู่การประมวลผลแบบฝังตัว

Adaptive learning Adaptive learning เป็นรูปแบบการเรียนการสอนที่สามารถปรับเปลี่ยนให้ตรงกับความต้องการของผู้เรียนมากที่สุด การพัฒนาสภาพการเรียนรู้แบบ ubiquitous เป็นการนำประโยชน์ของการเรียนการสอนแบบ Adaptive learning มาใช้งานร่วมกับอุปกรณ์เคลื่อนที่ ทำให้นักเรียนมีอิสระในการเรียนในสภาพแวดล้อมที่สามารถปรับเปลี่ยนให้เข้ากับความต้องการของแต่ละบุคคลได้

CBE, e-Learning and m-Learning การเรียนการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นฐาน (Computer Based Education (CBE)) ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย ต่อมาการเรียนการสอนผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ หรือ m-Learning ได้รับการพัฒนาเพื่อนำมาใช้ในการเรียนการสอน เป็นการเรียนการสอนที่ยืดหยุ่น ผู้เรียนสามารถเข้าถึงเนื้อหารายวิชาได้ทุกที่ทุกเวลา โดยใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ เช่น โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์พกพา และ Tablet PC

The ubiquitous learning environment

The ubiquitous learning environment ที่มา : Vicki Jones and Jun H. Jo (2004)

ULE model Microprocessors ULE Server Module Wireless technology หน่วยประมวลผล พร้อมหน่วยความจำ ที่ฝังตัวอยู่ในทุก ๆ วัตถุ และอุปกรณ์ ULE Server Module เครื่องแม่ข่ายให้บริการ , หน่วยวิเคราะห์การเรียน , ฐานข้อมูล Wireless technology Bluetooth , Wifi Sensors ตรวจจับความเคลื่อนไหว ตรวจสอบแสง และตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของความเข้มแสง

The ubiquitous learning centre ubiquitous learning centre นักเรียนแต่ละคนจะถืออุปกรณ์ไร้สาย เช่น โทรศัพท์มือถือหรือ PDA และใส่หูฟัง เครื่องแม่ข่ายจะตรวจสอบตำแหน่งของนักเรียนใน u-space ด้วยเซ็นเซอร์ เมื่อนักเรียนสนใจในวัตถุใด ๆ เซ็นเซอร์จะทำการเชื่อมต่อกับระบบอินทราเน็ตไปยังเครื่องแม่ข่าย และทำการส่งข้อมูลเกี่ยวกับวัตถุชั้นนั้น

การเชื่อมต่ออย่างราบรื่นระหว่างนักเรียนและอุปกรณ์ ที่มา : Vicki Jones and Jun H. Jo (2004)

การสื่อสารระหว่างวัตถุ/อุปกรณ์ ที่มา : Vicki Jones and Jun H. Jo (2004)

การนำไปใช้ เนื้อหาของรายวิชาที่เหมาะสมกับการเรียนการสอนใน ULE ได้แก่ วิชาประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และยังสามารถนำไปใช้ในพิพิธภัณฑ์ หรือห้องแสดงภาพ นำไปใช้กับการเรียนรู้ในรู้แบบ ภาพ เสียง และการเคลื่อนไหว นำทฤษฏีการเรียนรู้แบบ constructivist มาใช้ในการเรียนการสอนเพื่อให้นักศึกษาได้สร้างความรู้จากที่ได้เห็น ได้ยิน ได้อ่านและรับรู้